Book,Page,LineNumber,Text 31,0033,001,อย่างนี้ คือ ศีล สำหรับกำจัดกิเลสอย่างหยาบ อันให้ล่วงทางกาย ทาง 31,0033,002,"วาจา เรียกว่าวิติกกมะ, สมาธิ สำหรับกำจัดกิเลสอย่างกลาง ที่ให้" 31,0033,003,"กลัดกลุ้มรุมใจ เรียกว่าปริยุฏฐาน, ปัญญา สำหรับกำจัดกิเลสอย่าง" 31,0033,004,ละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน เรียกว่าอนุสัย. 31,0033,005,๒๔๕๗ 31,0033,006,ถ. จงแสดงกิจแห่งสิกขา ๓ อย่าง ? 31,0033,007,"ต. ศีลมีอันป้องกันวิติกกมโทษเป็นกิจ, สมาธิ มีอันปราบปราม" 31,0033,008,"ปริยุฏฐานกิเลสเป็นกิจ, ปัญญา มีอันกำจัดอนุสัยกิเลสเป็นกิจ." 31,0033,009,๒๔๕๗ 31,0033,010,ถ. จงแสดงสิกขาของภิกษุ อธิบายพอได้ความ เพื่อเป็นทาง 31,0033,011,ปฏิบัติ ? 31,0033,012,ต. สิกขาของภิกษุนั้นท่านจัดเป็น ๓ อย่าง คือ ศีล ๑ สมาธิ ๑ 31,0033,013,ปัญญา ๑ ความสังวรตามพระวินัย ยังอาการกายวาจาให้เรียบร้อยไม่ 31,0033,014,ล่วงพระพุทธบัญญัติ และบำเพ็ญวัตรจริยาที่ยังควรจะทำได้ ยังตนให้ 31,0033,015,เป็นคนสุภาพ นี้จัดเป็นศีล การรู้วิธีทำใจให้ปลอดจากนิวรณ์ต่าง ๆ 31,0033,016,เรียกว่าสมาธิ ทำจิตให้อาจให้ควรแก่การงานในคราวที่ต้องการ เรียกว่า 31,0033,017,ปัญญา แปลตามศัพท์ว่า ธรรมชาติรู้เห็นชัด หรือธรรมชาติเป็นเหตุ 31,0033,018,ให้เห็นชัด แต่ในพระพุทธศาสนามุ่งความบริสุทธิ์เป็นผล และความ 31,0033,019,บริสุทธิ์นั้นจะมีได้ก็เพราะปัญญากำหนดรู้สังขารภายใน กล่าวคือ กาย 31,0033,020,กับใจนี้ การมีปรีชาหยั่งรู้ธรรมดานิยมและเข้าใจสภาวะทั้งหลาย ตาม 31,0033,021,เป็นไปอย่างไร เรียกว่าความรอบรู้ในกองสังขาร. 31,0033,022,๒๔๕๘