init upload
Browse filesThis view is limited to 50 files because it contains too many changes.
See raw diff
- 01/010001.csv +19 -0
- 01/010002.csv +21 -0
- 01/010003.csv +20 -0
- 01/010004.csv +21 -0
- 01/010005.csv +19 -0
- 01/010006.csv +20 -0
- 01/010007.csv +20 -0
- 01/010008.csv +21 -0
- 01/010009.csv +16 -0
- 01/010010.csv +18 -0
- 01/010011.csv +22 -0
- 01/010012.csv +22 -0
- 01/010013.csv +21 -0
- 01/010014.csv +20 -0
- 01/010015.csv +20 -0
- 01/010016.csv +21 -0
- 01/010017.csv +21 -0
- 01/010018.csv +21 -0
- 01/010019.csv +21 -0
- 01/010020.csv +20 -0
- 01/010021.csv +20 -0
- 01/010022.csv +21 -0
- 01/010023.csv +22 -0
- 01/010024.csv +21 -0
- 01/010025.csv +21 -0
- 01/010026.csv +21 -0
- 01/010027.csv +9 -0
- 01/010028.csv +20 -0
- 01/010029.csv +20 -0
- 01/010030.csv +21 -0
- 01/010031.csv +21 -0
- 01/010032.csv +23 -0
- 01/010033.csv +20 -0
- 01/010034.csv +17 -0
- 01/010035.csv +23 -0
- 01/010036.csv +20 -0
- 01/010037.csv +18 -0
- 01/010038.csv +16 -0
- 01/010039.csv +22 -0
- 01/010040.csv +19 -0
- 01/010041.csv +18 -0
- 01/010042.csv +20 -0
- 01/010043.csv +21 -0
- 01/010044.csv +19 -0
- 01/010045.csv +21 -0
- 01/010046.csv +13 -0
- 01/010047.csv +20 -0
- 01/010048.csv +16 -0
- 01/010049.csv +20 -0
- 01/010050.csv +19 -0
01/010001.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0001,001,นวโกวาท
|
3 |
+
01,0001,002,วินัยบัญญัติ
|
4 |
+
01,0001,003,อนุศาสน์ ๘ อย่าง
|
5 |
+
01,0001,004,นิสสัย ๔ อกรณียกิจ ๔
|
6 |
+
01,0001,005,ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต เรียกนิสสัย มี ๔ อย่าง คือ
|
7 |
+
01,0001,006,เที่ยวบิณฑบาต ๑ นุ่งห่มผ้าบังสุกุล ๑ อยู่โคนไม้ ๑ ฉันยาดองด้วย
|
8 |
+
01,0001,007,น้ำมูตรเน่า ๑.
|
9 |
+
01,0001,008,กิจที่ไม่ควรทำ เรียกอกรณียกิจ มี ๔ อย่าง คือ เสพเมถุน ๑
|
10 |
+
01,0001,009,ลักของเขา ๑ ฆ่าสัตว์ ๑ พูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มีในตน ๑ กิจ
|
11 |
+
01,0001,010,๔ อย่างนี้ บรรพชิตทำไม่ได้.
|
12 |
+
01,0001,011,สิกขาของภิกษุมี ๓ อย่าง
|
13 |
+
01,0001,012,คือ ศีล สมาธิ ปัญญา. ความสำรวมกายวาจาให้เรียบร้อย ชื่อว่า
|
14 |
+
01,0001,013,ศีล. ความรักษาใจมั่น ชื่อว่าสมาธิ. ความรอบรู้ในกองสังขาร
|
15 |
+
01,0001,014,ชื่อว่าปัญญา.
|
16 |
+
01,0001,015,โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม เรียกว่า
|
17 |
+
01,0001,016,อาบัติ. อาบัตินั้นว่าโดยชื่อ มี ๗ อย่าง คือ ปาราชิก ๑
|
18 |
+
01,0001,017,สังฆาทิเสส ๑ ถุลลัจจัย ๑ ปาจิตตีย์ ๑ ปาฏิเทสนียะ ๑ ทุกกฏ ๑
|
19 |
+
01,0001,018,ทุพภาสิต ๑
|
01/010002.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0002,001,ปาราชิกนั้น ภิกษุต้องเข้าแล้วขาดจากภิกษุ. สังฆาทิเสสนั้น
|
3 |
+
01,0002,002,ต้องเข้าแล้ว ต้องอยู่กรรมจึงพ้นได้. อาบัติอีก ๕ อย่างนั้น ภิกษุ
|
4 |
+
01,0002,003,ต้องเข้าแล้ว ต้องแสดงต่อหน้าสงฆ์หรือคณะหรือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งจึง
|
5 |
+
01,0002,004,พ้นได้.
|
6 |
+
01,0002,005,อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติเหล่านี้ ๖ อย่าง คือ ต้องด้วยไม่ละอาย ๑
|
7 |
+
01,0002,006,ต้องด้วยไม่รู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นอาบัติ ๑ ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทำลง ๑ ต้อง
|
8 |
+
01,0002,007,ด้วยสำคัญว่าควรในของที่ไม่ควร ๑ ต้องด้วยสำคัญว่าไม่ควรในของที่
|
9 |
+
01,0002,008,ควร ๑ ต้องด้วยลืมสติ ๑.
|
10 |
+
01,0002,009,ข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ซึ่งยกขึ้นเป็นสิกขาบท ที่มาในพระ-
|
11 |
+
01,0002,010,ปาติโมกข์ ๑ ไม่ได้มาในพระปาติโมกข์ ๑.
|
12 |
+
01,0002,011,สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์นั้น คือ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓
|
13 |
+
01,0002,012,อนิยต ๒ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔
|
14 |
+
01,0002,013,เสขิยะ ๗๕ รวมเป็น ๒๒๐ นับทั้งอธิกรณสมถะด้วยเป็น ๒๒๗.
|
15 |
+
01,0002,014,ปาราชิก ๔
|
16 |
+
01,0002,015,๑. เสพเมถุน ต้องปาราชิก.
|
17 |
+
01,0002,016,๒. ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา ๕ มาสก
|
18 |
+
01,0002,017,ต้องปาราชิก.
|
19 |
+
01,0002,018,๓. ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องปาราชิก.
|
20 |
+
01,0002,019,๔. ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม ( คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์ ) ที่
|
21 |
+
01,0002,020,ไม่มีในตน ต้องปาราชิก.
|
01/010003.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0003,001,สังฆาทิเสส ๑๓
|
3 |
+
01,0003,002,๑. ภิกษุแกล้งทำให้น้ำอสุจิเคลื่อน ต้องสังฆาทิเสส.
|
4 |
+
01,0003,003,๒. ภิกษุมีความกำหนัดอยู่ จับต้องกายหญิง ต้องสังฆาทิเสส.
|
5 |
+
01,0003,004,๓. ภิกษุมีความกำหนัดอยู่ พูดเกี้ยวหญิง ต้องสังฆาทิเสส.
|
6 |
+
01,0003,005,๔. ภิกษุมีความกำหนัดอยู่ พูดล่อให้หญิงบำเรอตนด้วยกาม
|
7 |
+
01,0003,006,ต้องสังฆาทิเสส.
|
8 |
+
01,0003,007,๕. ภิกษุชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน ต้องสังฆาทิเสส.
|
9 |
+
01,0003,008,๖. ภิกษุสร้างกุฎีที่ต้องก่อและโบกด้วยปูนหรือดิน ซึ่งไม่มีใคร
|
10 |
+
01,0003,009,เป็นเจ้าของ จำเพาะเป็นที่อยู่ของตน ต้องทำให้ได้ประมาณ โดยยาว
|
11 |
+
01,0003,010,เพียง ๑๒ คืบพระสุคต โดยกว้างเพียง ๗ คืบ วัดในร่วมใน และ
|
12 |
+
01,0003,011,ต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้สงฆ์แสดงที่ให้ก็ดี ทำให้เกินประมาณ
|
13 |
+
01,0003,012,ก็ดี ต้องสังฆาทิเสส.
|
14 |
+
01,0003,013,๗. ถ้าที่อยู่ซึ่งจะสร้างขึ้นนั้น มีทายกเป็นเจ้าของ ทำให้เกิน
|
15 |
+
01,0003,014,ประมาณนั้นได้ แต่ต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้สงฆ์แสดงที่
|
16 |
+
01,0003,015,ให้ก่อน ต้องสังฆาทิเสส.
|
17 |
+
01,0003,016,๘. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมูล
|
18 |
+
01,0003,017,ต้องสังฆาทิเสส.
|
19 |
+
01,0003,018,๙. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก
|
20 |
+
01,0003,019,ต้องสังฆาทิเสส.
|
01/010004.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0004,001,๑๐. ภิกษุพากเพียรเพื่อจะทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ภิกษุอื่นห้าม
|
3 |
+
01,0004,002,ไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้อง
|
4 |
+
01,0004,003,สังฆาทิเสส
|
5 |
+
01,0004,004,๑๑. ภิกษุประพฤติตามภิกษุผู้ทำลายสงฆ์นั้น ภิกษุอื่นห้าม
|
6 |
+
01,0004,005,ไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้อง
|
7 |
+
01,0004,006,สังฆาทิเสส.
|
8 |
+
01,0004,007,๑๒. ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรม
|
9 |
+
01,0004,008,เพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส.
|
10 |
+
01,0004,009,๑๓. ภิกษุประทุษร้ายตระกูล คือประจบคฤหัสถ์ สงฆ์ไล่เสียจาก
|
11 |
+
01,0004,010,วัด กลับว่าติเตียนสงฆ์ ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้
|
12 |
+
01,0004,011,ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส.
|
13 |
+
01,0004,012,อนิยต ๒
|
14 |
+
01,0004,013,๑. ภิกษุนั่งในที่ลับตากับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อได้
|
15 |
+
01,0004,014,มาพูดขึ้นด้วยธรรม ๓ อย่าง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์
|
16 |
+
01,0004,015,อย่างใดอย่างหนึ่ง ภิกษุรับอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น หรือเขาว่า
|
17 |
+
01,0004,016,จำเพาะธรรมอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น.
|
18 |
+
01,0004,017,๒. ภิกษุนั่งในที่ลับหูกับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อได้
|
19 |
+
01,0004,018,มาพูดขึ้นด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ อย่างใด
|
20 |
+
01,0004,019,อย่างหนึ่ง ภิกษุรับอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น หรือเขาว่าจำเพาะ
|
21 |
+
01,0004,020,ธรรมอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น.
|
01/010005.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0005,001,นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ แบ่งเป็น ๓ วรรค
|
3 |
+
01,0005,002,มีวรรคละ ๑๐ สิกขาบท
|
4 |
+
01,0005,003,จีวรวรรคที่ ๑
|
5 |
+
01,0005,004,๑. ภิกษุทรงอติเรกจีวรได้เพียง ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าล่วง
|
6 |
+
01,0005,005,๑๐ วันไป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0005,006,๒. ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คืนหนึ่ง ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์
|
8 |
+
01,0005,007,เว้นไว้แต่ได้สมมติ.
|
9 |
+
01,0005,008,๓. ถ้าผ้าเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ๆ ประสงค์จะทำจีวร แต่ยังไม่พอ
|
10 |
+
01,0005,009,ถ้ามีที่หวังว่าจะได้มาอีก พึงเก็บผ้านั้นไว้ได้เพียงเดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง
|
11 |
+
01,0005,010,ถ้าเก็บไว้ให้เกินเดือนหนึ่งไป แม้ถึงยังมีที่หวังว่าจะได้อยู่ ต้อง
|
12 |
+
01,0005,011,นิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0005,012,๔. ภิกษุใช้นางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ให้ซักก็ดี ให้ย้อมก็ดี ให้
|
14 |
+
01,0005,013,ทุบก็ดี ซึ่งจีวรเก่า ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
15 |
+
01,0005,014,๕. ภิกษุรับจีวรแต่มือนางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ เว้นไว้แต่แลก
|
16 |
+
01,0005,015,เปลี่ยนกัน ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0005,016,๖. ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผู้ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา ได้มา ต้อง
|
18 |
+
01,0005,017,นิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีสมัยที่จะขอจีวรได้ คือ เวลาภิกษุมี
|
19 |
+
01,0005,018,จีวรอันโจรลักไป หรือมีจีวรอันฉิบหายเสีย.
