|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
06,0037,001,เป็นเทือกเดียวกัน จะพึงเห็นประชุมชนได้รอบด้านฉันใด. ข้าแด่พระผู้มีพระ-
|
|
06,0037,002,ภาคเจ้าผู้มีเมธาดี คือผู้มีปัญญาดี ผู้มีพระจักษุรอบคอบด้วยพระสัพพัญญุตญาณ
|
|
06,0037,003,แม้พระองค์เสด็จขึ้นสู่ปราสาท ซึ่งแล้วด้วยธรรม คือ ล้วนด้วยพระปัญญา
|
|
06,0037,004,พระองค์เองปราศจากความโศกแล้ว ขอจงทรงแลดู คือทรงพิจารณาประชุมชน
|
|
06,0037,005,ผู้คับคั่งด้วยความโศก ถูกความเกิดและความแก่ครอบงำแล้ว ฉันนั้นเถิด.
|
|
06,0037,006,ท้าวสหัมบดีพรหมเมื่อจะทรงวิงวอนให้พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จจาริกไปเพื่อ
|
|
06,0037,007,ทรงแสดงธรรม จึงทูลว่า ขอจงเสด็จลุกขึ้นเถิด.
|
|
06,0037,008,พึงทราบวินิจฉัยในบทว่า <B>วีร</B> เป็นต้น ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
|
|
06,0037,009,มีพระนามว่า วีระ เพราะทรงมีความเพียร ทรงพระนามว่า วิชิตสงความ เพราะ
|
|
06,0037,010,ทรงชำนะเทวบุตรมาร มัจจุมาร กิเลสมาร และอภิสังขารมาร ทรงพระนาม
|
|
06,0037,011,ว่า สัตถวาหะ เพราะทรงสามารถช่วยหมู่สัตว์ให้พ้นจากกันดารมีชาติกันดาร
|
|
06,0037,012,เป็นต้น ทรงพระนามว่า ผู้ไม่มีหนี้ เพราะไม่มีหนี้ คือ กามฉันท์.
|
|
06,0037,013,บทว่า <B>อชฺเฌสนํ</B> ได้แก่ คำวิงวอน.
|
|
06,0037,014,บทว่า <B>พุทธจกฺขุนา</B> คือ ด้วยอินทริยปโรปริยัติญาณ และอาสยา-
|
|
06,0037,015,นุสยญาณ. จริงอยู่ คำว่า พุทธจักขุ เป็นชื่อแห่งพระญาณ ๒ อย่างนี้.
|
|
06,0037,016,บทว่า <B>อปฺปริชกฺเข</B> เเป็นต้น มีความว่า ธุลีมีราคะเป็นต้น โนปัญญา-
|
|
06,0037,017,จักขุของสัตว์เหล่าใดมีน้อย สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีธุลีในจักษุน้อย. ของสัตว์
|
|
06,0037,018,เหล่าใดมีมาก สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีธุลีในจักษุมาก. อินทรีย์มีศรัทธาเป็นต้น
|
|
06,0037,019,"ของสัตว์เหล่าใดกล้า สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีอินทรีย์กล้า, ของสัตว์เหล่าใดอ่อน"
|
|
06,0037,020,สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีอินทรีย์อ่อน. อาการมีศรัทธาเป็นต้น ของสัตว์เหล่าใดดี
|
|
06,0037,021,"สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีอาการดี, ของสัตว์เหล่าใดไม่ดี สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มี"
|
|
|