Book,Page,LineNumber,Text 23,0009,001,๑๓. อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ. [ ๓๖ ] 23,0009,002,ท่านทั้งหลายจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม. 23,0009,003,กระทู้นี้กล่าวแต่เหตุ ถ้ายังความน้อยควรพรรณนาถึงผลด้วย. อธิบาย 23,0009,004,ความไม่ประมาทก่อน คือ ได้แก่ความไม่เลินเล่อ มีสติคุมอยู่ทุกเมื่อ 23,0009,005,ควรชักเอาความไม่ประมาทในที่ ๔ สถานมากล่าว ความไม่ประมาท 23,0009,006,เป็นธรรมอย่างเอก รวมคุณธรรมอื่นเข้าทั้งหมด เปรียบเหมือนรอย 23,0009,007,เท้าช้างเป็นรอยใหญ่ รอยเท้าสัตว์อื่น ๆ อาจรวมลงในรอยเท้าช้างทั้ง 23,0009,008,หมด. เพราะเล็กกว่ากัน. คำว่าท่านทั้งหลายหมายเอาพุทธศาสนิกชน 23,0009,009,ทั้งหมด. 23,0009,010,ยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมแล้ว ย่อมได้รับผลดีงามทั้งทาง 23,0009,011,โลก (ตามแต่จะว่า) และทางธรรม (ตามแต่จะว่า). 23,0009,012,ความไม่ประมาทมีคุณานิสงส์ดังนี้ สมเด็จพระศาสดาจึงตรัสว่า 23,0009,013,อปฺปมาทญฺจ เมธาวี ธนํ เสฏฺ€ํว รกฺขติ (แปล) ดังนี้. 23,0009,014,ถ้าน้อยไปก็ชักมา. 23,0009,015,๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม 23,0009,016,๑๔. สานิ กมฺมานิ นยนฺติ ทุคฺคตึ. [ ๔๐ ] 23,0009,017,กรรมของตนเอง ย่อมนำไปสู่ทุคติ. 23,0009,018,คำว่า กรรม เป็นชื่อกลาง ๆ. กรรมที่ดีก็มี ที่ชั่วก็มี ที่เป็น 23,0009,019,บุญก็มี ที่เป็นบาปก็มี ที่เป็นกุศลก็มี ที่เป็นอกุศลก็มี (ยังมีเรียกอีก)