Book,Page,LineNumber,Text 50,0013,001,อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา ๑<\sup> 50,0013,002,เห็นธรรมดาได้ธรรมจักษุ ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน มีบาลีเป็น 50,0013,003,เครื่องอ้างว่า วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุ ํ อุทปาทิ ยงฺกิญฺจิ 50,0013,004,สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ.๒<\sup> 50,0013,005,๒๔๗๓ 50,0013,006,ถ. ความแปรแห่งสังขารโดยผ่านวัยทั้ง ๓ ในส่วนรูปกายก็พอ 50,0013,007,จะเห็นได้แล้ว แต่ในส่วนนามกาย จะพึงเห็นได้ด้วยอาการอย่างไร ? 50,0013,008,ต. ความแปรแห่งสังขารในส่วนนามกาย จะพึงเห็นได้ด้วย 50,0013,009,อาการอย่างนี้ คือในเบื้องต้นแปรมาในฝ่ายเจริญ พึงเห็นตั้งแต่เกิด 50,0013,010,มาจนหนุ่มสาวเต็มที่ ในระหว่างนี้รูปกายเติบขึ้น นามกายคือจิต 50,0013,011,และเจตสิกว่องไวขึ้น ระยะนี้จัดเป็นประถมวัย ตั้งแต่สังขารหยุด 50,0013,012,เจริญ แต่ขยายตัวออก นามกายหนักแน่นเข้า เช่นมีสติรู้จักเหนี่ยวรั้ง 50,0013,013,ตั้งอยู่ไม่เลินเล่อ ระยะนี้จัดเป็นมัชฌิมวัย แต่นั้นสังขารย่อมแปรไป 50,0013,014,ในความเสื่อม ย่อมหลุดโทรมลงไปทุกที จนปรากฏรูปกายหง่อมชำรุด 50,0013,015,นามกายเงื่องและเงอะเลื่อนเข้าทุกที ระยะนี้จัดเป็นปัจฉิมวัย. 50,0013,016,ส. ป. 50,0013,017,ถ. อนิจฺจตา ความไม่เที่ยง กำหนดรู้ได้ในทางง่ายและทางที่ 50,0013,018,ละเอียดกว่าด้วยอย่างไร ? มีพระบาลีที่อ้าง ๒ ทางนี้บ้างหรือไม่ ? จง 50,0013,019,เห็นธรรม) อันปราศจากธุลี ไม่มีมลทินเกิดขึ้นแล้วว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้น 50,0013,020,เป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา. ส. ป.