Book,Page,LineNumber,Text 31,0017,001,ล่วงหน้าก็เพราะพระองค์ทรงเห็นว่า ยังไม่สมควรทำเช่นนั้น ถ้าทำลง 31,0017,002,ไปก่อน ผู้อื่นจะเห็นว่าเป็นข้อหยุมหยิมเกินไปบ้าง จักเป็นเหตุหวาด 31,0017,003,เสียวของผู้แรกเข้ามาบรรพชาอุปสมบทบ้าง ทั้งยังไม่มีตัวอย่างที่จะยก 31,0017,004,ขึ้นอ้างได้ว่าใครเป็นผู้ทำผิด เมื่อไม่มีตัวอย่างที่จะยกให้ดูแล้ว ผลของ 31,0017,005,การบัญญัติก็จะไม่ศักดิ์สิทธิ์ พึงเห็นตัวอย่างดังกฎหมายบ้านเมืองก็ต้อง 31,0017,006,อาศัยผู้ทำก่อนแล้วจึงตราพระราชบัญญัติ ไม่ได้บัญญัติไว้ล่วงหน้า 31,0017,007,เหมือนกัน. 31,0017,008,ส. ป. 31,0017,009,ถ. พระบัญญัติที่ทรงบัญญัติตามเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ท่านเรียกว่า 31,0017,010,อย่างไร ? 31,0017,011,ต. ท่านเรียกว่านิทานบ้าง ปกรณ์บ้าง. 31,0017,012,ส. ป. 31,0017,013,ถ. มูลบัญญัติกับอนุบัญญัติทั้ง ๒ นี้ เมื่อรวมกันเข้าแล้วจะเรียก 31,0017,014,ว่ากระไร ? 31,0017,015,ต. เมื่อรวมกันเข้าแล้ว เรียกว่าสิกขาบท. 31,0017,016,ส. ป. 31,0017,017,ถ. ในสิกขาบทหนึ่ง มีเฉพาะมูลบัญญัติหรืออนุบัญญัติ หรือ 31,0017,018,มีทั้ง ๒ อย่าง. ข้อนี้เป็นเพราะเหตุไร ? 31,0017,019,ต. บางสิกขาบทมีเฉพาะมูลบัญญัติ บางสิกขามีทั้งมูลบัญญัติ 31,0017,020,และอนุบัญญัติ บางสิกขาบทมีหลายอนุบัญญัติ ข้อนี้เป็นเพราะเหตุที่ 31,0017,021,ทรงบัญญัติไว้นั้นยังไม่เหมาะ ถ้ายังหละหลวมก็ทรงบัญญัติเพิ่มให้ตึง