File size: 3,434 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
Book,Page,LineNumber,Text
01,0050,001,พระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า  ความรู้ในเหตุ  ชื่อว่าธรรมปฏิสัมภิทา.<SUP>๑</SUP>   ผลแห่งเหตุ
01,0050,002,ชื่อว่าอรรถ  สมจริงดังพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าไว้ว่า   ความรู้ในผล
01,0050,003,แห่งเหตุ  ชื่อว่าอัตถปฏิสัมภิทา<SUP>๒</SUP>.  บัญญัติ  อธิบายว่า  การเทศนาธรรมตาม
01,0050,004,ธรรม  ชื่อว่าเทศนา.  การตรัสรู้ชื่อว่าปฏิเวธ.   ก็ปฏิเวธนั้นเป็นทั้งโลกิยะและ
01,0050,005,โลกุตระ  คือความรู้รวมลงในธรรมตามสมควรแก่อรรถ  ในอรรถตามสมควร
01,0050,006,แก่ธรรม  ในบัญญัติตามสมควรแก่ทางแห่งบัญญัติ  โดยวิสัยและโดยความไม่
01,0050,007,งมงาย<SUP>๓</SUP>.  
01,0050,008,บัดนี้  ควรทราบคัมภีร์ทั้ง  ๔  ประการ  ในปิฎกทั้ง  ๓  นี้    แต่ละ
01,0050,009,ปิฎก  เพราะเหตุที่ธรรมชาตหรืออรรถชาตใด ๆ  ก็ดี   อรรถที่พระผู้มีพระ-
01,0050,010,ภาคเจ้าพึงให้ทราบย่อมเป็นอรรถมีหน้าเฉพาะต่อญาณของนักศึกษาทั้งหลาย
01,0050,011,ด้วยประการใด ๆ  เทศนาอันส่องอรรถนั้นให้กระจ่างด้วยประการนั้น ๆ  นี้ใด
01,0050,012,ก็ดี  ปฏิเวธคือความหยั่งรู้ไม่วิปริตในธรรม  อรรถและเทศนานี้ใดก็ดี    ใน
01,0050,013,ปิฎกเหล่านี้  ธรรม  อรรถ  เทศนา  และปฏิเวธทั้งหมดนี้  อันบุคคลผู้มี
01,0050,014,ปัญญาทรามทั้งหลาย  มิใช่ผู้มีกุศลสมภารได้ก่อสร้างไว้  พึงหยั่งถึงได้ยากและ
01,0050,015,ที่พึ่งอาศัยไม่ได้  ดุจมหาสมุทรอันสัตว์ทั้งหลายมีกระต่ายเป็นต้นหยั่งถึงได้ยาก
01,0050,016,ฉะนั้น.  ก็พระคาถานี้ว่า
01,0050,017,<B>บัณฑิตพึงแสดงความต่างแห่งเทศนา
01,0050,018,ศาสนา กถา และสิกขา  ปหานะ  คัมภีรภาพ
01,0050,019,ในปิฎกเหล่านั้นตามสมควร  ดังนี้</B>