Book,Page,LineNumber,Text 03,042,001,ทิพพจักขุญาณ แปลว่าความรู้ดุจดวงตาทิพย์. ที่ ๓ อาสวักขยญาณ 03,042,002,แปลว่าความรู้เป็นเหตุสิ้นอาสวะ คือเครื่องเศร้าหมองอันหมักหมม 03,042,003,"อยู่ในจิตสันดาร, ท่านแจกอรรถโดยอาการกำหนดรู้ขันธ์พร้อมทั้ง" 03,042,004,"อาการ โดยความเป็นเหตุและเป็นผลเนื่องต่อกันไป, จบลงด้วย" 03,042,005,รู้อริยสัจ คือความจริงอย่างสูง ๔ ประการ คือรู้ทุกข์ ๑ รู้ทุกขสมุทัย 03,042,006,เหตุเกิดแห่งทุกข์ ๑ รู้ทุกขนิโรธ ความดับแห่งทุกข์ ๑ รู้ทุกขนิโรธ- 03,042,007,คามินีปฏิปทา ทางดำเนินถึงความดับทุกข์ ๑. หรือกล่าวสั้นว่า 03,042,008,"รู้ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค, และรู้อาสวะ เหตุเกิดอาสวะ ความ" 03,042,009,ดับอาสวะ ทางดำเนินถึงความดับอาสวะ เมื่อพระองค์รู้เห็นอย่างนี้ 03,042,010,จิตก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน. 03,042,011,ญาณทั้ง ๓ นั้น พึงเห็นโดยนัยดังนี้ :- 03,042,012,ญาณที่ต้น ให้หยั่งรู้อัตภาพโดยเป็นแต่สภาวะอย่างหนึ่ง ๆ คุม 03,042,013,กันเข้า ได้ชื่อว่าขันธ์ เช่นธาตุ ๔ ปฐวี อาโป เตโช วาโย 03,042,014,"คุมกันเป็นเป็นขันธ์อันหนึ่ง เรียกรูป, ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย ๆ เป็น" 03,042,015,"ขันธ์อีกอันหนึ่ง เรียกเวทนา, ความจำนั่นจำนี่ได้ เป็นขันธ์อีกอัน" 03,042,016,"หนึ่ง เรียกสัญญา, ความนึกความคิด เป็นขันธ์อีกอันหนึ่ง เรียกสังขาร," 03,042,017,ความรู้ทางทวาร ๕ ภายนอกและจิตอันเป็นพนักงานผู้นึกผู้คิด เป็น 03,042,018,ขันธ์อีกอันหนึ่ง เรียกวิญญาณ; โดยบรรยายนี้เป็นปัญจขันธ์. แม้ 03,042,019,"ขันธ์หนึ่ง ๆ ก็เป็นมาแต่สภาวะย่อย ๆ คุมกันเข้าอีก, เหมือนรถ" 03,042,020,"หรือเรือน เป็นนของที่สัมภาระย่อยคุมกันเข้า, เป็นอย่างนี้ทั้งส่วนอัน"