|
01/010006.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0006,001,๗. ในสมัยเช่นนั้น จะขอเขาได้ก็เพียงผ้านุ่งผ้าห่มเท่านั้น ถ้าขอ
|
3 |
+
01,0006,002,ให้เกินกว่านั้น ได้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0006,003,๘. ถ้าคฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา เขาพูดว่า เขาจะถวาย
|
5 |
+
01,0006,004,จีวรแก่ภิกษุชื่อนี้ ภิกษุนั้นทราบความแล้ว เข้าไปพูดให้เขาถวายจีวร
|
6 |
+
01,0006,005,อย่างนั้นอย่างนี้ ที่มีราคาแพงกว่าดีกว่าที่เขากำหนดไว้เดิม ได้มา ต้อง
|
7 |
+
01,0006,006,นิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0006,007,๙. ถ้าคฤหัสถ์ผู้จะถวายจีวรแก่ภิกษุมีหลายคน แต่เขาไม่ใช่ญาติ
|
9 |
+
01,0006,008,ไม่ใช่ปวารณา ภิกษุไปพูดให้เขารวมทุนเข้าเป็นอันเดียวกัน ให้ซื้อ
|
10 |
+
01,0006,009,จีวรที่แพงกว่าดีกว่าที่เขากำหนดไว้เดิม ได้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
11 |
+
01,0006,010,๑๐. ถ้าใคร ๆ นำทรัพย์มาเพื่อค่าจีวรแล้วถามภิกษุว่า ใครเป็น
|
12 |
+
01,0006,011,ไวยาวัจกรของเธอ ถ้าภิกษุต้องการจีวร ก็พึงแสดงคนวัดหรือ
|
13 |
+
01,0006,012,อุบาสกว่า ผู้นี้เป็นไวยาวัจกรของภิกษุทั้งหลาย ครั้นเขามอบหมาย
|
14 |
+
01,0006,013,ไวยาวัจกรนั้นแล้ว สั่งภิกษุว่า ถ้าต้องการจีวร ให้เข้าไปหา
|
15 |
+
01,0006,014,ไวยาวัจกร ภิกษุนั้นพึงเข้าไปหาเขาแล้วทวงว่า เราต้องการจีวร ดังนี้
|
16 |
+
01,0006,015,ได้ ๓ ครั้ง ถ้าไม่ได้จีวร ไปยืนแต่พอเขาเห็นได้ ๖ ครั้ง ถ้าไม่ได้
|
17 |
+
01,0006,016,ขืนไปทวงให้เกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน๖ ครั้ง ได้มา ต้องนิสสัคคิย-
|
18 |
+
01,0006,017,ปาจิตตีย์. ถ้าไปทวงและยืนครบกำหนดแล้วไม่ได้จีวร จำเป็นต้อง
|
19 |
+
01,0006,018,ไปบอกเจ้าของเดิมว่า ของนั้นไม่สำเร็จประโยชน์แก่ตน ให้เขาเรียก
|
20 |
+
01,0006,019,เอาของเขาคืนเสีย.
|
01/010007.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0007,001,โกสิยวรรคที่ ๒
|
3 |
+
01,0007,002,๑. ภิกษุหล่อสันถัตด้วยขนเจียมเจือด้วยไหม ต้องนิสสัคคิย-
|
4 |
+
01,0007,003,ปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0007,004,๒. ภิกษุหล่อสันถัดด้วยขนเจียมดำล้วน ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
6 |
+
01,0007,005,๓. ภิกษุจะหล่อสันถัตใหม่ พึงใช้ขนเจียมดำ ๒ ส่วน ขนเจียมขาว
|
7 |
+
01,0007,006,ส่วนหนึ่ง ขนเจียมแดงส่วนหนึ่ง ถ้าใช้ขนเจียมดำเกน ๒ ส่วนขึ้นไป
|
8 |
+
01,0007,007,ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0007,008,๔. ภิกษุหล่อสันถัตใหม่แล้ว พึงใช้ให้ได้ ๖ ปี ถ้ายังไม่ถึง ๖ ปี
|
10 |
+
01,0007,009,หล่อใหม่ ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ.
|
11 |
+
01,0007,010,๕. ภิกษุจะหล่อสันถัต พึงตัดเอาสันถัตเก่าคืบหนึ่งโดยรอบมา
|
12 |
+
01,0007,011,ปนลงในสันถัตที่หล่อใหม่ เพื่อจะทำลายให้เสียสี ถ้าไม่ทำดังนี้ ต้อง
|
13 |
+
01,0007,012,นิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
14 |
+
01,0007,013,๖. เมื่อภิกษุเดินทางไกล ถ้ามีใครถวายขนเจียม ต้องการก็รับได้
|
15 |
+
01,0007,014,ถ้าไม่มีใครนำมา นำมาเองได้เพียง ๓ โยชน์ ถ้าให้เกิน ๓ โยชน์ไป
|
16 |
+
01,0007,015,ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0007,016,๗. ภิกษุใช้นางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ให้ซักก็ดี ให้ย้อมก็ดี ให้สาง
|
18 |
+
01,0007,017,ก็ดี ซึ่งขนเจียม ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
19 |
+
01,0007,018,๘. ภิกษุรับเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นรับก็ดี ซึ่งทองและเงิน หรือยินดี
|
20 |
+
01,0007,019,ทองและเงินที่เขาเก็บไว้เพื่อตน ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
01/010008.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0008,001,๙. ภิกษุทำการซื้อขายด้วยรูปิยะ คือของที่เขาใช้เป็นทองและเงิน
|
3 |
+
01,0008,002,ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0008,003,๑๐. ภิกษุแลกเปลี่ยนสิ่งของกับคฤหัสถ์ ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0008,004,ปัตตวรรคที่ ๓
|
6 |
+
01,0008,005,๑. บาตรนอกจากบาตรอธิษฐานเรียกอติเรกบาตร อติเรกบาตร
|
7 |
+
01,0008,006,นั้น ภิกษุเก็บไว้ได้เพียง ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าให้ล่วง ๑๐ วันไป ต้อง
|
8 |
+
01,0008,007,นิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0008,008,๒. ภิกษุมีบาตรร้าวยังไม่ถึง ๑๐ นิ้ว ขอบาตรใหม่แต่คฤหัสถ์
|
10 |
+
01,0008,009,ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา ได้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
11 |
+
01,0008,010,๓. ภิกษุรับประเคนเภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน
|
12 |
+
01,0008,011,น้ำผึ้ง น้ำอ้อย แล้วเก็บไว้ฉันได้เพียง ๗ วันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าให้ล่วง
|
13 |
+
01,0008,012,๗ วันไป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
14 |
+
01,0008,013,๔. เมื่อฤดูร้อนยังเหลืออยู่อีกเดือนหนึ่ง คือตั้งแต่แรมค่ำหนึ่ง
|
15 |
+
01,0008,014,เดือน ๗ จึงแสวงหาผาอาบน้ำฝนได้ เมื่อฤดูร้อนเหลืออยู่อีกกึ่งเดือน
|
16 |
+
01,0008,015,คือตั้งแต่ขึ้นค่ำหนึ่งเดือน ๘ จึงทำนุ่งได้ ถ้าแสวงหาหรือทำนุ่งให้ล้ำกว่า
|
17 |
+
01,0008,016,กำหนดนั้นเข้ามา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
18 |
+
01,0008,017,๕. ภิกษุให้จีวรแก่ภิกษุอื่นแล้ว โกรธ ชิงเอาคืนมาเองก็ดี ใช้
|
19 |
+
01,0008,018,ให้ผู้อื่นชิงเอามาก็ดี ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
20 |
+
01,0008,019,๖. ภิกษุขอด้ายแต่คฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา เอามาให้
|
21 |
+
01,0008,020,ช่างหูกทอเป็นจีวร ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
01/010009.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,16 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0009,001,๗. ถ้าคฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา สั่งให้ช่างหูกทอจีวร
|
3 |
+
01,0009,002,เพื่อจะถวายแก่ภิกษุ ถ้าภิกษุไปกำหนดให้เขาทำให้ดีขึ้นด้วยจะให้รางวัล
|
4 |
+
01,0009,003,แก่เขา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0009,004,๘. ถ้าอีก ๑๐ วันจะถึงวันปวารณา คือตั้งแต่ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๑
|
6 |
+
01,0009,005,ถ้าทายกรีบจะถวายผ้าจำนำพรรษา ก็รับเก็บไว้ได้ แต่ถ้าเก็บไว้เกิน
|
7 |
+
01,0009,006,กาลจีวรไป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์. กาลจีวรนั้นดังนี้ ถ้าจำพรรษาแล้ว
|
8 |
+
01,0009,007,ไม่ได้กรานกฐิน นับแต่วันปวารณาไปเดือนหนึ่ง คือตั้งแต่แรมค่ำหนึ่ง
|
9 |
+
01,0009,008,เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินนับแต่วันปวารณาไป
|
10 |
+
01,0009,009,๕ เดือน คือตั้งแต่แรมค่ำหนึ่งเดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๔.
|
11 |
+
01,0009,010,๙. ภิกษุจำพรรษาในเสนาสนะป่าซึ่งเป็นที่เปลี่ยว ออกพรรษา
|
12 |
+
01,0009,011,แล้ว อยากจะเก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในบ้าน เมื่อมีเหตุก็เก็บไว้ได้
|
13 |
+
01,0009,012,เพียง ๖ คืนเป็นอย่างยิ่ง ถ้าเก็บไว้ให้เกิน ๖ คืนไป ต้องนิสสัคคิย-
|
14 |
+
01,0009,013,ปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ.
|
15 |
+
01,0009,014,๑๐. ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่เขาจะถวายสงฆ์มาเพื่อตน ต้อง
|
16 |
+
01,0009,015,นิสสัคคิยปาจิตตีย์.
|
01/010010.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0010,001,ปาจิตตีย์ ๙๒ สิกขาบท
|
3 |
+
01,0010,002,มุสาวาทวรรคที่ ๑ มี ๑๐ สิกขาบท
|
4 |
+
01,0010,003,๑. พูดปด ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0010,004,๒. ด่าภิกษุ ต้องปาจิตตีย์.
|
6 |
+
01,0010,005,๓. ส่อเสียดภิกษุ ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0010,006,๔. ภิกษุสอนธรรมแก่อนุปสัมบัน ถ้าว่าพร้อมกัน ต้องปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0010,007,๕. ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับอนุปสัมบัน เกิน ๓ คืน
|
9 |
+
01,0010,008,ขึ้นไป ต้องปาจิตตีย์.
|
10 |
+
01,0010,009,๖. ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับผู้หญิง แม้ในคืนแรก
|
11 |
+
01,0010,010,ต้องปาจิตตีย์.
|
12 |
+
01,0010,011,๗. ภิกษุแสดงธรรมแก่ผู้หญิง เกินกว่า ๖ คำขึ้นไป ต้อง
|
13 |
+
01,0010,012,ปาจิตตีย์. [ <SUP>๑</SUP> ]
|
14 |
+
01,0010,013,๘. ภิกษุบอกอุตตริมนุสสธรรมที่มีจริง แก่อนุปสัมบัน ต้อง
|
15 |
+
01,0010,014,ปาจิตตีย์.
|
16 |
+
01,0010,015,๙. ภิกษุบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่นแก่อนุปสัมบัน ต้อง
|
17 |
+
01,0010,016,ปาจิตตีย์. [ <SUP>๒</SUP> ]
|
18 |
+
01,0010,017,๑๐. ภิกษุขุดเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นขุดก็ดี ซึ่งแผ่นดิน ต้องปาจิตตีย์.
|
01/010011.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0011,001,ภูตคามวรรคที่ ๒ มี ๑๐ สิกขาบท
|
3 |
+
01,0011,002,๑. ภิกษุพรากของเขียวซึ่งเกิดอยู่กับที่ ให้หลุดจากที่ ต้อง
|
4 |
+
01,0011,003,ปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0011,004,๒. ภิกษุประพฤติอนาจาร สงฆ์เรียกตัวมาถาม แกล้งพูดกลบ-
|
6 |
+
01,0011,005,เกลื่อนก็ดี นิ่งเสียไม่พูดก็ดี ถ้าสงฆ์สวดประกาศข้อความนั้นจบ ต้อง
|
7 |
+
01,0011,006,ปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0011,007,๓. ภิกษุติเตียนภิกษุอื่นที่สงฆ์สมมติให้เป็นผู้ทำการสงฆ์ ถ้าเธอ
|
9 |
+
01,0011,008,ทำโดยชอบ ติเตียนเปล่า ๆ ต้องปาจิตตีย์.
|
10 |
+
01,0011,009,๔. ภิกษุเอาเตียง ตั่ง ฟูก เก้าอี้ ของสงฆ์ไปตั้งในที่แจ้งแล้ว
|
11 |
+
01,0011,010,เมื่อหลีกไปจากที่นั้น ไม่เก็บเองก็ดี ไม่ใช้ให้ผู้อื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมาย
|
12 |
+
01,0011,011,แก่ผู้อื่นก็ดี ต้องปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0011,012,๕. ภิกษุเอาที่นอนของสงฆ์ปูนอนในกุฎีสงฆ์แล้ว เมื่อหลีกไป
|
14 |
+
01,0011,013,จากที่นั้น ไม่เก็บเองก็ดี ไม่ใช้ให้ผู้อื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมายแก่ผู้อื่นก็ดี
|
15 |
+
01,0011,014,ต้องปาจิตตีย์.
|
16 |
+
01,0011,015,๖. ภิกษุรู้อยู่ว่า กุฎีนี้มีผู้อยู่ก่อน แกล้งไปนอนเบียด ด้วยหวัง
|
17 |
+
01,0011,016,จะให้ผู้อยู่ก่อนคับแคบใจเข้าก็จะหลีกไปเอง ต้องปาจิตตีย์.
|
18 |
+
01,0011,017,๗. ภิกษุโกรธเคืองภิกษุอื่น ฉุดคร่าไล่ออกจากกุฎีสงฆ์ ต้อง
|
19 |
+
01,0011,018,ปาจิตตีย์.
|
20 |
+
01,0011,019,๘. ภิกษุนั่งทับก็ดี นอนทับก็ดี บนเตียงก็ดี บนตั่งก็ดี อันมี
|
21 |
+
01,0011,020,เท้าไม่ได้ตรึงให้แน่น ซึ่งเขาวางไว้บนร่างร้านที่เขาเก็บของในกุฎี ต้อง
|
22 |
+
01,0011,021,ปาจิตตีย์.
