Book,Page,LineNumber,Text 43,0049,001,อธิบายว่า ถ้าเป็นเดินทางไปเข้าพักอาศัยที่บ้าน เกิดโรคขึ้นแล้ว 43,0049,002,ปรินิพพาน มีทางอยู่. มีเรื่องเล่าถึงภิกษุเดิมทางเข้าอาศัยบ้านก็มี โดย 43,0049,003,ที่สุดพระศาสดาเองเสด็จพักโรงช่างหม้อก็มี ถ้าท่านรู้ตัวและตั้งใจจะไป 43,0049,004,ปรินิพพานที่นั่น เพื่อโปรดมารดาดังกล่าวในปกรณ์ อย่างนี้เป็น 43,0049,005,เช่นภิกษุอาพาธ ปรารถนาจะไปรักษาตัวที่บ้าน ครั้นไปแล้ว 43,0049,006,ถึงมรณะที่นั่น. 43,0049,007,๑๔/๔/๖๙ 43,0049,008,ถ. บุคคล ๔ ประเภทที่ท่านเปรียบด้วยอุบลนั้น คือใครบ้าง ? 43,0049,009,และเปรียบเทียบกันอย่างไร ? พระสาวกองค์ไหนจัดเข้าในประเภทต้น. 43,0049,010,จงสาธกมาสัก ๒ องค์ พร้อมกับคำอธิบายให้สมกัน ? 43,0049,011,ต. คือ อุคฆฏิตัญญู ๑ วิปจิตัญญู ๑ เนยยะ ๑ ปทปรมะ ๑. 43,0049,012,อุคฆฏิตัญญู ได้แก่ท่านที่มีอุปนิสัยสามารถจะตรัสรู้ธรรมพิเศษได้โดย 43,0049,013,พลัน พร้อมกันกับเวลาที่ท่านผู้ศาสดาแสดงธรรมสั่งสอน คืออาจ 43,0049,014,ตรัสรู้ได้ ในเวลาพอท่านยกแต่เพียงหัวข้อขึ้นแสดงเท่านั้น ประหนึ่ง 43,0049,015,ดอกอุบลที่จะบานในวันนี้. วิปจิตัญญู ได้แก่ท่านที่มีอุปนิสัยแต่ไม่ 43,0049,016,สามารถถึงเช่นนั้น แต่อาจตรัสรู้ธรรมพิเศษได้ต่อเมื่อท่านแจกข้อความ 43,0049,017,แห่งคำย่อมให้พิสดารออกไป ประหนึ่งดอกอุบลอันจะบานในวันพรุ่งนี้. 43,0049,018,เนยยะ ได้แก่ท่านที่มีความอุตสาหะ ทรงอุเทศ ถามข้อความในอุเทศ 43,0049,019,ทำในจิตโดยอุบายที่ชอบ คบหาสมาคมกับกัลยาณมิตร จึงจะตรัสรู้ 43,0049,020,ธรรมพิเศษได้ ประหนึ่งดอกอุบลอันจะบานในวันมะรืนนี้. ปทปรมะ 43,0049,021,ได้แก่ท่านที่มีอุตสาหะเช่นนั้น แม้จะฟังหรือกล่าว หรือทรงไว้ได้