|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0016,001,๓ ประการ พึงทราบว่าเป็นบัณฑิต ธรรม ๓ ประการเป็นไฉน คือ กายกรรม
|
|
34,0016,002,ที่ไม่เป็นการเบียดเบียน ๑ วจีกรรมที่ไม่เป็นการเบียดเบียน ๑ มโนกรรมที่
|
|
34,0016,003,ไม่เป็นการเบียดเบียน ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม
|
|
34,0016,004,๓ ประการนี้แล พึงทราบว่าเป็นบัณฑิต ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้น
|
|
34,0016,005,แหละ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
|
|
34,0016,006,เหล่าใด อันเราพึงรู้ว่าเป็นคนพาล เราจักประพฤติเว้นธรรม ๓ ประการนั้น
|
|
34,0016,007,บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่าใด อันเขาพึงรู้ว่าเป็นบัณฑิต เรา
|
|
34,0016,008,จักประพฤติสมาทานธรรม ๓ ประการนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย
|
|
34,0016,009,พึงศึกษาอย่างนี้แล.
|
|
34,0016,010,<I>จบสัพยาปัชชสูตรที่ ๘</I>
|
|
34,0016,011,<H1>๙. ขตสูตร</H1>
|
|
34,0016,012,<H1>ว่าด้วยการบริหารตนแบบพาลและบัณฑิต</H1>
|
|
34,0016,013,[๔๔๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
|
|
34,0016,014,เป็นคนพาล ไม่ฉลาด เป็นอสัตบุรุษ ครองตนอันขาด (แก่นสาร) ถูก
|
|
34,0016,015,ประหาร (เสียจากคุณธรรม) แล้วอยู่ เป็นคนประกอบด้วยโทษ ผู้รู้ติเตียน
|
|
34,0016,016,และได้ประสบสิ่งอันไม่เป็นบุญมากด้วย ธรรม ๓ ประการคืออะไรบ้าง คือ
|
|
34,0016,017,กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล
|
|
34,0016,018,เป็นคนพาล ฯลฯ
|
|
|