|
01/010012.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0012,001,๙. ภิกษุจะเอาดินหรือปูนโบกหลังคากุฎี พึงโบกได้แต่เพียง
|
3 |
+
01,0012,002,๓ ชั้น ถ้าบอกเกินกว่านั้น ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0012,003,๑๐. ภิกษุรู้อยู่ว่า น้ำมีตัวสัตว์ เอารดหญ้าหรือดิน ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0012,004,โอวาทวรรคที่ ๓ มี ๑๐ สิกขาบท
|
6 |
+
01,0012,005,๑. ภิกษุที่สงฆ์ไม่ได้สมมติ สั่งสอนนางภิกษุณี ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0012,006,๒. แม้ภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว ตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้วไป สอน
|
8 |
+
01,0012,007,นางภิกษุณี ต้องปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0012,008,๓. ภิกษุเข้าไปสอนนางภิกษุณีถึงในที่อยู่ ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้
|
10 |
+
01,0012,009,แต่นางภิกษุณีเจ็บ.
|
11 |
+
01,0012,010,๔. ภิกษุติเตียนภิกษุอื่นว่า สอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ
|
12 |
+
01,0012,011,ต้องปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0012,012,๕. ภิกษุให้จีวรแก่นางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้
|
14 |
+
01,0012,013,แต่แลกเปลี่ยนกัน.
|
15 |
+
01,0012,014,๖. ภิกษุเย็บจีวรของนางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นเย็บก็ดี
|
16 |
+
01,0012,015,ต้องปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0012,016,๗. ภิกษุชวนนางภิกษุณีเดินทางด้วยกัน แม้สิ้นระยะบ้านหนึ่ง
|
18 |
+
01,0012,017,ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้แต่ทางเปลี่ยว.
|
19 |
+
01,0012,018,๘. ภิกษุชวนนางภิกษุณีลงเรือลำเดียวกัน ขึ้นน้ำก็ดี ล่องน้ำก็ดี
|
20 |
+
01,0012,019,ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้แต่ข้ามฟาก.
|
21 |
+
01,0012,020,๙. ภิกษุรู้อยู่ฉันของเคี้ยวของฉัน ที่นางภิกษุณีบังคับให้คฤหัสถ์
|
22 |
+
01,0012,021,เขาถวาย ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้แต่คฤหัสถ์เขาเริ่มไว้ก่อน.
|
01/010013.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0013,001,๑๐. ภิกษุนั่งก็ดี นอนก็ดี ในที่ลับสองต่อสอง กับนางภิกษุณี
|
3 |
+
01,0013,002,ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0013,003,โภชนวรรคที่ ๔ มี ๑๐ สิกขาบท
|
5 |
+
01,0013,004,๑. อาหารในโรงทานที่ทั่วไปไม่นิยมบุคคล ภิกษุไม่เจ็บไข้ ฉันได้
|
6 |
+
01,0013,005,แต่เฉพาะวันเดียวแล้ว ต้องหยุดเสียในระหว่าง ต่อไปจึงฉันได้อีก ถ้า
|
7 |
+
01,0013,006,ฉันติด ๆ กันตั้งแต่สองวันขึ้นไป ต้องปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0013,007,๒. ถ้าทายกเขามานิมนต์ ออกชื่อโภชนะทั้ง ๕ อย่าง คือข้าวสุก
|
9 |
+
01,0013,008,ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนื้อ อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าไปรับของนั้นมา
|
10 |
+
01,0013,009,หรือฉันของนั้นพร้อมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่
|
11 |
+
01,0013,010,สมัย คือ เป็นไข้อย่าง ๑ หน้าจีวรกาลอย่าง ๑ เวลาทำจีวรอย่าง ๑
|
12 |
+
01,0013,011,เดินทางไกลอย่าง ๑ ไปทางเรืออย่าง ๑ อยู่มากด้วยกันบิณฑบาตไม่พอ
|
13 |
+
01,0013,012,ฉันอย่าง ๑ โภชนะเป็นของสมณะอย่าง ๑.
|
14 |
+
01,0013,013,๓. ภิกษุรับนิมนต์แห่งหนึ่ง ด้วยโภชนะทั้ง ๕ อย่างใดอย่างหนึ่ง
|
15 |
+
01,0013,014,แล้ว ไม่ไปฉันในที่นิมนต์นั้น ไปฉันเสียที่อื่น ต้องปาจิตตีย์ เว้น
|
16 |
+
01,0013,015,ไว้แต่ยกส่วนที่รับนิมนต์ไว้ก่อนนั้นให้แก่ภิกษุอื่นเสีย หรือหน้าจีวรกาล
|
17 |
+
01,0013,016,และเวลาทำจีวร.
|
18 |
+
01,0013,017,๔. ภิกษุเข้าไปบิณฑบาตในบ้าน ทายกเขาเอาขนมมาถวายเป็น
|
19 |
+
01,0013,018,อันมาก จะรับได้เป็นอย่างมากเพียง ๓ บาตรเท่านั้น ถ้ารับให้เกินกว่า
|
20 |
+
01,0013,019,นั้น ต้องปาจิตตีย์. ของที่รับมามากเช่นนั้น ต้องแบ่งให้ภิกษุอื่น.
|
21 |
+
01,0013,020,๕. ภิกษุฉันค้างอยู่ มีผู้เอาโภชนะทั้ง ๕ อย่างใดอย่างหนึ่งเข้า
|
01/010014.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0014,001,มาประเคน ห้ามเสียแล้ว ลุกจากที่นั่งนั้นแล้ว ฉันของเคี้ยวของฉันซึ่ง
|
3 |
+
01,0014,002,ไม่เป็นเดนภิกษุไข้ หรือไม่ได้ทำวินัยกรรม ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0014,003,๖. ภิกษุรู้อยู่ว่า ภิกษุอื่นห้ามข้าวแล้ว [ ตามสิกขาบทหลัง ]
|
5 |
+
01,0014,004,คิดจะยกโทษเธอ แกล้งเอาของเคี้ยวของฉันที่ไม่เป็นเดนภิกษุไข้ ไปล่อ
|
6 |
+
01,0014,005,ให้เธอฉัน ถ้าเธอฉันแล้ว ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0014,006,๗. ภิกษุฉันของเคี้ยวของฉันที่เป็นอาหารในเวลาวิกาล คือตั้งแต่
|
8 |
+
01,0014,007,เที่ยงแล้วไปจนถึงวันใหม่ ต้องปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0014,008,๘. ภิกษุฉันของเคี้ยวของฉันที่เป็นอาหารซึ่งรับประเคนไว้ค้างคืน
|
10 |
+
01,0014,009,ต้องปาจิตตีย์.
|
11 |
+
01,0014,010,๙. ภิกษุขอโภชนะอันประณีต คือ ข้าวสุก ระคนด้วยเนยใส
|
12 |
+
01,0014,011,เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ปลา เนื้อ นมสด นมส้ม ต่อคฤหัสถ์
|
13 |
+
01,0014,012,ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา เอามาฉัน ต้องปาจิตตีย์.
|
14 |
+
01,0014,013,๑๐. ภิกษุกลืนกินอาหารที่ไม่มีผู้ให้ คือยังไม่ได้รับประเคน ให้
|
15 |
+
01,0014,014,ล่วงทวารปากเข้าไป ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้แต่น้ำและไม้สีฟัน.
|
16 |
+
01,0014,015,อเจลกวรรคที่ ๔ มี ๑๐ สิกขาบท
|
17 |
+
01,0014,016,๑. ภิกษุให้ของเคี้ยวของฉัน แก่นักบวชนอกศาสนา ด้วยมือตน
|
18 |
+
01,0014,017,ต้องปาจิตตีย์.
|
19 |
+
01,0014,018,๒. ภิกษุชวนภิกษุอื่นไปเที่ยวบิณฑบาตด้วยกัน หวังจะประพฤติ
|
20 |
+
01,0014,019,อนาจาร ไล่เธอกลับมาเสีย ต้องปาจิตตีย์.
|
01/010015.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0015,001,๓. ภิกษุสำเร็จการนั่งแทรกแซง ในสกุลที่กำลังบริโภคอาหาร
|
3 |
+
01,0015,002,อยู่ ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0015,003,๔. ภิกษุนั่งอยู่ห้องกับผู้หญิง ไม่มีผู้ชายอยู่เป็นเพื่อน ต้อง
|
5 |
+
01,0015,004,ปาจิตตีย์.
|
6 |
+
01,0015,005,๕. ภิกษุนั่งในที่แจ้งกับผู้หญิงสองต่อสอง ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0015,006,๖. ภิกษุรับนิมนต์ด้วยโภชนะทั้ง ๕ แล้ว จะไปในที่อื่นจากที่
|
8 |
+
01,0015,007,นิมนต์นั้น ในเวลาก่อนฉันก็ดี ฉันกลับมาแล้วก็ดี ต้องลาภิกษุที่มีอยู่
|
9 |
+
01,0015,008,ในวัดก่อนจึงจะไปได้ ถ้าไม่ลาก่อนเที่ยวไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่
|
10 |
+
01,0015,009,สมัย คือจีวรกาล และเวลาทำจีวร.
|
11 |
+
01,0015,010,๗. ถ้าเขาปวารณาด้วยปัจจัยสี่เพียง ๓ เดือน พึงขอเขาได้เพียง
|
12 |
+
01,0015,011,กำหนดนั้นเท่านั้น ถ้าขอให้เกินกว่ากำหนดนั้นไป ต้องปาจิตตีย์ เว้น
|
13 |
+
01,0015,012,ไว้แต่เขาปวารณาอีก หรือปวารณาเป็นนิตย์.
|
14 |
+
01,0015,013,๘. ภิกษุไปดูกระบวนทัพที่เขายกไปเพื่อจะรบกัน ต้องปาจิตตีย์
|
15 |
+
01,0015,014,เว้นไว้แต่มีเหตุ.
|
16 |
+
01,0015,015,๙. ถ้าเหตุที่ต้องไปมีอยู่ พึงไปอยู่ได้ในกอบทัพเพียง ๓ วัน ถ้า
|
17 |
+
01,0015,016,อยู่ให้เกินกว่ากำหนดนั้น ต้องปาจิตตีย์.
|
18 |
+
01,0015,017,๑๐. ในเวลาที่อยู่ในกองทัพตามกำหนดนั้น ถ้าไปดูเขารบกันก็ดี
|
19 |
+
01,0015,018,หรือดูเขาตรวจพลก็ดี ดูเขาจัดกระบวนทัพก็ดี ดูหมู่เสนาที่จัดเป็น
|
20 |
+
01,0015,019,กระบวนแล้วก็ดี ต้องปาจิตตีย์.
|
01/010016.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0016,001,สุราปานวรรคที ๖ มี ๑๐ สิกขาบท
|
3 |
+
01,0016,002,๑. ภิกษุดื่มน้ำเมา ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0016,003,๒. ภิกษุจี้ภิกษุ ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0016,004,๓. ภิกษุว่ายน้ำเล่น ต้องปาจิตตีย์.
|
6 |
+
01,0016,005,๔. ภิกษุแสดงความไม่เอื้อเฟื้อในวินัย ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0016,006,๕. ภิกษุหลอนภิกษุให้กลัวผี ต้องปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0016,007,๖. ภิกษุไม่เป็นไข้ ติดไฟให้เป็นเปลวเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นติดก็ดี
|
9 |
+
01,0016,008,เพื่อจะผิง ต้องปาจิตตีย์ ติดเพื่อเหตุอื่น ไม่เป็นอาบัติ.
|
10 |
+
01,0016,009,๗. ภิกษุอยู่ในมัชฌิมประเทศ คือ จึงหวัดกลางแห่งประเทศ
|
11 |
+
01,0016,010,อินเดีย ๒๕ วันจึงอาบน้ำได้หนหนึ่ง ถ้าไม่ถึง ๑๕ วันอาบน้ำ ต้อง
|
12 |
+
01,0016,011,ปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีเหตุจำเป็น. ในปัจจันตประเทศฯ เช่นประเทศเรา
|
13 |
+
01,0016,012,อาบน้ำได้เป็นนิตย์ ไม่เป็นอาบัติ.
|
14 |
+
01,0016,013,๘. ภิกษุได้จีวรใหม่มา ต้องพินทุด้วยสี ๓ อย่าง คือ เขียว
|
15 |
+
01,0016,014,ราม โคลน ดำคล้ำ อย่างใดอย่างหนึ่งก่อน จึงนุ่งห่มได้ ถ้าไม่ทำ
|
16 |
+
01,0016,015,พินทุก่อนแล้วนุ่งห่ม ต้องปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0016,016,๙. ภิกษุวิกัปจีวรแก่ภิกษุหรือสามเณรแล้ว ผู้รับยังไม่ได้ถอน
|
18 |
+
01,0016,017,นุ่งห่มจีวรนั้น ต้องปาจิตตีย์.
|
19 |
+
01,0016,018,๑๐. ภิกษุซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูนั่ง กล่องเข็ม
|
20 |
+
01,0016,019,ประคดเอว สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ของภิกษุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้อง
|
21 |
+
01,0016,020,ปาจิตตีย์.
