|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0011,001,บทว่า <B>เมธาวินี</B> ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยปัญญามีสติเป็นหลักในการ
|
|
05,0011,002,เรียนบาลี (และ) ด้วยสติปัญญาเป็นหลักในการเรียนอรรถกถา.
|
|
05,0011,003,บทว่า <B>ทกฺขา</B> แปลว่า ผู้หลักแหลม ความว่า ผู้มีปกติ ทำงานที่
|
|
05,0011,004,ควรทำได้รวดเร็ว ไม่ผิดพลาด.
|
|
05,0011,005,บทว่า <B>อนลสา</B> แปลว่า ผู้ปราศจากความเกียจคร้าน.
|
|
05,0011,006,บทว่า <B>ตตฺรูปายาย</B> แปลว่า เป็นทางดำเนินในการงานเหล่านั้น.
|
|
05,0011,007,บทว่า <B>วีมํสาย</B> แปลว่า ด้วยปัญญาเลือกเฟ้นการงานที่ควรทำ.
|
|
05,0011,008,บทว่า <B>สมนฺนาคตา</B> แปลว่า ประกอบพร้อม.
|
|
05,0011,009,สองบทว่า <B>อลํ สํวิธาตุํ </B> ได้แก่ เป็นผู้สามารถเพื่อทำการงานนั้น.
|
|
05,0011,010,สองบทว่า <B>อลํ สํวธาตุํ </B> ได้แก่ เป็นผู้สามารถแม้จะจัดการอย่างนี้
|
|
05,0011,011,ว่า การงานนี้จงเป็นอย่างนี้ และการงานนี้จงเป็นอย่างนั้น.
|
|
05,0011,012,สองบทว่า <B>กตากตํ</B> <B>ชานิตุํ</B> คือ เพื่อรู้งานที่ทำแล้ว และยังมิได้ทำ.
|
|
05,0011,013,บทว่า <B>เต</B> มีความว่า ชนทั้งสองนั้น คือ ภิกษุณีสุนทรีนันทากับ
|
|
05,0011,014,นายสาฬหะนั้น.
|
|
05,0011,015,บทว่า <B>ภตฺตคฺเค</B> คือ ในสถานที่อังคาส.
|
|
05,0011,016,บทว่า <B>นิกฺกุฑฺเฑ</B> คือ เป็นที่ลึกซ่อนเร้นอันแสดงให้เห็นคล้าย
|
|
05,0011,017,มุมฉาก.
|
|
05,0011,018,สามบทว่า <B>วิสฺสโร เม ภวิสฺสติ </B> มีความว่า เสียงอื้อฉาวจักมีแก่
|
|
05,0011,019,เรา คือ จักมีเสียงฉาวโฉ่ต่าง ๆ แก่เรา.
|
|
05,0011,020,บทว่า <B>ปฏิมาเนนฺตี</B> แปลว่า คอยดูอยู่.
|
|
05,0011,021,บทว่า <B>กยาหํ</B> ตัดบทเป็น <B>กึ อหึ </B> แปลว่า ทำไม ผม (จะไม่
|
|
05,0011,022,รักแม่เจ้าเล่า ขอรับ )
|
|
|