File size: 2,200 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
Book,Page,LineNumber,Text
34,0010,001,ที่ชอบ อนึ่ง เมื่อคนอื่นแสดงโทษที่ล่วงเกินก็รับตามวิธีที่ชอบ บุคคลประกอบ
34,0010,002,ด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล  พึงทราบเถิดว่า  เป็นบัณฑิต. 
34,0010,003,<I>จบอัจจยสูตรที่    ๔</I>
34,0010,004,<H1>อรรถกถาอัจจยสูตร</H1>     
34,0010,005,พึงทราบวินิจฉัย  ในอัจจยสูตรที่  ๔  ดังต่อไปนี้:-
34,0010,006,บทว่า   <B>อจฺจยํ   อจฺจยโต   น ปสฺสติ</B>   ความว่า  คนพาลย่อมไม่
34,0010,007,เห็นความผิดของตนว่า  เป็นความผิด.  บทว่า  <B>อจฺจยโต  ทิสฺวา  ยถาธมฺมํ
34,0010,008,น ปฏิกโรติ</B>  ความว่า คนพาลแม้ทราบแล้วว่า เราทำผิด ก็ไม่ยอมทำตามธรรม
34,0010,009,คือรับทัณฑกรรมมาแล้ว  ก็ไม่ยอมแสดงโทษ  คือไม่ยอมขอโทษคนอื่น.* บท
34,0010,010,ว่า    <B>อจฺจยํ     เทเสนฺตสฺส    ยถาธมฺมํ    ปฏิคฺคณฺหาติ</B>   ความว่า   เมื่อคน
34,0010,011,อื่นทราบว่า  เราทำผิด   รับทัณฑกรรมมาแล้วให้ขอขมา   คนพาลก็จะไม่ยอม
34,0010,012,ยกโทษให้.
34,0010,013,ธรรมฝ่ายขาว  ( ของบัณฑิต ) พึงทราบโดยนัยที่ตรงกันข้ามกับที่กล่าว
34,0010,014,แล้ว.
34,0010,015,<I>จบอรรถกถาอัจจยสูตรที่</I>