Book,Page,LineNumber,Text 48,0046,001,เวลาฐานที่และอื่น ๆ ไม่มีข้อแตกต่าง คำพยานมีลักษณะอย่างนี้ควรฟัง 48,0046,002,ได้ ข้อว่าเห็นเทียบกันได้กับเห็นนั้น เช่นพยานโจทก์เบิกความสมโดย 48,0046,003,ใจความ แต่แตกต่างบ้างโดยพลความอันไม่สำคัญ คำพยานมีลักษณะ 48,0046,004,เช่นนี้ควรฟังได้เหมือนกัน ข้อว่าเห็นยันกัน ไม่เข้ากันนั้น เช่นพยาน 48,0046,005,โจทก์เบิกความแตกต่างจากคำของโจทก์โดยใจความสำคัญ หรือคำของ 48,0046,006,พยานผู้นั้นเอง ในเมื่อถูกซัก เบิกต้นกับปลายไม่สมกัน คำพยานมี 48,0046,007,ลักษณะอย่างนี้ไม่ควรฟังโดยแท้ คำจำเลยกับพยานของจำเลย ก็พึง 48,0046,008,สันนิษฐานโดยลักษณะอย่างเดียวกัน และคำพยานในฝ่ายเดียวกัน 48,0046,009,สนับสนุนกันหรือหักล้างกัน ก็พึงรู้โดยลักษณะนั้น แม้คำพยานผ่า 48,0046,010,หมากเช่นคำพยานฝ่ายจำเลยเบิกสมมาข้างโจทก์ และคำพยานฝ่ายโจทก์ 48,0046,011,เบิกสมไปข้างจำเลย ควรฟังได้ตามลักษณะนี้เหมือนกัน. 48,0046,012,"พระมติของสมเด็จ ฯ ว่า บท "" สวจนียํ "" "" ความเป็นผู้มีคำ" 48,0046,013,"อันจะพึงกล่าว "" "" สวนียํ "" "" คำอันจะพึงฟัง "" ได้แก่การสืบพยานหรือ" 48,0046,014,คำพยาน. 48,0046,015,เมื่อผู้พิจารณาทำคำวินิจฉัยแถลงแก่สงฆ์แล้ว สงฆ์ย่อมมีธุระ 48,0046,016,๒ อย่าง คือ :- 48,0046,017,๑. สอดส่อง. 48,0046,018,๒. รับรอง. 48,0046,019,ทิฏฐาวิกัมม์ (ทำความเห็นให้แจ้ง คือแสดงความเห็นแย้ง) 48,0046,020,อันชอบแก่ระเบียบนั้น ดังนี้ :-