File size: 2,685 Bytes
3c90236 |
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 |
Book,Page,LineNumber,Text
29,0003,001,<H1>๒. สุขสูตร</H1>
29,0003,002,<H1>ว่าด้วยผู้รู้ว่าเวทนาเป็นทุกข์ย่อมหมดความยินดีในเวทนา</H1>
29,0003,003,[๓๖๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ เหล่านี้ เวทนา ๓ เป็น
29,0003,004,ไฉน คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
29,0003,005,เวทนา ๓ เหล่านี้แล.
29,0003,006,<B>[๓๖๒] ความเสวยอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็น
29,0003,007,สุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็
29,0003,008,ตาม ทั้งที่เป็นภายในทั้งที่เป็นภายนอกอยู่ ภิกษุ
29,0003,009,รู้ว่า เวทนานี้เป็นทุกข์ มีความพินาศเป็นธรรมดา
29,0003,010,มีความทำลายเป็นธรรมดา ถูกต้องความเสื่อมไป
29,0003,011,อยู่ ย่อมคลายความยินดีในเวทนาเหล่านั้น ด้วย
29,0003,012,ประการอย่างนี้.</B>
29,0003,013,<I>จบ สุขสูตรที่ ๒</I>
29,0003,014,<H1>อรรถกถาสุขสูตรที่ ๒</H1>
29,0003,015,พึงทราบวินิจฉัยในสุขสูตรที่ ๒ ดังต่อไปนี้.
29,0003,016,บทว่า <B>อทุกฺขมสุขํ สห</B> ได้แก่ มิใช่ทุกข์มิใช่สุข พร้อมด้วยสุข
29,0003,017,และทุกข์ บทว่า <B>อชฺฌตฺตญฺจ พิหิทฺธา จ</B> ความว่า ของตนและของคนอื่น.
29,0003,018,บทว่า <B>โมสธมฺมํ</B> คือมีความพินาศเป็นสภาพ. บทว่า <B>ปโลกินํ</B> คือทำลาย
29,0003,019,มีความแตกเป็นสภาพ. บทว่า <B>ผุสฺส ผุสฺส วยํ ผุสฺสํ</B> ความว่า ถูกต้อง
|