|
01/010017.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0017,001,สัปปวณวรรคที่ ๗ มี ๑๐ สิกขาบท
|
3 |
+
01,0017,002,๑. ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ดิรัจฉาน ต้องปาจิตตีย์.
|
4 |
+
01,0017,003,๒. ภิกษุรู้อยู่ว่า น้ำมีตัวสัตว์ บริโภคน้ำนั้น ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0017,004,๓. ภิกษุรู้อยู่ว่า อธิกรณ์นี้สงฆ์ทำแล้วโดยชอบ เลิกถอนเสีย
|
6 |
+
01,0017,005,กลับทำใหม่ ต้องปาจิตตีย์.
|
7 |
+
01,0017,006,๔. ภิกษุรู้อยู่ แกล้งปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น ต้อง
|
8 |
+
01,0017,007,ปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0017,008,๕. ภิกษุรู้อยู่ เป็นอุปัชฌายะอุปสมบทกุลบุตรผู้มีอายุหย่อนกว่า
|
10 |
+
01,0017,009,๒๐ ปี ต้องปาจิตตีย์.
|
11 |
+
01,0017,010,๖. ภิกษุรู้อยู่ ชวนพ่อค้าผู้ซ่อนภาษีเดินทางด้วยกัน แม้สิ้นระยะ
|
12 |
+
01,0017,011,บ้านหนึ่ง ต้องปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0017,012,๗. ภิกษุชวนผู้หญิงเดินทางด้วยกัน แม้สิ้นระยะบ้านหนึ่ง ต้อง
|
14 |
+
01,0017,013,ปาจิตตีย์.
|
15 |
+
01,0017,014,๘. ภิกษุกล่าวคัดค้านธรรมเทศนาขอพระพุทธเจ้า ภิกษุอื่น
|
16 |
+
01,0017,015,ห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดประกาศข้อความนั้นจบ ต้องปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0017,016,๙. ภิกษุคบภิกษุเช่นนั้น คือ ร่วมกินก็ดี ร่วมอุโบสถสังฆกรรม
|
18 |
+
01,0017,017,ก็ดี ร่วมนอนก็ดี ต้องปาจิตตีย์.
|
19 |
+
01,0017,018,๑๐. ภิกษุเกลี้ยกล่อมสามเณรที่ภิกษุอื่นให้ฉิบหายแล้ว เพราะโทษ
|
20 |
+
01,0017,019,ที่กล่าวคัดค้านธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ให้เป็นผู้อุปัฏฐากก็ดี ร่วม
|
21 |
+
01,0017,020,กินก็ดี ร่วมนอนก็ดี ต้องปาจิตตีย์.
|
01/010018.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0018,001,สหธรรมิกวรรคที่ ๘ มี ๑๒ สิกขาบท
|
3 |
+
01,0018,002,๑ ภิกษุประพฤติอนาจาร ภิกษุอื่นตักเตือน พูดผัดเพี้ยนว่า
|
4 |
+
01,0018,003,ยังไม่ได้ถามท่านผู้รู้ก่อน ข้าพเจ้าจักไม่ศึกษาในสิกขาบทนี้ ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0018,004,ธรรมดาภิกษุผู้ศึกษา ยังไม่รู้สิ่งใด ควรจะรู้สิ่งนั้น ควรไต่ถาม
|
6 |
+
01,0018,005,ไล่เลียงท่านผู้รู้.
|
7 |
+
01,0018,006,๒. ภิกษุอื่นท่องปาติโมกข์อยู่ ภิกษุแกล้งพูดให้เธอคลายอุตสาหะ
|
8 |
+
01,0018,007,ต้องปาจิตตีย์.
|
9 |
+
01,0018,008,๓. ภิกษุต้องอาบัติแล้วแกล้งพูดว่า ข้าพเจ้าพึ่งรู้เดี๋ยวนี้เองว่า
|
10 |
+
01,0018,009,ข้อนี้มาในพระปาติโมกข์ ถ้าภิกษุอื่นรู้อยู่ว่า เธอเคยรู้มาก่อนแล้วแต่
|
11 |
+
01,0018,010,แกล้งพูดกันเขาว่า พึงสวดประกาศความข้อนั้น เมื่อสงฆ์สวดประกาศ
|
12 |
+
01,0018,011,แล้ว แกล้งทำไม่รู้อีก ต้องปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0018,012,๔. ภิกษุโกรธ ให้ประหารแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์.
|
14 |
+
01,0018,013,๕. ภิกษุโกรธ เงื้อมือดุจให้ประหารแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์.
|
15 |
+
01,0018,014,๖. ภิกษุโจทก์ฟ้องภิกษุอื่น ด้วยอาบัติสังฆาทิเสสไม่มีมูล ต้อง
|
16 |
+
01,0018,015,ปาจิตตีย์.
|
17 |
+
01,0018,016,๗. ภิกษุแกล้งก่อความรำคาญให้เกิดแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์.
|
18 |
+
01,0018,017,๘. เมื่อภิกษุวิวาทกันอยู่ ภิกษุไปแอบฟังความ เพื่อจะได้รู้ว่า
|
19 |
+
01,0018,018,เขาว่าอะไรตนหรือพวกของตน ต้องปาจิตตีย์.
|
20 |
+
01,0018,019,๙. ภิกษุให้ฉันทะ คือความยอมให้ทำสังฆกรรมที่เป็นธรรมแล้ว
|
21 |
+
01,0018,020,ภายหลังกลับติเตียนสงฆ์ผู้ทำกรรมนั้น ต้องปาจิตตีย์.
|
01/010019.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0019,001,๑๐. เมื่อสงฆ์กำลังประชุมกันตัดสินข้อความข้อหนึ่ง ภิกษุใดอยู่
|
3 |
+
01,0019,002,ในที่ประชุมนั้น จะหลีกไปในขณะที่ตัดสินข้อนั้นยังไม่เสร็จ ไม่ให้
|
4 |
+
01,0019,003,ฉันทะก่อนลุกไปเสีย ต้องปาจิตตีย์.
|
5 |
+
01,0019,004,๑๑. ภิกษุพร้อมกับสงฆ์ให้จีวรเป็นบำเหน็จ แก่ภิกษุรูปใดรูป
|
6 |
+
01,0019,005,หนึ่งแล้ว ภายหลังกลับติเตียนภิกษุอื่นว่า ให้เพราะเห็นแก่หน้ากัน
|
7 |
+
01,0019,006,ต้องปาจิตตีย์.
|
8 |
+
01,0019,007,๑๒. ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่ทายกเขาตั้งใจจะถวายสงฆ์มาเพื่อบุคคล
|
9 |
+
01,0019,008,ต้องปาจิตตีย์.
|
10 |
+
01,0019,009,รตนวรรคที่ ๙ มี ๑๐ สิกขาบท
|
11 |
+
01,0019,010,๑. ภิกษุไม่ได้รับอนุญาตก่อน เข้าไปในห้องที่พระเจ้าแผ่นดิน
|
12 |
+
01,0019,011,เสด็จอยู่กับพระมเหสี ต้องปาจิตตีย์.
|
13 |
+
01,0019,012,๒. ภิกษุเห็นเครื่องบริโภคของคฤหัสถ์ตกอยู่ ถือเอาเป็นของ
|
14 |
+
01,0019,013,เก็บได้เองก็ดี ให้ผู้อื่นถือเอาก็ดี ต้องปาจิตตีย์. เว้นไว้แต่ของนั้นตกอยู่
|
15 |
+
01,0019,014,ในวัด หรือในที่อาศัย ต้องเก็บไว้ให้แก่เจ้าของ ถ้าไม่เก็บ ต้องทุกกฏ.
|
16 |
+
01,0019,015,๓. ภิกษุไม่บอกลาภิกษุอื่นที่มีอยู่ในวันก่อน เข้าไปบ้านในเวลา
|
17 |
+
01,0019,016,วิกาล ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่การด่วน.
|
18 |
+
01,0019,017,๔. ภิกษุทำกล่องเข็ม ด้วยกระดูกก็ดี ด้วยงาก็ดี ด้วยเขาก็ดี
|
19 |
+
01,0019,018,ต้องปาจิตตีย์. ต้องต่อยกล่องนั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
20 |
+
01,0019,019,๕. ภิกษุทำเตียงหรือตั่ง พึงทำให้มีเท้าเพียง ๘ นิ้วพระสุคต
|
21 |
+
01,0019,020,เว้นไว้แต่แม่แคร่ ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้องปาจิตตีย์. ต้องตัดให้ได้
|
01/010020.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0020,001,ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
3 |
+
01,0020,002,๖. ภิกษุทำเตียงหรือตั่งหุ้มนุ่น ต้องปาจิตตีย์. ต้องรื้อเสียก่อน
|
4 |
+
01,0020,003,จึงแสดงอาบัติตก.
|
5 |
+
01,0020,004,๗. ภิกษุทำผ้าปูนั่ง พึงทำให้ได้ประมาณ ประมาณนั้นยาว ๒ คืบ
|
6 |
+
01,0020,005,พระสุคต กว้างคืบครึ่ง ชายคืบหนึ่ง ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้อง
|
7 |
+
01,0020,006,ปาจิตตีย์. ต้องตัดให้ได้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
8 |
+
01,0020,007,๘. ภิกษุทำผ้าปิดแผล พึงทำให้ได้ประมาณ ประมาณนั้น
|
9 |
+
01,0020,008,ยาว ๔ คืบพระสุคต กว้าง ๒ คืบ ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้องปาจิตตีย์.
|
10 |
+
01,0020,009,ต้องตัดให้ได้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
11 |
+
01,0020,010,๙. ภิกษุทำผ้าอาบน้ำฝน พึงทำให้ได้ประมาณ ประมาณนั้น
|
12 |
+
01,0020,011,ยาว ๖ คืบพระสุคต กว้าง ๒ คืบครึ่ง ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้อง
|
13 |
+
01,0020,012,ปาจิตตีย์. ต้องตัดให้ได้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
14 |
+
01,0020,013,๑๐. ภิกษุทำจีวรให้เท่าจีวรพระสุคตก็ดี เกินกว่านั้นก็ดี ต้อง
|
15 |
+
01,0020,014,ปาจิตตีย์. ประมาณจีวรพระสุคตนั้น ยาว ๙ คืบพระสุคต กว้าง ๖ คืบ
|
16 |
+
01,0020,015,ต้องตัดให้ได้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก.
|
17 |
+
01,0020,016,ปาฏิเทสนียะ ๔
|
18 |
+
01,0020,017,๑. ภิกษุรับของเคี้ยวของฉันแต่มือนางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ด้วย
|
19 |
+
01,0020,018,มือของตนมาบริโภค ต้องปาฏิเทสนียะ.
|
20 |
+
01,0020,019,๒. ภิกษุฉันอยู่ในที่นิมนต์ ถ้ามีนางภิกษุณีมาสั่งทายกให้เอา
|
01/010021.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0021,001,สิ่งนั้นสิ่งนี้ถวาย เธอพึงไล่นางภิกษุณีนั้นให้ถอยไปเสีย ถ้าไม่ไล่ ต้อง
|
3 |
+
01,0021,002,ปาฏิเทสนียะ.
|
4 |
+
01,0021,003,๓. ภิกษุไม่เป็นไข้ เขาไม่ได้นิมนต์ รับของเคี้ยวของฉันใน
|
5 |
+
01,0021,004,ตระกูลที่สงฆ์สมมติว่าเป็นเสขะ มาบริโภค ต้องปาฏิเทสนียะ.
|
6 |
+
01,0021,005,๔. ภิกษุอยู่ในเสนาสนะป่าเป็นที่เปลี่ยว ไม่เป็นไข้ รับของเคี้ยว
|
7 |
+
01,0021,006,ของฉัน ที่ทายกไม่ได้แจ้งความให้ทราบก่อน ด้วยมือของตนมาบริโภค
|
8 |
+
01,0021,007,ต้องปาฏิเทสนียะ.
|
9 |
+
01,0021,008,เสขิยวัตร
|
10 |
+
01,0021,009,วัตรที่ภิกษุจะต้องศึกษาเรียกว่าเสขิยวัตร เสขิยวัตรนั้น จัดเป็น
|
11 |
+
01,0021,010,๔ หมวด หมวดที่ ๑ เรียกว่าสารูป หมวดที่ ๒ เรียกว่าโภชนะปฏิ-
|
12 |
+
01,0021,011,สังยุต หมวดที่ ๓ เรียกว่าธัมมเทสนาปฏิสังยุต หมวดที่ ๔ เรียก
|
13 |
+
01,0021,012,ปกิณณกะ.
|
14 |
+
01,0021,013,สารูปที่ ๑ มี ๒๖
|
15 |
+
01,0021,014,๑. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจัก นุ่ง ให้เรียบร้อย.
|
16 |
+
01,0021,015,๒. ห่ม
|
17 |
+
01,0021,016,๓. ฯ ล ฯ เราจักปิดกายด้วยดี ไป ในบ้าน.
|
18 |
+
01,0021,017,๔. นั่ง
|
19 |
+
01,0021,018,๕. ฯ ล ฯ เราจักระวังมือเท้าด้วยดี ไป ในบ้าน.
|
20 |
+
01,0021,019,๖. นั่ง ในบ้าน
|
01/010022.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0022,001,๗. ฯ ล ฯ เราจักมีตาทอดลง ไป ในบ้าน.
