Book,Page,LineNumber,Text 31,0046,001,ต. ถ้าพระพุทธรูปนั้นมีอารักขาอยู่ และทั้งภิกษุ ก. เชิญเอา 31,0046,002,ไปด้วยเถยยจิตเช่นนี้ เธอต้องอาบัติตามราคาพระพุทธรูป ถ้าภิกษุ ก. 31,0046,003,ไม่มีเถยยจิต คิดว่าเป็นของกลางสำหรับพระพุทธศาสนา ใครเอาไป 31,0046,004,บูชาได้ก็เอาไป เช่นนี้เป็นภัณฑไทย ถ้าโบสถ์นั้นเป็นโบสถ์ร้างปรัก 31,0046,005,หักพัง ไม่มีใครหวงห้ามปกครอง ภิกษุ ก. ไม่ต้องอาบัติ ต่อเมื่อไร 31,0046,006,ทราบว่า ที่นั้นมีผู้ปฏิสังขรณ์กลับคืนดีขึ้น ควรให้วัตถุอื่นทดแทนหรือ 31,0046,007,คืนไว้ที่ยังเดิม อรรถหลังนี้เป็นสามีจิปฏิบัติ ส่วนภิกษุ ข. ไม่ต้อง 31,0046,008,อาบัติอะไร แต่เป็นการเสียมรรยาท ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของ 31,0046,009,ภิกษุ ก. แล้ว ได้เชิญกลับมาที่เดิมก็สมควร. 31,0046,010,๒๔๖๖ 31,0046,011,ถ. หลักฐานที่จะให้เป็นอทินนาทานถึงอันติมวัตถุมีกี่อย่าง ? คือ 31,0046,012,อะไรบ้าง ? 31,0046,013,ต. มี ๖ อย่าง คือ ๑. ของนั้นได้ราคาตั้งแต่ ๕ มาสก คือ 31,0046,014,เท่ากับ ๑ บาทขึ้นไป ๒. เป็นของมีเจ้าของ คือมีผู้ถือกรรมสิทธิ์ 31,0046,015,จะเป็นของเอกชนหรือของกลาง เช่นเป็นของสงฆ์ก็ตาม นัยว่าของ 31,0046,016,นั้นมีเจ้าของหวงห้าม ๓. รู้อยู่ว่าของนั้นมีเจ้าของหวงแหน ๔. มี 31,0046,017,เถยยจิต คือตั้งจิตเป็นโจร ๕. พากเพียรพยายามด้วยตนเอง หรือใช้ 31,0046,018,ผู้อื่น ๖. การกระทำนั้นสำเร็จเป็นโจรกรรม. 31,0046,019,๒๔๖๖ 31,0046,020,ถ. ภิกษุตกลงกับโจรไปลักของเขา แต่ภิกษุไม่ได้เข้าไปลัก 31,0046,021,เป็นผู้คอยดูต้นทาง โจรลักของเขามาได้ราคาเกิน ๕ มาสก แล้ว