Book,Page,LineNumber,Text 29,0033,001,"อารมณ์มีลักษณะเป็น ๓ คือพอใจ, ไม่พอใจ, เฉย ๆ " 29,0033,002,ผู้จะทำกัมมัฏฐาน ต้องรู้จักนวรณ์ ๕ 29,0033,003,๑. พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบ เรียกกามฉันท์ 29,0033,004,๒. คิดปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท 29,0033,005,๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ 29,0033,006,๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ 29,0033,007,๕. ลังเลไม่ตกลงได้ เรียกวิจิกิจฉา 29,0033,008,นิวรณ์ ๕ 29,0033,009,เกิด แก้ 29,0033,010,สุภนิมิต เห็นว่างาม กมฉันท์ อสุภนิมิต เห็นว่าไม่งาม 29,0033,011,ปฏิฆะ คับแค้นใจ พยาบาท เมตตา ความปรารถนาดี 29,0033,012,"อนรติ ไม่ยินดี ถีนมิทธะ อารัมภะ (ความริเริม," 29,0033,013,ปรารภความเพียร) 29,0033,014,อวปสมะ ใจไม่สงบ อุทธัจจกุกกุจจะ วูปสมะ ความสงบ 29,0033,015,อโยนิโสมนสิการ วิจิกิจฉา โยนิโสมนสิการ (ทำใจให้ 29,0033,016,แน่วแน่) 29,0033,017,วิธีละกามฉันท์ 29,0033,018,๑. เรียนนิมิตในอสุภกัมมัฏฐาน พิจารณาดูซากศพ 29,0033,019,๒. สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 29,0033,020,๓. รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร 29,0033,021,๔. หมั่นเจริญอสุภกัมมัฏฐาน 29,0033,022,๕. เลือกคบมิตร คบแต่มิตรทีดี