|
3 |
+
01,0022,002,๘. นั่ง
|
4 |
+
01,0022,003,๙. ฯ ล ฯ เราจักไม่เวิกผ้า ไป ในบ้าน.
|
5 |
+
01,0022,004,๑๐. นั่ง
|
6 |
+
01,0022,005,๑๑. ฯ ล ฯ เราจักไม่หัวเราะ ไป ในบ้าน.
|
7 |
+
01,0022,006,๑๒. นั่ง
|
8 |
+
01,0022,007,๑๓. ฯ ล ฯ เราจักไม่พูดเสียงดัง ไป ในบ้าน.
|
9 |
+
01,0022,008,๑๔. นั่ง
|
10 |
+
01,0022,009,๑๕. ฯ ล ฯ เราจักไม่โคลงกาย ไป ในบ้าน.
|
11 |
+
01,0022,010,๑๖. นั่ง
|
12 |
+
01,0022,011,๑๗. ฯ ล ฯ เราจักไม่ไกวแขน ไป ในบ้าน.
|
13 |
+
01,0022,012,๑๘. นั่ง
|
14 |
+
01,0022,013,๑๙. ฯ ล ฯ เราจักไม่สั่นศีรษะ ไป ในบ้าน.
|
15 |
+
01,0022,014,๒๐ นั่ง
|
16 |
+
01,0022,015,๒๑. ฯ ล ฯ เราจักไม่เอามือค้ำกาย ไป ในบ้าน.
|
17 |
+
01,0022,016,๒๒. นั่ง
|
18 |
+
01,0022,017,๒๓. ฯ ล ฯ เราจักไม่เอาผ้าคลุมศีรษะ ไป ในบ้าน.
|
19 |
+
01,0022,018,๒๔. นั่ง
|
20 |
+
01,0022,019,๒๕. ฯ ล ฯ เราจักไม่เดินกระโหย่งเท้าไปในบ้าน.
|
21 |
+
01,0022,020,๒๖. ฯ ล ฯ เราจักไม่นั่งรัดเข่าในบ้าน.
|
01/010023.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0023,001,โภชนปฏิสังยุตที่ ๓ มี ๓๐
|
3 |
+
01,0023,002,๑. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ.
|
4 |
+
01,0023,003,๒. ฯ ล ฯ เมื่อรับบิณฑบาต เราจักแลดูแต่ในบาตร.
|
5 |
+
01,0023,004,๓. ฯ ล ฯ เราจักรับแกงพอสมควรแก่ข้าวสุก.
|
6 |
+
01,0023,005,๔. ฯ ล ฯ เราจักรับบิณฑบาตแต่พอเสมอขอบปากบาตร.
|
7 |
+
01,0023,006,๕. ฯ ล ฯ เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ.
|
8 |
+
01,0023,007,๖. ฯ ล ฯ เมื่อฉันบิณฑบาต เราจักแลดูแต่ในบาตร.
|
9 |
+
01,0023,008,๗. ฯ ล ฯ เราจักไม่ขุดข้าวสุกให้แหว่ง.
|
10 |
+
01,0023,009,๘. ฯ ล ฯ เราจักฉันแกงพอสมควรแก่ข้าวสุก.
|
11 |
+
01,0023,010,๙. ฯ ล ฯ เราจักไม่ขยุ้มข้าวสุกแต่ยอกลงไป.
|
12 |
+
01,0023,011,๑๐. ฯ ล ฯ เราจักไม่กลบแกงหรือกับข้าวด้วยข้าวสุก เพราะ
|
13 |
+
01,0023,012,อยากจะได้มาก.
|
14 |
+
01,0023,013,๑๑. ฯ ล ฯ เราไม่เจ็บไข้ จักไม่ขอแกงหรือข้าวสุก เพื่อ
|
15 |
+
01,0023,014,ประโยชน์แก่ตนมาฉัน.
|
16 |
+
01,0023,015,๑๒. ฯ ล ฯ เราจักไม่ดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยกโทษ.
|
17 |
+
01,0023,016,๑๓. ฯ ล ฯ เราจักไม่ทำคำข้าวให้ใหญ่นัก.
|
18 |
+
01,0023,017,๒๔. ฯ ล ฯ เราจักทำคำข้าวให้กลมกล่อม.
|
19 |
+
01,0023,018,๑๕. ฯ ล ฯ เมื่อคำข้าวยังไม่ถึงปาก เราจักไม่อ้าปากไว้ท่า.
|
20 |
+
01,0023,019,๑๖. ฯ ล ฯ เมื่อฉันอยู่ เราจักไม่เอานิ้วมือสอดเข้าปาก.
|
21 |
+
01,0023,020,๑๗. ฯ ล ฯ เมื่อข้าวอยู่ในปาก เราจักไม่พูด.
|
22 |
+
01,0023,021,๑๘. ฯ ล ฯ เราจักไม่โยนคำข้าวเข้าปาก.
|
01/010024.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0024,001,๑๙. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันกัดคำข้าว.
|
3 |
+
01,0024,002,๒๐. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันทำกระพุ้งแก้วให้ตุ่ย.
|
4 |
+
01,0024,003,๒๑. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง.
|
5 |
+
01,0024,004,๒๒. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าวให้ตกลงในบาตรหรือในที่
|
6 |
+
01,0024,005,นั้น ๆ.
|
7 |
+
01,0024,006,๒๓. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันแลบลิ้น.
|
8 |
+
01,0024,007,๒๔. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันดังจับ ๆ.
|
9 |
+
01,0024,008,๒๕. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันดังซูด ๆ.
|
10 |
+
01,0024,009,๒๖. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันเลียมือ.
|
11 |
+
01,0024,010,๒๗. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันขอดบาตร.
|
12 |
+
01,0024,011,๒๘. ฯ ล ฯ เราจักไม่ฉันเลียริมฝีปาก.
|
13 |
+
01,0024,012,๒๙. ฯ ล ฯ เราจักไม่เอามือเปื้อนจับภาชนะน้ำ.
|
14 |
+
01,0024,013,๓๐. ฯ ล ฯ เราจักไม่เอาน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทลงในบ้าน.
|
15 |
+
01,0024,014,ธัมมเทสนาปฏิสังยุตที่ ๓ มี ๑๖
|
16 |
+
01,0024,015,๑. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็น
|
17 |
+
01,0024,016,ไข้ มีร่มในมือ.
|
18 |
+
01,0024,017,๒. ฯ ล ฯ มีไม้พลองในมือ.
|
19 |
+
01,0024,018,๓. ฯ ล ฯ มีศัสตราในมือ.
|
20 |
+
01,0024,019,๔. ฯ ล ฯ มีอาวุธในมือ.
|
21 |
+
01,0024,020,๕. ฯ ล ฯ สวมเขียงเท้า.
|
01/010025.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0025,001,๖. ฯ ล ฯ สวมรองเท้า.
|
3 |
+
01,0025,002,๗. ฯ ล ฯ ไปในยาน.
|
4 |
+
01,0025,003,๘. ฯ ล ฯ อยู่บนที่นอน.
|
5 |
+
01,0025,004,๙. ฯ ล ฯ นั่งรัดเข่า.
|
6 |
+
01,0025,005,๑๐. ฯ ล ฯ พันศีรษะ.
|
7 |
+
01,0025,006,๑๑. ฯ ล ฯ คลุมศีรษะ.
|
8 |
+
01,0025,007,๑๒. ฯ ล ฯ เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่
|
9 |
+
01,0025,008,เป็นไข้นั่งบนอาสนะ.
|
10 |
+
01,0025,009,๑๓. ฯ ล ฯ เรานั่งบนอาสนะต่ำ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่
|
11 |
+
01,0025,010,เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง.
|
12 |
+
01,0025,011,๑๔. ฯ ล ฯ เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่.
|
13 |
+
01,0025,012,๑๕. ฯ ล ฯ เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้.
|
14 |
+
01,0025,013,ผู้เดินไปข้างหน้า.
|
15 |
+
01,0025,014,๑๖. ฯ ล ฯ เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้
|
16 |
+
01,0025,015,ผู้ไปในทาง.
|
17 |
+
01,0025,016,ปกิณณกะที่ ๔ มี ๓
|
18 |
+
01,0025,017,๑. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราไม่เป็นไข้ จักไม่ยืนถ่ายอุจจาระ
|
19 |
+
01,0025,018,ถ่ายปัสสาวะ.
|
20 |
+
01,0025,019,๒. ฯ ล ฯ เราไม่เป็นไข้ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ
|
21 |
+
01,0025,020,บ้วนเขฬะ ลงในของเขียว.
|
01/010026.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0026,001,๓. ฯ ล ฯ เราไม่เป็นไข้ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ บ้วน
|
3 |
+
01,0026,002,เขฬะ ลงในน้ำ.
|
4 |
+
01,0026,003,อธิกรณ์มี ๔
|
5 |
+
01,0026,004,๑. ความเถียงกันว่า สิ่งนั้นเป็นธรรมเป็นวินัย สิ่งนี้ไม่ใช่ธรรม
|
6 |
+
01,0026,005,ไม่ใช่วินัย เรียกวิวาทาธิกรณ์.
|
7 |
+
01,0026,006,๒. ความโจทกันด้วยอาบัตินั้น ๆ เรียกอนุวาทาธิกรณ์.
|
8 |
+
01,0026,007,๓. อาบัติทั้งปวง เรียกอาปัตตาธิกรณ์.
|
9 |
+
01,0026,008,๔. กิจที่สงฆ์จะพึงทำ เรียกกิจจาธิกรณ์.
|
10 |
+
01,0026,009,อธิกรณสมถะมี ๗
|
11 |
+
01,0026,010,ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ทั้ง ๔ นั้น เรียกอธิกรณสมถะ มี
|
12 |
+
01,0026,011,๗ อย่าง คือ :-
|
13 |
+
01,0026,012,๑. ความระงับอธิกรณ์ทั้ง ๔ นั้น ในที่พร้อมหน้าสงฆ์ ในที่
|
14 |
+
01,0026,013,พร้อมหน้าบุคคล ในที่พร้อมหน้าวัตถุ ในที่พร้อมหน้าธรรม เรียก
|
15 |
+
01,0026,014,สัมมุขาวินัย.
|
16 |
+
01,0026,015,๒. ความที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมติแก่พระอรหันต์ว่า เป็นผู้มี
|
17 |
+
01,0026,016,สติเต็มที่ เพื่อจะไม่ให้ใครโจทด้วยอาบัติ เรียกสติวินัย.
|
18 |
+
01,0026,017,๓. ความที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมติแก่ภิกษุ ผู้หายเป็นบ้าแล้ว
|
19 |
+
01,0026,018,เพื่อจะไม่ให้ใครโจทด้วยอาบัติที่เธอทำในเวลาเป็นบ้า เรียกอมูฬหวินัย.
|
20 |
+
01,0026,019,๔. ความปรับอาบัติตามปฏิญญาของจำเลยผู้รับเป็นสัตย์ เรียก
|
21 |
+
01,0026,020,ปฏิญญาตกรณะ.
|
01/010027.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,9 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0027,001,๕. ความตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ เรียก
|
3 |
+
01,0027,002,เยภุยยสิกา.
|
4 |
+
01,0027,003,๖. ความลงโทษแก่ผู้ผิด เรียกตัสสปาปิยสิกา.
|
5 |
+
01,0027,004,๗. ความให้ประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม
|
6 |
+
01,0027,005,เรียกติณวัตถารกวินัย.
|
7 |
+
01,0027,006,สิกขาบทนอกนี้ ที่ยกขึ้นเป็นอาบัติถุลลัจจัยบ้าง ทุกกฏบ้าง
|
8 |
+
01,0027,007,ทุพภาสิตบ้าง เป็นสิกขาบทไม่ได้มาในพระปาติโมกข์.
|
9 |
+
01,0027,008,จบวินัยบัญญัติ.
|
01/010028.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0028,001,ธรรมวิภาค
|
3 |
+
01,0028,002,ทุกะ คือ หมวด ๒
|
4 |
+
01,0028,003,ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง
|
5 |
+
01,0028,004,๑. สติ ความระลึกได้.
|
6 |
+
01,0028,005,๒. สัมปชัญญะ ความรู้ตัว.
|
7 |
+
01,0028,006,องฺ. ทุก. ๒๐/๑๑๙. ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๙๐.
|
8 |
+
01,0028,007,ธรรมเป็นโลกบาล คือ คุ้มครองโลก ๒ อย่าง
|
9 |
+
01,0028,008,๑. หิริ ความละอายแก่ใจ.
|
10 |
+
01,0028,009,๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว.
|
11 |
+
01,0028,010,องฺ. ทุก. ๒๐/๖๕. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๕๗.
|
12 |
+
01,0028,011,ธรรมอันทำให้งาม ๒ อย่าง
|
13 |
+
01,0028,012,๑. ขันติ ความอดทน.
|
14 |
+
01,0028,013,๒. โสรัจจะ ความเสงี่ยม.
|
15 |
+
01,0028,014,องฺ. ทุก. ๒๐/๑๑๘. วิ. มหา. ๕/๓๓๕.
|
16 |
+
01,0028,015,บุคคลหาได้ยาก ๒ อย่าง
|
17 |
+
01,0028,016,๑. บุพพาการี บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน.
