Book,Page,LineNumber,Text 42,0033,001,ถือเอาไตรจีวรไปครบสำรับ ๑. ฉันคณโภชน์และปรับปรโภชน์ได้ ๑. 42,0033,002,เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา ๑. จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้น เป็น 42,0033,003,ของได้แก่พวกเธอ ๑. อานิสงส์ที่ ๑ ได้รับยกเว้นสิกขาบทที่ ๖ แห่ง 42,0033,004,อเจลกวรรค. อานิสงส์ที่ ๓ ได้รับยกเว้นสิกขาบทที่ ๒-๓ แห่ง 42,0033,005,โภชนวรรค ในปาจิตตียกัณฑ์. 42,0033,006,๓๐/๘/๒๗๑ 42,0033,007,ถ. ด้วยอาการอย่างไรบ้าง นิสสัคคิยปาจิตตีย์บางสิกขาบทจึง 42,0033,008,เรียกสั้นว่า ติกปาจิตตีย์ ? 42,0033,009,ต. ด้วยอาการเหล่านี้คือ เขาไม่ใช่ญาติ รู้อยู่ก็ตาม แคลง 42,0033,010,อยู่ก็ตาม สำคัญว่าเป็นญาติก็ตาม ขอในมิใช่สมัย เป็นนิสสัคคิย- 42,0033,011,ปาจิตตีย์ทั้งนั้น จึงเรียกสั้นว่า ติกปาจิตตีย์. 42,0033,012,๒๔๖๕ 42,0033,013,ถ. สรูปของที่เป็นนิสสัคคิย์โดยวัตถุเช่นไร โดยอาการของภิกษุ 42,0033,014,เช่นไร โดยล่วงเวลาเช่นไร ? 42,0033,015,ต. สรูปของที่เป็นนิสสัคคิย์โดยวัตถุ เช่น ทอง เงิน สันถัต 42,0033,016,ที่หล่อเจือด้วยไหม. โดยอาการของภิกษุ เช่นจีวรรับจากมือภิกษุณี 42,0033,017,ผู้มิใช่ญาติ ลาภสงฆ์ที่น้อมมาเพื่อตน สันถัตที่หล่อใหม่ ไม่เอาสันถัต 42,0033,018,เก่าปน และผ้าอาบน้ำฝนที่หาได้หรือทำนุ่งล้ำวันกำหนด. โดยล่วง 42,0033,019,เวลา เช่น อติเรกจีวรล่วง ๑๐ วัน เภสัชล่วง ๗ วัน. 42,0033,020,๑๐/๑๑/๒๔๖๑ 42,0033,021,ถ. ทรงอนุญาตแก่พระภิกษุเช่นไร ให้จับเงินและทองได้ ไม่