File size: 3,981 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
Book,Page,LineNumber,Text
46,0049,001,ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า   ก็ภิกษุไม่มีกิเลสที่เป็นเหตุให้เกิดความกระวน
46,0049,002,กระวายบางอย่าง  ซึ่งเป็นปัจจัยแห่งการยึดถืออุปาทานขันธ์   เพราะเหตุที่กิเลส
46,0049,003,เหล่านั้นตนละเสียได้แล้ว    ด้วยอริยมรรค   ภิกษุนั้นชื่อว่าละฝั่งในและฝั่งนอก
46,0049,004,เสียได้  โดยนัยที่ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นนั่นเอง.
46,0049,005,แม้ในคาถาที่ว่า  <B>ยสฺส  วนถชา</B>  เป็นต้นนี้   บัณฑิตพึงทราบกิเลส
46,0049,006,ทั้งหลายที่เกิดจากป่า   ดุจกิเลสทั้งหลายที่เกิดจากความกระวนกระวาย    แต่ใน
46,0049,007,อรรถแห่งคำ  มีแปลกกันดังต่อไปนี้ :- 
46,0049,008,ธรรมชาติที่ชื่อว่าป่า ก็เพราะอรรถว่า ปรารถนาหรือต้องการ  อธิบาย
46,0049,009,ว่า  ย่อมจำนง   คือ   ย่อมขอ   ย่อมคบ   คำว่า   วนะนี้     เป็นชื่อของตัณหา.
46,0049,010,จริงอยู่  ตัณหานั้น    ท่านเรียกว่าวนะ  เพราะปรารถนา คือ  เพราะไหลออกมา
46,0049,011,แห่งอารมณ์ทั้งหลาย   ตัณหา   (วนะ)    ย่อมแผ่ไปด้วยอำนาจที่มีอารมณ์เป็น
46,0049,012,ปริยุฏฐาน (กลุ้มรุม) เพราะเหตุนั้น   ตัณหานั้นจึงชื่อว่า วนถะ  คำว่า <B>วนถะ</B> นี้ 
46,0049,013,เป็นชื่อแห่งตัณหานุสัย    กิเลสทั้งหลายที่เกิดจากป่าคือตัณหา   ชื่อว่า  วนถชา
46,0049,014,แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า    กิเลสแม้ทั้งหมด    ท่านเรียกว่า   วนถะ   เพราะ
46,0049,015,อรรถว่าเป็นเครื่องรกชัฏ   ส่วนกิเลสที่เกิดขึ้นต่อ ๆ มา  ชื่อว่า  วนถชา   ก็ใน
46,0049,016,ที่นี้ท่านประสงค์เอาเนื้อความในสุภสูตรเพียงเท่านี้     แต่เนื้อความนอกจากนี้ 
46,0049,017,ตรงกับที่ตรัสไว้ในพระคาถาธรรมบท.
46,0049,018,สองบทว่า  <B>วินิพนฺธาย ภวาย</B> ได้แก่เพื่อความผูกพันในภพ   อีก
46,0049,019,อย่างหนึ่ง  ความว่า  เมื่อความผูกพันในอารมณ์ทั้งหลายแห่งจิต   หรือเพื่อความ
46,0049,020,อุบัติขึ้นต่อไป   เหตุนั่นเอง  จึงชื่อว่า  เหตุกัปปา.