|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0009,001,ไม่ดี ด้วยอำนาจ <B>อภิชฌา พยาบาท</B> และ<B>มิจฉาทิฏฐิ.</B> บทว่า <B>ทุพฺภาสิ-
|
|
34,0009,002,ตภาสี</B> ความว่า แม้เมื่อจะพูด ก็ย่อมพูดแต่คำพูดที่ไม่ดี แยกประเภทเป็น
|
|
34,0009,003,มุสาวาทเป็นต้น. บทว่า <B>ทุกฺกฏกมฺมารี</B> ความว่า แม้เมื่อทำย่อมทำแต่
|
|
34,0009,004,สิ่งที่ไม่ดี ด้วยอำนาจปาณาติบาตเป็นต้น. บทมีอาทิว่า <B>ปณฺฑิตลกฺขณานิ</B>
|
|
34,0009,005,พึงทราบตามทำนองลักษณะที่กล่าวแล้วนั่นแล.
|
|
34,0009,006,ส่วนบททั้งหลายมีบทว่า <B>สุจินฺติตจินฺตี</B> เป็นต้น ในสูตรนี้ พึง
|
|
34,0009,007,ประกอบด้วยอำนาจแห่งสุจริตทั้งหลาย มีมโนสุจริตเป็นต้น.
|
|
34,0009,008,<I>จบอรรถกถาจินตสูตรที่ ๓</I>
|
|
34,0009,009,<H1>๔. อัจจยสูตร</H1>
|
|
34,0009,010,<H1>ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต</H1>
|
|
34,0009,011,[๔๔๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
|
|
34,0009,012,พึงทราบได้ว่าเป็นคนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบ้าง คือ ไม่เห็นความล่วง
|
|
34,0009,013,เกินโดยเป็นความล่วงเกิน เห็นความล่วงเกินแล้ว ไม่ทำคืนตามวิธีที่ชอบ
|
|
34,0009,014,อนึ่ง เมื่อคนอื่นแสดงโทษที่ล่วงเกิน ก็ไม่รับตามวิธีที่ชอบ บุคคลประกอบ
|
|
34,0009,015,ด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดว่าเป็นคนพาล
|
|
34,0009,016,ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ พึงทราบ
|
|
34,0009,017,ได้ว่าเป็นบัณฑิต ธรรม ๓ ประการคืออะไรบ้าง คือ เห็นความล่วงเกินโดย
|
|
34,0009,018,เป็นความล่วงเกิน เห็นความล่วงเกินโดยเป็นความล่วงเกินแล้วทำคืนตามวิธี
|
|
|