|
18 |
+
01,0028,017,๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทำแล้ว และ
|
19 |
+
01,0028,018,ตอบแทน.
|
20 |
+
01,0028,019,องฺ ทุก. ๒๐/๑๐๙.
|
01/010029.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0029,001,ติกะ คือ หมวด ๓
|
3 |
+
01,0029,002,รตนะ ๓ อย่าง
|
4 |
+
01,0029,003,พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑.
|
5 |
+
01,0029,004,๑. ท่านผู้สอนให้ประชุมชนประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ
|
6 |
+
01,0029,005,ตามพระธรรมวินัย ที่ท่านเรียกว่าพระพุทธศาสนา ชื่อพระพุทธเจ้า.
|
7 |
+
01,0029,006,๒. พระธรรมวินัยที่เป็นคำสั่งสอนของท่าน ชื่อพระธรรม.
|
8 |
+
01,0029,007,๓. หมู่ชนที่ฟังคำสั่งสอนของท่านแล้ว ปฏิบัติชอบตามพระ
|
9 |
+
01,0029,008,ธรรมวินัย ชื่อพระสงฆ์.
|
10 |
+
01,0029,009,ขุ. ขุ. ๒๕/๑.
|
11 |
+
01,0029,010,คุณของรตนะ ๓ อย่าง
|
12 |
+
01,0029,011,พระพุทธเจ้ารู้ดีรูชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้ตาม
|
13 |
+
01,0029,012,ด้วย.
|
14 |
+
01,0029,013,พระธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว.
|
15 |
+
01,0029,014,พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผู้อื่น
|
16 |
+
01,0029,015,ให้กระทำตามด้วย.
|
17 |
+
01,0029,016,อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน ๓ อย่าง
|
18 |
+
01,0029,017,๑. ทรงสั่งสอน เพื่อจะให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควร
|
19 |
+
01,0029,018,เห็น.
|
20 |
+
01,0029,019,๒. ทรงสั่งสอนมีเหตุที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้.
|
01/010030.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0030,001,๓. ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์
|
3 |
+
01,0030,002,โดยสมควรแก่ความปฏิบัติ.
|
4 |
+
01,0030,003,นัย. องฺ. ติก. ๒๐/๓๕๖.
|
5 |
+
01,0030,004,โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่าง
|
6 |
+
01,0030,005,๑. เว้นจากทุจริต คือประพฤติชั่วด้วย กาย วาจา ใจ.
|
7 |
+
01,0030,006,๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ.
|
8 |
+
01,0030,007,๓. ทำใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ
|
9 |
+
01,0030,008,หลง เป็นต้น.
|
10 |
+
01,0030,009,ที. มหา. ๑๐/๕๗.
|
11 |
+
01,0030,010,ทุจริต ๓ อย่าง
|
12 |
+
01,0030,011,๑. ประพฤติชั่วด้วยกาย เรียกกายทุจริต.
|
13 |
+
01,0030,012,๒. ประพฤติชั่วด้วยวาจา เรียกวจีทุจริต.
|
14 |
+
01,0030,013,๓. ประพฤติชั่วด้วยใจ เรียกมโนทุจริต.
|
15 |
+
01,0030,014,กายทุจริต ๓ อย่าง
|
16 |
+
01,0030,015,ฆ่าสัตว์ ๑ ลักฉ้อ ๑ ประพฤติผิดในกาม ๑.
|
17 |
+
01,0030,016,วจีทุจริต ๔ อย่าง
|
18 |
+
01,0030,017,พูดเท็จ ๑ พูดส่อเสียด ๑ พูดคำหยาบ ๑ พูดเพ้อเจ้อ ๑.
|
19 |
+
01,0030,018,มโนทุจริต ๓ อย่าง
|
20 |
+
01,0030,019,โลภอยากได้ของเขา ๑ พยาบาทปองร้ายเขา ๑ เห็นผิดจาก
|
21 |
+
01,0030,020,คลองธรรม ๑.
|
01/010031.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0031,001,ทุจริต ๓ อย่างนี้ เป็นกิจไม่ควรทำ ควรจะละเสีย.
|
3 |
+
01,0031,002,องฺ. ทสก. ๒๔/๓๐๓.
|
4 |
+
01,0031,003,สุจริต ๓ อย่าง
|
5 |
+
01,0031,004,๑. ประพฤติชอบด้วยกาย เรียกกายสุจริต.
|
6 |
+
01,0031,005,๒. ประพฤติชอบด้วยวาจา เรียกวจีสุจริต.
|
7 |
+
01,0031,006,๓. ประพฤติชอบด้วยใจ เรียกมโนสุจริต.
|
8 |
+
01,0031,007,กายสุจริต ๓ อย่าง
|
9 |
+
01,0031,008,เว้นจากฆ่าสัตว์ ๑ เว้นจากลักทรัพย์ ๑ เว้นจากประพฤติผิด
|
10 |
+
01,0031,009,ในกาม ๑.
|
11 |
+
01,0031,010,วจีสุจริต ๔ อย่าง
|
12 |
+
01,0031,011,เว้นจากพูดเท็จ ๑ เว้นจากพูดส่อเสียด ๑ เว้นจากพูดคำหยาบ ๑
|
13 |
+
01,0031,012,เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ๑.
|
14 |
+
01,0031,013,มโนสุจริต ๓ อย่าง
|
15 |
+
01,0031,014,ไม่โลภอยากได้ของเขา ๑ ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๑ เห็นชอบ
|
16 |
+
01,0031,015,ตามคลองธรรม ๑.
|
17 |
+
01,0031,016,สุจริต ๓ อย่างนี้ เป็นกิจควรทำ ควรประพฤติ.
|
18 |
+
01,0031,017,องฺ. ทสก. ๒๔/๓๐๓.
|
19 |
+
01,0031,018,อกุศลมูล ๓ อย่าง
|
20 |
+
01,0031,019,รากเง่าของอกุศล เรียกอกุศลมูล มี ๓ อย่าง คือ โลภะ
|
21 |
+
01,0031,020,อยากได้ ๑ โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๑ โมหะ หลงไม่รู้จริง ๑.
|
01/010032.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0032,001,เมื่ออกุศลมูลเหล่านี้ ๑ ก็ดี มีอยู่แล้ว อกุศลอื่นที่ยังไม่เกิด ก็
|
3 |
+
01,0032,002,๒
|
4 |
+
01,0032,003,๓
|
5 |
+
01,0032,004,เกิดขึ้น ที่เกิดแล้วก็เจริญมากขึ้น เหตุนั้นควรละเสีย.
|
6 |
+
01,0032,005,ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๙๑. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๖๔.
|
7 |
+
01,0032,006,กุศลมูล ๓ อย่าง
|
8 |
+
01,0032,007,รกเง่าของกุศล เรียกกุศลมูล มี ๓ อย่าง คือ อโลภะ
|
9 |
+
01,0032,008,ไม่อยากได้ ๑ อโทสะ ไม่คิดประทุษร้ายเขา ๑ อโมหะ ไม่หลง ๑
|
10 |
+
01,0032,009,ถ้ากุศลมูลเหล่านี้ ๑ ก็ดี มีอยู่แล้ว กุศลอื่นที่ยังไม่เกิด ก็
|
11 |
+
01,0032,010,๒
|
12 |
+
01,0032,011,๓
|
13 |
+
01,0032,012,เกิดขึ้น ที่เกิดแล้วก็เจริญมากขึ้น เหตุนั้นควรให้เกิดมีในสันดาน.
|
14 |
+
01,0032,013,ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๙๒.
|
15 |
+
01,0032,014,สัปปุริสบัญญัติ คือข้อที่ท่านสัตบุรุษตั้งไว้ ๓ อย่าง
|
16 |
+
01,0032,015,๑. ทาน สละสิ่งของของตนเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น.
|
17 |
+
01,0032,016,๒. ปัพพัชชา คือบวช เป็นอุบายเว้นจากเบียดเบียนกันและกัน.
|
18 |
+
01,0032,017,๓. มาตาปิตุอุปัฏฐาน ปฏิบัติมารดาบิดาของตนให้เป็นสุข.
|
19 |
+
01,0032,018,องฺ. ติก. ๒๐/๑๙๑.
|
20 |
+
01,0032,019,อปัณณกปฏิปทา คือปฏิบัติไม่ผิด ๓ อย่าง
|
21 |
+
01,0032,020,๑. อินทรียสังวร สำรวมอินทรีย์ ๖ คือ หา หู จมูก ลิ้น
|
22 |
+
01,0032,021,กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส
|
23 |
+
01,0032,022,ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ.
|
01/010033.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0033,001,๒. โภชเน มัตตัญญุตา รู้จักประมาณในการกินอาหารแต่พอ
|
3 |
+
01,0033,002,สมควร ไม่มากไม่น้อย.
|
4 |
+
01,0033,003,๓. ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียรเพื่อจะชำระใจให้หมดจด
|
5 |
+
01,0033,004,ไม่เห็นแก่นอนมากนัก.
|
6 |
+
01,0033,005,องฺ. ติก. ๒๐/๑๔๒.
|
7 |
+
01,0033,006,บุญกิริยาวัตถุ ๓ อย่าง
|
8 |
+
01,0033,007,<B>สิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ เรียกบุญกิริยาวัตถุ โดยย่อมี
|
9 |
+
01,0033,008,๓ อย่าง</B>
|
10 |
+
01,0033,009,๑. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน.
|
11 |
+
01,0033,010,๒. สีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล.
|
12 |
+
01,0033,011,๓. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา.
|
13 |
+
01,0033,012,ขุ. อิติ. ๒๕/๒๗๐. องฺ. อฏฺก. ๒๓/๑๔๕.
|
14 |
+
01,0033,013,สามัญญลักษณะ ๓ อย่าง
|
15 |
+
01,0033,014,<B>ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง เรียกสามัญญลักษณะ
|
16 |
+
01,0033,015,ไตรลักษณะก็เรียก แจกเป็น ๓ อย่าง</B>
|
17 |
+
01,0033,016,๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง.
|
18 |
+
01,0033,017,๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์.
|
19 |
+
01,0033,018,๓. อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตน.
|
20 |
+
01,0033,019,สํ. สฬ. ๑๘/๑.
|
01/010034.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,17 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0034,001,จตุกกะ คือ หมวด ๔
|
3 |
+
01,0034,002,วุฑฒิ คือธรรมเป็นเครื่องเจริญ ๔ อย่าง
|
4 |
+
01,0034,003,๑. สัปปุริสสังเสวะ คบท่านผู้ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ที่
|
5 |
+
01,0034,004,เรียกว่าสัตบุรุษ.
|
6 |
+
01,0034,005,๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่านโดยเคารพ.
|
7 |
+
01,0034,006,๓. โยนิโสมนสิการ ตริตรองให้รู้จักสิ่งที่ดีหรือชั่วโดยอุบายที่ชอบ.
|
8 |
+
01,0034,007,๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งได้
|
9 |
+
01,0034,008,ตรองเห็นแล้ว.
|
10 |
+
01,0034,009,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๓๓๒.
|
11 |
+
01,0034,010,จักร ๔
|
12 |
+
01,0034,011,๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร.
|
13 |
+
01,0034,012,๒. อัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ.
|
14 |
+
01,0034,013,๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ.
|
15 |
+
01,0034,014,๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทำความดีไว้ในปางก่อน.
|
16 |
+
01,0034,015,ธรรม ๔ อย่างนี้ ดุจล้อรถนำไปสู่ความเจริญ.
|
17 |
+
01,0034,016,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๔๐.
|
01/010035.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0035,001,อคติ ๔
|
3 |
+
01,0035,002,๑. ลำเอียงเพราะรักใคร่กัน เรียกฉันทาคติ.
|
4 |
+
01,0035,003,๒. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน เรียกโทสาคติ.
|
5 |
+
01,0035,004,๓. ลำเอียงเพราะเขลา เรียกโมหาคติ.
|
6 |
+
01,0035,005,๔. ลำเอียงเพราะกลัว เรียกภยาคติ.
|
7 |
+
01,0035,006,อคติ ๔ ประการนี้ ไม่ควรประพฤติ.
|
8 |
+
01,0035,007,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๒๓.
|
9 |
+
01,0035,008,อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง
|
10 |
+
01,0035,009,๑. อดทนต่อคำสอนไม่ได้ คือเบื่อต่อคำสั่งสอนขี้เกียจทำตาม.
|
11 |
+
01,0035,010,๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง ทนความอดอยากไม่ได้.
|
12 |
+
01,0035,011,๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป.
|
13 |
+
01,0035,012,๔. รักผู้หญิง
|
14 |
+
01,0035,013,ภิกษุสามเณรผู้หวังความเจริญแก่ตน ควรระวังอย่าให้อันตราย
|
15 |
+
01,0035,014,๔ อย่างนี้ย่ำยีได้.
|
16 |
+
01,0035,015,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๑๖๕.
|
17 |
+
01,0035,016,ปธาน คือความเพียร ๔ อย่าง
|
18 |
+
01,0035,017,๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน.
|
19 |
+
01,0035,018,๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว.
|
20 |
+
01,0035,019,๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน.
|
21 |
+
01,0035,020,๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม.
|
22 |
+
01,0035,021,ความเพียร ๔ อย่างนี้ เป็นความเพียรชอบ ควรประกอบให้มีในตน.
