Book,Page,LineNumber,Text 32,0047,001,แห่งอาการอื่นที่เสด็จออกบรรพชา ดังมีแจ้งในตำราพุทธประวัติ. 32,0047,002,๒๔๕๗ 32,0047,003,ถ. ธรรมดาสภาวะทั้งปวง ย่อมมีของที่เป็นข้าศึกแก้กัน เช่น 32,0047,004,มีร้อนแล้วมีเย็นแก้ มีมืดแล้วมีสว่างแก้ บางทีจะมีอุบายแก้ทุกข์ ๓ 32,0047,005,อย่างนี้ได้บ้างกระมัง นี้หมายความอย่างไรจึงจะเทียบเข้าข้างต้นได้ ? 32,0047,006,ต. หมายความว่า เมื่อมีสิ่งที่แก่ ที่เจ็บ ที่ตายแล้ว ก็น่าจะมี 32,0047,007,สิ่งมีไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย แก้กันอย่างนี้ จึงเทียบความข้างต้นได้. 32,0047,008,๑๗/๑๑/๕๗ 32,0047,009,ถ. พระมหาบุรุษทรงดำริว่า สภาวธรรมทั้งปวงล้วนเป็นของ 32,0047,010,มีข้าศึกแก้กัน เช่นร้อนก็มีเย็นแก้ มืดก็มีสว่างแก้ โดยนัยนี้ พระองค์ 32,0047,011,จึงทรงเห็นทุกข์ ๓ อย่างนั้นมีอะไรเป็นเครื่องแก้ ? ทรงดำริดังนั้นให้ 32,0047,012,สำเร็จประโยชน์อย่างไร ? 32,0047,013,ต. ทรงเห็นว่า เมื่อมีการ แก่ เจ็บ ตายแล้ว ก็น่าจะมีการ 32,0047,014,ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่เจ็บ เป็นเครื่องแก้กัน. ให้สำเร็จประโยชน์ คือ 32,0047,015,ทำให้พระองค์กำจัดความเมาในวัย ในความไม่มีโรคและในชีวิตเสีย 32,0047,016,ไม่หลงยินดีเพลิดเพลินอยู่ในกามสุข พิจารณาเห็นฆราวาสเป็นที่ตั้ง 32,0047,017,แห่งอารมณ์อันทำใจให้เศร้าหมอง เหตุความรัก ความชัง ความหลง 32,0047,018,ไม่มีช่องทางที่จะขวนขวายหาอุบายแก่ทุกข์ ๓ อย่างนั้นได้ ต่อนั้นก็มี 32,0047,019,อัธยาศัยน้อมไปในบรรพชาไม่ไยดีในฆราวาสสมบัติ. 32,0047,020,๑๒/๑๐/๗๘ 32,0047,021,ถ. พระดำริเช่นนั้น เป็นความคิดของผู้คงแก่เรียน คนอ่อน