Book,Page,LineNumber,Text 27,0017,001,กัมมิกะ. 27,0017,002,ทั้ง ๔ ประเภทนี้ พึงเข้าใจว่าได้รับยกเว้นทุกสิกขาบท เว้นแต่ 27,0017,003,ภิกษุอาทิกัมมิกะมีในสิกขาบทใด ไม่เป็นอาบัติเฉพาะในสิกขาบทนั้น. 27,0017,004,สิกขาบทที่ ๒ 27,0017,005,ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของไม่ให้ได้ราคา ๕ มาสก ต้องปาราชิก. 27,0017,006,ข้อความที่ควรกำหนด ดังนี้ :- 27,0017,007,ทรัพย์ ๒ ประเภท 27,0017,008,๑. สังหาริมทรัพย์ ทรัพย์เคลื่อนที่ได้. 27,0017,009,๒. อสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้. 27,0017,010,อวหาร ๑๓ 27,0017,011,การถือเอาทรัพย์เป็นสังหาริมะ กำหนดว่าถึงที่สุดด้วยทำให้ 27,0017,012,เคลื่อนจากฐาน มีนัยดังนี้ :- 27,0017,013,๑. ลัก ได้แก่อาการถือเอาทรัพย์ที่เคลื่อนจากฐานได้ ด้วย 27,0017,014,ไถยจิตอันเป็นอาการแห่งขโมย. 27,0017,015,๒. ชิงหรือวิ่งราว ได้แก่อาการที่ชิงเอาทรัพย์ที่เขาถืออยู่ ด้วย 27,0017,016,อาการอย่างใดอย่างหนึ่ง. 27,0017,017,๒. ชิงหรือวิ่งราว ได้แก่อาการที่ชิงเอาทรัพย์ที่เขาถืออยู่ ด้วย 27,0017,018,อาการอย่างใดอย่างหนึ่ง. 27,0017,019,๓. ลักต้อน ได้แก่อาการที่ขับต้อนหรือจูงปศุสัตว์หรือสัตว์ 27,0017,020,พาหนะไป. 27,0017,021,๔. แย่ง ได้แก่อาการที่เข้าแย่งเอาของซึ่งคนถือทำตก. 27,0017,022,๕. ลักสับ ได้แก่อาการสับสลากชื่อตนกับชื่อผู้อื่นในกองของ