|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
31,0012,001,<H1>อรรถกถาปฐมวิภังคสูตร</H1>
|
|
31,0012,002,<B>สูตรที่ ๙.</B> ในบทว่า <B>สติเนปกฺเกน</B> นี้ หมายถึง ความเป็น คือ
|
|
31,0012,003,ปัญญาเครื่องรักษาตัว. คำว่า <B>ปัญญาเครื่องรักษาตัว</B> นี้ เป็นชื่อของปัญญา.
|
|
31,0012,004,ถามว่า ทำไมพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเรียกปัญญา ในภาชนะ (ที่รองรับ) แห่ง
|
|
31,0012,005,สติเล่า. ตอบว่า เพื่อทรงแสดงถึงสติที่มีกำลัง จริงอย่างนั้น ในที่นี้ พระองค์
|
|
31,0012,006,ทรงหมายเอาแต่สติที่มีกำลังเท่านั้น. ก็เมื่อจะทรงแสดงถึงสติที่ประกอบด้วย
|
|
31,0012,007,ปัญญาว่า สติที่ประกอบด้วยปัญญานั้น เป็นสติที่มีกำลัง ที่ไม่ประกอบด้วย
|
|
31,0012,008,ปัญญาย่อมไม่มีกำลัง จึงได้ตรัสอย่างนี้. คำว่า <B>จิรกตํ</B> คือ ทาน ศีล
|
|
31,0012,009,หรืออุโบสถกรรมที่ได้ทำมาสิ้นกาลนานแล้ว. คำว่า <B>จิรภาสิตํ</B> ความว่า ใน
|
|
31,0012,010,ที่โน้น ได้พูดคำชื่อโน้นเท่านั้น. คำพูดอันบุคคลพึงพูดในเวลาที่นานอย่างนี้.
|
|
31,0012,011,คำว่า <B>โวสฺสคฺคารมฺมณํ กริตฺ วา</B> คือ ทำนิพพานเป็นอารมณ์. คำว่า
|
|
31,0012,012,<B>อุทยตฺถคามินิยา</B> คือ ถึงความเกิดขึ้น และความดับไป หมายความว่า
|
|
31,0012,013,ที่กำหนดถือเอาทั้งความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป. ในสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
|
|
31,0012,014,ทรงแสดงแต่โลกุตระที่ให้เกิดสัทธินทรีย์ สตินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อันเป็น
|
|
31,0012,015,ส่วนเบื้องต้น สมาธินทรีย์ที่เจือกับวิริยินทรีย์ไว้เท่านั้น.
|
|
31,0012,016,<I>จบปฐมวิภังคสูตรที่ ๙</I>
|
|
|