|
23 |
+
01,0035,022,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๒๐.
|
01/010036.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0036,001,อธิษฐานธรรม คือธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อย่าง
|
3 |
+
01,0036,002,๑. ปัญญา รอบรู้สิ่งที่ควรรู้.
|
4 |
+
01,0036,003,๒. สัจจะ ความจริงใจ คือประพฤติสิ่งใดก็ให้ได้จริง.
|
5 |
+
01,0036,004,๓. จาคะ สละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ.
|
6 |
+
01,0036,005,๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งเป็นข้าศึกแก่ความสงบ.
|
7 |
+
01,0036,006,ม. อุป. ๑๔/๔๓๗.
|
8 |
+
01,0036,007,อิทธิบาท คือคุณเครื่องให้สำเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง
|
9 |
+
01,0036,008,๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น.
|
10 |
+
01,0036,009,๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น.
|
11 |
+
01,0036,010,๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ.
|
12 |
+
01,0036,011,๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น.
|
13 |
+
01,0036,012,คุณ ๔ อย่างนี้ มีบริบูรณ์แล้ว อาจชักนำบุคคลให้ถึงสิ่งที่ต้อง
|
14 |
+
01,0036,013,ประสงค์ซึ่งไม่เหลือวิสัย.
|
15 |
+
01,0036,014,อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๒๙๒.
|
16 |
+
01,0036,015,ควรทำความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน
|
17 |
+
01,0036,016,๑. ในการละกายทุจริต ประพฤติกายสุจริต.
|
18 |
+
01,0036,017,๒. ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจีสุจริต.
|
19 |
+
01,0036,018,๓. ในการละมโนทุจริต ประพฤติมโนสุจริต.
|
20 |
+
01,0036,019,๔. ในการละความเห็นผิด ทำความเห็นให้ถูก.
|
01/010037.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0037,001,อีกอย่างหนึ่ง
|
3 |
+
01,0037,002,๑. ระวังใจไม่ให้กำหนัดในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
|
4 |
+
01,0037,003,๒. ระวังใจไม่ให้ขัดเคืองในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง.
|
5 |
+
01,0037,004,๓. ระวังใจไม่ให้หลงในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความหลง.
|
6 |
+
01,0037,005,๔. ระวังใจไม่ให้มัวเมาในอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งความมัวเมา.
|
7 |
+
01,0037,006,องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๑๖๑.
|
8 |
+
01,0037,007,ปาริสุทธิศีล ๔
|
9 |
+
01,0037,008,๑. ปาติโมกขสังวร สำรวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อที่
|
10 |
+
01,0037,009,พระพุทธเจ้าห้าม ทำตามข้อที่พระองค์อนุญาต.
|
11 |
+
01,0037,010,๒. อินทรียสังวร สำรวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
|
12 |
+
01,0037,011,ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้อง
|
13 |
+
01,0037,012,โผฏัฐพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ.
|
14 |
+
01,0037,013,๓. ปาชีวปาริสุทธิ เลี้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบ ไม่หลอกลวงเขา
|
15 |
+
01,0037,014,เลี้ยงชีวิต.
|
16 |
+
01,0037,015,๔. ปัจจยปัจจเวกขณะ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปัจจัย ๔ คือ
|
17 |
+
01,0037,016,จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา.
|
18 |
+
01,0037,017,วิ. สีล. ปม. ๑๙.
|
01/010038.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,16 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0038,001,อารักขกัมมัฏฐาน ๔
|
3 |
+
01,0038,002,๑. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าที่มีในพระองค์และ
|
4 |
+
01,0038,003,ทรงเกื้อกูลแก่ผู้อื่น.
|
5 |
+
01,0038,004,๒. เมตตา แผ่ไม่ตรีจิตคิดจะให้สัตว์ทั้งปวงเป็นสุขทั่วหน้า.
|
6 |
+
01,0038,005,๓. อสุภะ พิจารณาร่างกายตนและผู้อื่นให้เห็นเป็นไม่งาม.
|
7 |
+
01,0038,006,๔. มรณัสสติ นึกถึงความตายอันจะมีแก่ตน.
|
8 |
+
01,0038,007,กัมมัฏฐาน ๔ อย่างนี้ ควรเจริญเป็นนิตย์.
|
9 |
+
01,0038,008,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ.
|
10 |
+
01,0038,009,พรหมวิหาร ๔
|
11 |
+
01,0038,010,๑. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็นสุข.
|
12 |
+
01,0038,011,๒. กรุณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พ้นทุกข์.
|
13 |
+
01,0038,012,๓. มุทิตา ความพลอยยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดี.
|
14 |
+
01,0038,013,๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อผู้อื่นถึงความวิบัติ.
|
15 |
+
01,0038,014,๔ อย่างนี้ เป็นเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่.
|
16 |
+
01,0038,015,อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๓๖๙.
|
01/010039.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0039,001,สติปัฏฐาน ๔
|
3 |
+
01,0039,002,๑. กายานุปัสสนา ๒. เวทนานุปัสสนา ๓. จิตตานุปัสสนา
|
4 |
+
01,0039,003,๔. ธัมมานุปัสสนา.
|
5 |
+
01,0039,004,สติกำหนดพิจารณากายเป็นอารมณ์ว่า กายนี้สักว่ากาย ไม่ใช่สัตว์
|
6 |
+
01,0039,005,บุคคล ตัว ตน เรา เขา เรียกกายานุปัสสนา.
|
7 |
+
01,0039,006,สติกำหนดพิจารณาเวทนา คือ สุข ทุกข์ และไม่สุขไม่ทุกข์ เป็น
|
8 |
+
01,0039,007,อารมณ์ว่า เวทนานี้ก็สักว่าเวทนา ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา
|
9 |
+
01,0039,008,เรียกเวทนานุปัสสนา.
|
10 |
+
01,0039,009,สติกำหนดพิจารณาใจที่เศร้าหมอง หรือผ่องแล้ว เป็นอารมณ์ว่า
|
11 |
+
01,0039,010,ใจนี้ก็สักว่าใจ ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา เรียกจิตตานุปัสสนา.
|
12 |
+
01,0039,011,สติกำหนดพิจารณาธรรมที่เป็นกุศลหรืออกุศล ที่บังเกิดกับใจ
|
13 |
+
01,0039,012,เป็นอารมณ์ว่า ธรรมนี้ก็สักว่าธรรม ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา
|
14 |
+
01,0039,013,เรียกธัมมานุปัสสนา.
|
15 |
+
01,0039,014,ที. มหา. ๑๐/๓๒๕.
|
16 |
+
01,0039,015,ธาตุกัมมัฏฐาน ๔
|
17 |
+
01,0039,016,ธาตุ ๔ คือ ธาตุดิน เรียกปฐวีธาตุ ธาตุน้ำ เรียกอาโปธาตุ
|
18 |
+
01,0039,017,ธาตุไฟ เรียกเตโชธาตุ ธาตุลม เรียกว่าโยธาตุ.
|
19 |
+
01,0039,018,ธาตุอันใดมีลักษณะแข้นแข็ง ธาตุนั้นเป็นปฐวีธาตุ ปฐวีธาตุนั้น
|
20 |
+
01,0039,019,ที่เป็นภายใน คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก
|
21 |
+
01,0039,020,เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย
|
22 |
+
01,0039,021,อาหารใหม่ อาหารเก่า.
|
01/010040.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0040,001,ธาตุอันใดมีลักษณะเอิบอาบ ธาตุนั้นเป็นอาโปธาตุ อาโปธาตุนั้น
|
3 |
+
01,0040,002,ที่เป็นภายใน คือ ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา
|
4 |
+
01,0040,003,เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร.
|
5 |
+
01,0040,004,ธาตุอันใดมีลักษณะร้อน ธาตุนั้นเป็นเตโชธาตุ เตโชธาตุนั้น
|
6 |
+
01,0040,005,ที่เป็นภายใน คือ ไฟที่ยังกายให้อบอุ่น ไฟที่ยังกายให้ทรุดโทรม ไฟที่
|
7 |
+
01,0040,006,ยังกายให้กระวนกระวาย ไฟที่เผาอาหารให้ย่อย.
|
8 |
+
01,0040,007,ธาตุอันใดมีลักษณะพัดไปมา ธาตุนั้นเป็นวาโยธาตุ วาโยธาตุนั้น
|
9 |
+
01,0040,008,ที่เป็นภายใน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง
|
10 |
+
01,0040,009,ลมในไส้ ลมพัดไปตามตัว ลมหายใจ.
|
11 |
+
01,0040,010,ความกำหนดพิจารณากายนี้ ให้เห็นว่าเป็นแต่เพียงธาตุ ๔ คือ
|
12 |
+
01,0040,011,ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันอยู่ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เรียกว่า
|
13 |
+
01,0040,012,ธาตุกัมมัฏฐาน.
|
14 |
+
01,0040,013,ม. อุป. ๑๔/๔๓๗.
|
15 |
+
01,0040,014,อริยสัจ ๔
|
16 |
+
01,0040,015,๑. ทุกข์
|
17 |
+
01,0040,016,๒. สมุทัย คือ เหตุให้ทุกข์เกิด
|
18 |
+
01,0040,017,๓. นิโรธ คือความดับทุกข์
|
19 |
+
01,0040,018,๔. มรรค คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์.
|
01/010041.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0041,001,ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ได้ชื่อว่าทุกข์ เพราะเป็นของทาน
|
3 |
+
01,0041,002,ได้ยาก.
|
4 |
+
01,0041,003,ตัณหาคือความทะยานอยาก ได้ชื่อว่าสมุทัย เพราะเป็นเหตุให้
|
5 |
+
01,0041,004,ทุกข์เกิด.
|
6 |
+
01,0041,005,ตัณหานั้น มีประเภทเป็น ๓ คือตัณหาความอยากในอารมณ์
|
7 |
+
01,0041,006,ที่น่ารักใคร่ เรียกว่ากามตัณหาอย่าง ๑ ตัณหาความอยากเป็นโน่น
|
8 |
+
01,0041,007,เป็นนี่ เรียกว่าภวตัณหาอย่าง ๑ ตัณหาความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่
|
9 |
+
01,0041,008,เรียกว่าวิภวตัณหาอย่าง ๑.
|
10 |
+
01,0041,009,ความดับตัณหาได้สิ้นเชิง ทุกข์ดับไปหมด ได้ชื่อว่านิโรธ เพราะ
|
11 |
+
01,0041,010,เป็นความดับทุกข์.
|
12 |
+
01,0041,011,ปัญญาอันชอบว่าสิ่งนี้ทุกข์ สิ่งนี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความ
|
13 |
+
01,0041,012,ดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์ ได้ชื่อว่ามรรค เพราะเป็นข้อ
|
14 |
+
01,0041,013,ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์.
|
15 |
+
01,0041,014,มรรคนั้นมีองค์ ๘ ประการ คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ดำริ
|
16 |
+
01,0041,015,ชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ ทำการงานชอบ ๑ เลี้ยงชีวิตชอบ ๑ ทำความ
|
17 |
+
01,0041,016,เพียรชอบ ๑ ตั้งสติชอบ ๑ ตั้งใจชอบ ๑.
|
18 |
+
01,0041,017,อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๑๒๗.
|
01/010042.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0042,001,ปัญจกะ คือ หมวด ๕
|
3 |
+
01,0042,002,อนันตริยกรรม ๕
|
4 |
+
01,0042,003,๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา.
|
5 |
+
01,0042,004,๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา.
|
6 |
+
01,0042,005,๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์.
|
7 |
+
01,0042,006,๔. โลหิตุปบาท ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อ
|
8 |
+
01,0042,007,ขึ้นไป.
|
9 |
+
01,0042,008,๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน.
|
10 |
+
01,0042,009,กรรม ๕ อย่างนี้ เป็นบาปอันหนักที่สุด ห้ามสวรรค์ ห้าม
|
11 |
+
01,0042,010,นิพพาน ตั้งอยู่ในฐานปาราชิกของผู้ถือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ทำ
|
12 |
+
01,0042,011,เป็นเด็ดขาด.
|
13 |
+
01,0042,012,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๑๖๕.
|
14 |
+
01,0042,013,อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕
|
15 |
+
01,0042,014,๑. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่
|
16 |
+
01,0042,015,ล่วงพ้นความแก่ไปได้.
|
17 |
+
01,0042,016,๒. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ไม่
|
18 |
+
01,0042,017,ล่วงพ้นความเจ็บไปได้.
|
19 |
+
01,0042,018,๓. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่
|
20 |
+
01,0042,019,ล่วงพ้นความตายไปได้.
|
01/010043.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0043,001,๔. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรัก
|
3 |
+
01,0043,002,ของชอบใจทั้งสิ้น.
|
4 |
+
01,0043,003,๕. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตัว เราทำดี
|
5 |
+
01,0043,004,จักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว.
|
6 |
+
01,0043,005,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๘๑.
|
7 |
+
01,0043,006,เวสารัชชกรณธรรม คือ ธรรมทำความกล้าหาญ ๕ อย่าง
|
8 |
+
01,0043,007,๑. สัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ.
|
9 |
+
01,0043,008,๒. สีล รักษากายวาจาให้เรียบร้อย.
|
10 |
+
01,0043,009,๓. พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ศึกษามาก.
|
11 |
+
01,0043,010,๔. วิริยารัมภะ ปรารภความเพียร.
