Book,Page,LineNumber,Text 31,0042,001,ต. ภิกษุที่เสพเมถุนในทวารทั้ง ๓ ทวารใดทวารหนึ่งของมนุษย์ 31,0042,002,หรือสัตว์หรือพันทางหรืออมนุษย์ โดยที่สุดของซากศพที่ยังมีทวารอัน 31,0042,003,ให้สำเร็จกิจได้ ต้องปาราชิก ทวารของมนุษย์ สัตว์ พันทางที่ตายแล้ว 31,0042,004,แหว่งเว้าไปมาก ไม่อาจให้สำเร็จกิจเต็มที่ ต้องถุลลัจจัย เสพที่ 31,0042,005,อวัยวะอื่นนอกจากทวารทั้ง ๓ หรือที่วัตถุไม่มีวิญญาณเช่นตุ๊กตาเป็นต้น 31,0042,006,ต้องอาบัติทุกกฏ. 31,0042,007,ส. ป. 31,0042,008,ถ. ๕ มาสกซึ่งเป็นวัตถุของอทินนาทานปาราชิก เทียบมาตรา 31,0042,009,ทองคำเป็นเท่าไร ? 31,0042,010,ต. เทียบมาตราทองคำ เท่ากับทองหนัก ๒๐ เมล็ดข้าวเปลือก. 31,0042,011,๒๔๕๖ 31,0042,012,ถ. ในอทินนาทานสิกขาบท อวหารต่าง ๆ ตามที่ท่านแก้ไว้ 31,0042,013,พอเข้าใจแล้ว แต่อยากทราบว่า ภิกษุแอบเข้าไปทำลายสมบัติของผู้ 31,0042,014,อื่นเสียหายจนใช้ประโยชน์ไม่ได้ และเมื่อเจ้าของถามก็ปฏิเสธเสีย จะ 31,0042,015,ควรวินิจฉัยโทษอย่างไร ? 31,0042,016,ต. กิริยาที่แอบเข้าไปนั้นส่อเจตนาร้าย และซ้ำปฏิเสธเมื่อ 31,0042,017,เจ้าของถาม เป็นอันว่าเธอไม่คิดจะใช้ความเสียหายนั้น ตั้งปรับโทษ 31,0042,018,ตามราคาของ ตั้งแต่ ๕ มาสกขึ้นไปปรับด้วยปาราชิกาบัติ ต่ำกว่า ๕ 31,0042,019,มาสกลงมา แต่เกินกว่ามาสก ๑ ขึ้นไป ปรับถุลลัจจยาบัติ ต่ำกว่านั้น 31,0042,020,ลงไป ปรับทุกกฏาบัติ. 31,0042,021,๒๒/๘/๗๐