tripitaka-mbu / 17 /170022.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
17,0022,001,ได้มาด้วยการขับกล่อม เราไม่ควรบริโภค.
17,0022,002,มีความหมายว่า <B>มยฺหํ</B> (แก่เรา) ในประโยคเป็นต้นว่า ข้าแต่
17,0022,003,พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาส <B>ขอพระผู้มีพระเจ้า</B>ทรงแสดงธรรม
17,0022,004,แก่ข้าพระองค์แต่โดยย่อเถิด.
17,0022,005,มีความหมายว่า <B>มม</B> ( ของเรา ) ในประโยคเป็นต้นว่า ภิกษุ
17,0022,006,ทั้งหลาย ขอให้พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด ดังนี้.
17,0022,007,แต่ในที่นี้ <B>เม</B> ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๒ อย่างว่า อันข้าพเจ้าได้ฟัง
17,0022,008,มา และว่า <B>สุตะ</B> ของเรา ดังนี้.
17,0022,009,<B>สุตะ</B> ศัพท์ ในคำว่า <B>สุตํ</B> นี้ มีอุปสรรค และไม่มีอุปสรรค
17,0022,010,มีเนื้อความหลายอย่างเป็นต้นว่า <B>คมน</B> (การไป) <B>วิสฺสุต</B> (ปรากฏ)
17,0022,011,<B>กิลินฺน</B> (เปียก) <B>อุปจิต</B> (สั่งสม) <B>อนุโยค</B> (ประกอบเนือง ๆ)
17,0022,012,<B>โสตวิญฺเยฺย</B> (รู้ทางหู) <B>โสตทวารานุสารวิญญาณ</B> (รู้ตามกระแส
17,0022,013,ทางหู).
17,0022,014,จริงอย่างนั้น <B>สุตะ</B> ศัพท์นั้น มีความหมายว่า <B>ไป</B> ในประโยค
17,0022,015,เป็นต้นว่า ไปแล้วโดยเสนา.
17,0022,016,มีความหมายว่า <B>มีธรรมอันตนสดับตรับฟังแล้วอย่างแจ่มแจ้ง</B> ใน
17,0022,017,ประโยคเป็นต้นว่า. ผู้สดับธรรมแล้วเห็น ( ธรรม) อยู่.
17,0022,018,มีความหมายว่า <B>เปียกชุ่ม</B> ของบุคคลผู้เปียกชุ่ม ในประโยคเป็นต้น
17,0022,019,ว่า เปียกชุ่มของบุคคลผู้เปียกชุ่ม.
17,0022,020,มีความหมายว่า <B>สะสม</B> ในประโยคเป็นต้นว่า บุญมิใช่น้อย อัน
17,0022,021,ท่านทั้งหลายสะสมแล้ว.
17,0022,022,มีความหมายว่า <B>ประกอบเนือง ๆ</B> ในฌานเนือง ๆ ในประโยค