tripitaka-mbu / 31 /310049.csv
uisp's picture
add data
3c90236
raw
history blame
3.5 kB
Book,Page,LineNumber,Text
31,0049,001,[๙๒๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขินทรีย์เป็นไฉน ความทุกข์ทาง
31,0049,002,กาย ความไม่สำราญทางกาย เวทนาอันเป็นทุกข์ไม่สำราญ เกิดแต่กายสัมผัส
31,0049,003,นี้ เรียกว่า ทุกขินทรีย์.
31,0049,004,[๙๒๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็โสมนัสสินทรีย์เป็นไฉน ความสุข
31,0049,005,ทางใจ ความสำราญทางใจ เวทนาอันเป็นสุขสำราญเกิดแต่มโนสัมผัส นี้ เรียก
31,0049,006,ว่า โสมนัสสินทรีย์.
31,0049,007,[๙๒๙] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็โทมนัสสินทรีย์เป็นไฉน ความทุกข์
31,0049,008,ทางใจ ความไม่สำราญทางใจ เวทนาอันเป็นทุกข์ไม่สำราญ เกิดแต่มโนสัมผัส
31,0049,009,นี้เรียกว่า โทมนัสสินทรีย์.
31,0049,010,[๙๓๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อุเบกขินทรีย์เป็นไฉน เวทนาอัน
31,0049,011,สำราญก็ไม่ใช่ ไม่ใช่ความสำราญก็ไม่ใช่ ทางกายหรือทางใจ นี้ เรียกว่า
31,0049,012,อุเบกขินทรีย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้แล.
31,0049,013,<I>จบปฐมวิภังคสูตรที่ ๖</I>
31,0049,014,<H1>อรรถกถาปฐมวิภังคสูตร</H1>
31,0049,015,<B>ปฐมวิภังคสูตรที่ ๖.</B> คำว่า <B>กายิกํ ทางฺกาย</B> ได้แก่ สุขที่มีกาย
31,0049,016,ประสาทเป็นที่ตั้ง นี้เป็น คำแสดงสรุปของสุขนั้น ด้วยประการฉะนี้. คำว่า
31,0049,017,<B>สาตะ</B> (ความสำราญ) ก็เป็นคำใช้แทนคำว่าสุขนั้นเอง. นี้อธิบายว่าอร่อย.
31,0049,018,คำว่า <B>กายสมฺผสฺสชํ เกิดแต่กายสัมผัส</B> ก็มีทำนองที่กล่าวแล้วว่า ความสุข
31,0049,019,ความสำราญที่เกิดจากกายสัมผัส. คำว่า <B>เวทยิตํ</B> นี้เป็นคำแสดงสภาวะที่วิเศษ
31,0049,020,ของธรรมข้ออื่นจากเวทนาที่ทั่วไปทั้งหมดของสุขนั้น. แม้ในข้อที่เหลือทั้งหลาย