|
12 |
+
01,0043,011,๕. ปัญญา รอบรู้สิ่งที่ควรรู้.
|
13 |
+
01,0043,012,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๑๔๔.
|
14 |
+
01,0043,013,องค์แห่งภิกษุใหม่ ๕ อย่าง
|
15 |
+
01,0043,014,๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ทำตาม
|
16 |
+
01,0043,015,ข้อที่ทรงอนุญาต.
|
17 |
+
01,0043,016,๒. สำรวมอินทรีย์ คือ ระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้
|
18 |
+
01,0043,017,ความยินดียินร้ายครอบงำได้ ในเวลาที่เห็นรูปด้วยนัยน์ตาเป็นต้น.
|
19 |
+
01,0043,018,๓. ความเป็นคนไม่เอิกเกริกเฮฮา.
|
20 |
+
01,0043,019,๔. อยู่ในเสนาสนะอันสงัด.
|
21 |
+
01,0043,020,๕. มีความเห็นชอบ.
|
01/010044.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0044,001,ภิกษุใหม่ควรตั้งอยู่ในธรรม ๕ อย่างนี้.
|
3 |
+
01,0044,002,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๑๕๕.
|
4 |
+
01,0044,003,องค์แห่งธรรมกถึก คือ นักเทศก์ ๕ อย่าง
|
5 |
+
01,0044,004,๑. แสดงธรรมไปโดยลำดับ ไม่ตัดลัดให้ขาดความ.
|
6 |
+
01,0044,005,๒. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ.
|
7 |
+
01,0044,006,๓. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง.
|
8 |
+
01,0044,007,๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ.
|
9 |
+
01,0044,008,๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น คือว่า ไม่ยกตนเสียดสี
|
10 |
+
01,0044,009,ผู้อื่น.
|
11 |
+
01,0044,010,ภิกษุผู้เป็นธรรมกถึก พึงตั้งองค์ ๕ อย่างนี้ไว้ในตน.
|
12 |
+
01,0044,011,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๒๐๖.
|
13 |
+
01,0044,012,ธัมมัสสวนานิสงส์ คือ อานิสงส์แห่งการฟังธรรม ๕ อย่าง
|
14 |
+
01,0044,013,๑. ผู้ฟังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง.
|
15 |
+
01,0044,014,๒. สิ่งใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนั้นชัด.
|
16 |
+
01,0044,015,๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้.
|
17 |
+
01,0044,016,๔. ทำความเห็นให้ถูกต้องได้.
|
18 |
+
01,0044,017,๕. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส.
|
19 |
+
01,0044,018,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๒๗๖.
|
01/010045.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0045,001,พละ คือธรรมเป็นกำลัง ๕ อย่าง
|
3 |
+
01,0045,002,๑. สัทธา ความเชื่อ.
|
4 |
+
01,0045,003,๒. วิริยะ ความเพียร.
|
5 |
+
01,0045,004,๓. สติ ความระลึกได้.
|
6 |
+
01,0045,005,๔. สมาธิ ความตั้งใจมั่น.
|
7 |
+
01,0045,006,๕. ปัญญา ความรอบรู้.
|
8 |
+
01,0045,007,อินทรีย์ ๕ ก็เรียก เพราะเป็นใหญ่ในกิจของตน.
|
9 |
+
01,0045,008,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๑๑.
|
10 |
+
01,0045,009,นิวรณ์ ๕
|
11 |
+
01,0045,010,<B>ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี เรียกนิวรณ์ มี ๕ อย่าง</B>
|
12 |
+
01,0045,011,๑. พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น เรียกกามฉันท์.
|
13 |
+
01,0045,012,๒. ปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท.
|
14 |
+
01,0045,013,๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถิ่นมิทธะ.
|
15 |
+
01,0045,014,๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ.
|
16 |
+
01,0045,015,๕. ลังเลไม่ตกลงได้ เรียกวิจิกิจฉา.
|
17 |
+
01,0045,016,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๗๒.
|
18 |
+
01,0045,017,ขันธ์ ๕
|
19 |
+
01,0045,018,กายกับใจนี้ แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่าขันธ์ ๕ ๑. รูป
|
20 |
+
01,0045,019,๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. สังขาร ๕. วิญญาณ.
|
21 |
+
01,0045,020,ธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกายนี้ เรียกว่ารูป.
|
01/010046.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,13 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0046,001,ความรู้สึกอารมณ์ว่า เป็นสุข คือ สบายกายสบายใจ หรือเป็น
|
3 |
+
01,0046,002,ทุกข์ คือไม่สบายกายไม่สบายใจ หรือเฉย ๆ คือไม่ทุกข์ไม่สุข เรียกว่า
|
4 |
+
01,0046,003,เวทนา.
|
5 |
+
01,0046,004,ความจำได้หมายรู้ คือ จำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
|
6 |
+
01,0046,005,อารมณ์ที่เกิดกับใจได้ เรียกว่าสัญญา.
|
7 |
+
01,0046,006,เจตสิกธรรม คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ<SUP>๑</SUP> เป็นส่วนดี เรียกกุศล
|
8 |
+
01,0046,007,เป็นส่วนชั่ว เรียกอกุศล เป็นส่วนกลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่ว เรียกอัพยากฤต
|
9 |
+
01,0046,008,เรียกว่าสังขาร.
|
10 |
+
01,0046,009,ความรู้อารมณ์ในเวลาเมื่อรูปมากระทบตาเป็นต้น เรียกว่าวิญญาณ.
|
11 |
+
01,0046,010,ขันธ์ ๕ นี้ ย่นเรียกว่า นาม รูป. เวทนา สัญญา สังขาร
|
12 |
+
01,0046,011,วิญญาณ รวมเข้าเป็นนาม รูปคงเป็นรูป.
|
13 |
+
01,0046,012,อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๑.
|
01/010047.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0047,001,ฉักกะ คือ หมวด ๖
|
3 |
+
01,0047,002,คารวะ ๖ อย่าง
|
4 |
+
01,0047,003,ความเอื้อเฟื้อ ในพระพุทธเจ้า ๑ ในพระธรรม ๑ ในพระสงฆ์ ๑
|
5 |
+
01,0047,004,ในความศึกษา ๑ ในความไม่ประมาท ๑ ในปฏิสันถารคือต้อนรับ
|
6 |
+
01,0047,005,ปราศรัย ๑. ภิกษุควรทำคารวะ ๖ ประการนี้.
|
7 |
+
01,0047,006,องฺ. ฉกฺก. ๒๒/๓๖๙.
|
8 |
+
01,0047,007,สาราณิยธรรม ๖ อย่าง
|
9 |
+
01,0047,008,<B>ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เรียกสาราณิยธรรม มี
|
10 |
+
01,0047,009,๖ อย่าง คือ :-</B>
|
11 |
+
01,0047,010,๑. เข้าไปตั้งกายกรรมประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนภิกษุสามเณร
|
12 |
+
01,0047,011,ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยขวนขวายในกิจธุระของเพื่อนกันด้วยกาย
|
13 |
+
01,0047,012,มีพยาบาลภิกษุไข้เป็นต้น ด้วยจิตเมตตา.
|
14 |
+
01,0047,013,๒. เข้าไปตั้งวจีกรรมประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนภิกษุสามเณร
|
15 |
+
01,0047,014,ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยขวนขวายในกิจธุระของเพื่อนกันด้วย
|
16 |
+
01,0047,015,วาจา เช่นกล่าวสั่งสอนเป็นต้น ด้วยจิตเมตตา.
|
17 |
+
01,0047,016,๓. เข้าไปตั้งมโนกรรมประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนภิกษุสามเณร
|
18 |
+
01,0047,017,ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ คิดแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่เพื่อนกัน.
|
19 |
+
01,0047,018,๔. แบ่งปันลาภที่ตนได้มาแล้วโดยชอบธรรม ให้แก่เพื่อนภิกษุ
|
20 |
+
01,0047,019,สามเณร ไม่หวงไว้บริโภคจำเพาะผู้เดียว.
|
01/010048.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,16 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0048,001,๕. รักษาศีลบริสุทธิ์เสมอกันกับเพื่อนภิกษุสามเณรอื่น ๆ ไม่ทำ
|
3 |
+
01,0048,002,ตนให้เป็นที่รังเกียจของผู้อื่น.
|
4 |
+
01,0048,003,๖. มีความเห็นร่วมกันกับภิกษุสามเณรอื่น ๆ ไม่วิวาทกับใคร ๆ
|
5 |
+
01,0048,004,เพราะมีความเห็นผิดกัน.
|
6 |
+
01,0048,005,ธรรม ๖ อย่างนี้ ทำผู้ประพฤติให้เป็นที่รักที่เคารพของผู้อื่น เป็น
|
7 |
+
01,0048,006,ไปเพื่อความสงเคราะห์กันและกัน เป็นไปเพื่อความไม่วิวาทกันและกัน
|
8 |
+
01,0048,007,เป็นไปเพื่อความพร้อมเพรียงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.
|
9 |
+
01,0048,008,องฺ. ฉกฺก. ๒๒/๓๒๒.
|
10 |
+
01,0048,009,อายตนะภายใน ๖
|
11 |
+
01,0048,010,หา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ. อินทรีย์ ๖ ก็เรียก.
|
12 |
+
01,0048,011,ม. ม. ๑๒/๙๖. อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๘๕.
|
13 |
+
01,0048,012,อายตนะภายนอก ๖
|
14 |
+
01,0048,013,รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ คืออารมณ์ที่มาถูกต้องกาย
|
15 |
+
01,0048,014,ธรรม คืออารมณ์เกิดกับใจ. อารมณ์ ๖ ก็เรียก.
|
16 |
+
01,0048,015,ม. อุป. ๑๔/๔๐๑. อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๘๕.
|
01/010049.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0049,001,วิญญาณ ๖
|
3 |
+
01,0049,002,อาศัยรูปกระทบตา เกิดความรู้ขึ้น เรียกจักขุวิญญาณ
|
4 |
+
01,0049,003,อาศัยเสียงกระทบหู เกิดความรู้ขึ้น เรียกโสตวิญญาณ
|
5 |
+
01,0049,004,อาศัยกลิ่นกระทบจมูก เกิดความรู้ขึ้น เรียกฆานวิญญาณ
|
6 |
+
01,0049,005,อาศัยรสกระทบลิ้น เกิดความรู้ขึ้น เรียกชิวหาวิญญาณ
|
7 |
+
01,0049,006,อาศัยโผฏฐัพพะกระทบกาย เกิดความรู้ขึ้น เรียกกายวิญญาณ
|
8 |
+
01,0049,007,อาศัยธรรมเกิดกับใจ เกิดความรู้ขึ้น เรียกมโนวิญญาณ.
|
9 |
+
01,0049,008,ที. มหา. ๑๐/๓๔๔. อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๘๕.
|
10 |
+
01,0049,009,สัมผัส ๖
|
11 |
+
01,0049,010,อายตนะภายในมีตาเป็นต้น อายตนะภายนอกมีรูปเป็นต้น วิญญาณ
|
12 |
+
01,0049,011,มีจักขุวิญญาณเป็นต้น กระทบกัน เรียกสัมผัส มีชื่อตามอายตนะภายใน
|
13 |
+
01,0049,012,เป็น ๖ คือ :-
|
14 |
+
01,0049,013,จักขุ
|
15 |
+
01,0049,014,โสตุ
|
16 |
+
01,0049,015,ฆานะ สัมผัส.
|
17 |
+
01,0049,016,ชิวหา
|
18 |
+
01,0049,017,กาย
|
19 |
+
01,0049,018,มโน
|
20 |
+
01,0049,019,ที. มหา. ๑๐/๓๔๔. สํ. นิ. ๑๖/๔.
|
01/010050.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0050,001,เวทนา ๖
|
3 |
+
01,0050,002,สัมผัสนั้นเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา เป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์
|
4 |
+
01,0050,003,ไม่สุขบ้าง มีชื่อตามอายตนะภายในเป็น ๖ คือ :-
|
5 |
+
01,0050,004,จักขุ
|
6 |
+
01,0050,005,โสต
|
7 |
+
01,0050,006,ฆาน สัมผัสสชาเวทนา
|
8 |
+
01,0050,007,ชิวหา
|
9 |
+
01,0050,008,กาย
|
10 |
+
01,0050,009,มโน
|
11 |
+
01,0050,010,ที. มหา. ๑๐/๓๔๔. สํ. นิ. ๑๖/๔.
|
12 |
+
01,0050,011,ธาตุ ๖
|
13 |
+
01,0050,012,๑. ปฐวีธาตุ คือ ธาตุดิน.
|
14 |
+
01,0050,013,๒. อาโปธาตุ คือ ธาตุน้ำ.
|
15 |
+
01,0050,014,๓. เตโชธาตุ คือ ธาตุไฟ.
|
16 |
+
01,0050,015,๔. วาโยธาตุ คือ ธาตุลม.
|
17 |
+
01,0050,016,๕. อากาสธาตุ คือ ช่องว่างมีในกาย.
|
18 |
+
01,0050,017,๖. วิญญาณธาตุ คือ ความรู้อะไรได้.
|
19 |
+
01,0050,018,ม. อุป. ๑๔/๑๒๕. อภิ. วิภงฺค. ๓๕/๑๐๑.
|