Book,Page,LineNumber,Text 13,0042,001,กัณฑ์ที่ ๑๓ 13,0042,002,นิสัย 13,0042,003,ในครั้งแรกตรัสรู้ ที่เรียกว่า ปฐมโพธิกาล ภิกษุยังไม่มาก 13,0042,004,มาย ก็ยังปกครองง่าย เมื่อมีภิกษุมากขึ้น การปกครองก็ยากขึ้น 13,0042,005,ตามกัน พระศาสดาจึงได้ทรงบัญญัติสิขาบทวางเป็นพุทธอาณา 13,0042,006,และทรงตั้งขนบธรรมเนียมเป็นอภิสมาจาร มีมากขึ้นโดยลำดับเวลา 13,0042,007,คราวนี้ผู้มาใหม่ ไม่สามารถจะรู้ทั่วถึงและประพฤติให้ถูกระเบียบ 13,0042,008,ด้วยลำพังใช้ความสังเกตทำตามกัน จำจะศึกษาจึงจะรู้ได้ พระศาสดา 13,0042,009,จึงทรงพระอนุญาตให้มีอุปัชฌายะเป็นผู้สั่งสอน ภิกษุมีพรรษาหย่อน 13,0042,010,๕ จัดเป็นนวกะผู้ใหม่ ต้องถือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเป็นอุปัชฌายะ และ 13,0042,011,อาศัยภิกษุรูปนั้นอยู่ รับโอวาทอนุศาสนของภิกษุนั้น. ในครั้งแรก 13,0042,012,ที่ทรงอนุญาตอุปัชฌายะ ภิกษุผู้อุปสมบทอยู่แล้ว แต่หย่อน ๕ 13,0042,013,"พรรษา ก็จำถืออุปัชฌายะ, ในบาลีท่านจึงวางแบบไว้ว่า ให้ทำ" 13,0042,014,ผ้าห่มเฉวียงบ่ากราบเท้าแล้ว [ กล่าวตามอาการนั่งตั่งห้อยเท้า ]. นั่ง 13,0042,015,"กระหย่ง ประณมมือกล่าวว่า "" อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ """ 13,0042,016,"ซึ่งแปลว่า "" ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า "" ๓ หน เมื่อ" 13,0042,017,"ภิกษุผู้ที่นวกะนั้นขออาศัย รับว่า "" สาหุ "" ซึ่งแปลว่า "" ดีละ """ 13,0042,018,""" ลหุ "" "" เบาใจดอก "" "" โอปายิกํ "" "" ชอบแก่อุบาย "" "" ปฏิรูปํ """ 13,0042,019,""" สมควรอยู่ "" หรือว่า "" ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ "" ให้ถึงพร้อม"