File size: 4,312 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
Book,Page,LineNumber,Text
27,0015,001,ความเกิดของนามรูป     ละสัสสตทิฏฐิด้วยการเห็นความดับของนามรูป   
27,0015,002,ละสัญญาในสิ่งที่มีภัยว่าไม่มีภัย ด้วยการเห็นนามรูปว่าเป็นภัย ละสัญญา
27,0015,003,ในอิสสาทะความยินดี    ด้วยการเห็น<B>อาทีนพโทษ</B>    ละสัญญาในอภิรติ
27,0015,004,ความยินดี     ด้วย<B>นิพพิทานุปัสสนา</B>     ละความไม่อยากปล่อย     ด้วย
27,0015,005,<B>มุญจิตุกามยตาญาณ</B>   ละความไม่วางเฉยด้วยอุเบกขาญาณ   ละภาวะที่เป็น
27,0015,006,ปฏิโลมในธรรมฐิติญาณ  และในนิพพานด้วยอนุโลมญาณ ละการยึดถือ
27,0015,007,นิมิตในสังขารด้วยโคตรภูญาณ นี้ชื่อว่า <B>ตทังคปหาน.</B>
27,0015,008,อนึ่ง    การละธรรมมีนิวรณ์เป็นต้นนั้นๆ    ด้วยอุปจารสมาธิและ
27,0015,009,อัปปนาสมาธินั่นแล เหมือนการกั้นสาหร่ายบนผิวน้ำด้วยการกั้นด้วยไม้
27,0015,010,โดยห้ามภาวะ  คือความเป็นไปเสีย นี้ชื่อว่า <B>วิกขัมภนปหาน.</B>
27,0015,011,การละหมู่กิเลสที่เป็นฝักฝ่ายสมุทัย    ที่กล่าวไว้โดยนัยเป็นต้นว่า
27,0015,012,เพื่อละทิฏฐิในสันดานของตนโดยมรรคนั้นๆ    เพราะทำอริยมรรค   ๔
27,0015,013,ให้เกิด   โดยมิให้เกิดขึ้นอย่างเด็ดขาด   นี้ชื่อว่า<B>สมุจเฉทปทาน.</B>       อนึ่ง
27,0015,014,การระงับกิเลสทั้งหลายในขณะแห่งผลจิต นี้ชื่อว่า<B>ปฏิปัสสัทธิปหาน.</B>
27,0015,015,พระนิพพานที่ละสังขตธรรมได้หมด     เพราะสลัดสังขตธรรม
27,0015,016,ทั้งหมดได้ นี้ชื่อว่า <B>นิสสรณปหาน.</B>
27,0015,017,อีกอย่างหนึ่ง  ปหานทั้งหมดนี้  เหตุที่ท่านเรียกว่า  <B>ปหาน</B>  เพราะ
27,0015,018,อรรถว่า   สละ   เรียกว่า   <B>วินัย</B>   เพราะอรรถว่า   กำจัด   ฉะนั้นท่านจึง
27,0015,019,เรียกว่า   <B>ปหานวินัย.</B>  อีกอย่างหนึ่ง   ปหานนี้ท่านเรียกว่า   <B>ปหานวินัย</B>
27,0015,020,เพราะมีการละกิเลสนั้นๆ     และเพราะมีการกำจัดกิเลสนั้นๆ     แม้
27,0015,021,ปหานวินัย  ก็พึงทราบว่า  แบ่งเป็น ๕  ด้วยประการฉะนี้.
27,0015,022,วินัยนี้โดยสังเขปมี  ๒  อย่าง  โดยประเภทมี  ๑๐  อย่าง  ย่อมไม่มี
27,0015,023,แก่ปุถุชนผู้ไม่ได้ศึกษานั้น   เพราะเป็นผู้ทำลายสังวร   และเพราะไม่ละ