tripitaka-mbu / 17 /170023.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
17,0023,001,เป็นต้นว่า. นักปราชญ์เหล่าใด ผู้ขวนขวายในฌาน.
17,0023,002,มีความหมายว่า <B>เสียงที่จะพึงทราบทางโสตประสาท</B> ในประโยค
17,0023,003,เป็นต้นว่า เห็นแล้ว ฟังแล้ว ทราบแล้ว.
17,0023,004,มีความหมายว่า <B>ทรงความรู้คล้อยตามโสตทวาร</B> ในประโยค
17,0023,005,เป็นต้นว่า ทรงไว้ซึ่งสุตะ และสะสมสุตะ. แต่ในที่นี้ สุตะศัพท์นั้น
17,0023,006,มุ่งเอาความหมายว่า ทรงจำ หรือ ความทรงจำ ตามแนวแห่งโสตทวาร
17,0023,007,จริงอยู่ เมื่อ <B>เม</B> ศัพท์ มีเนื้อความเท่ากับ <B>มยา</B> ย่อมประกอบความ
17,0023,008,ได้ว่า ข้าพเจ้าได้สดับมา คือ ทรงจำ ตามแนวแห่งโสตทวาร อย่างนี้
17,0023,009,มีเนื้อความเท่ากับ <B>มม</B> ย่อมประกอบความได้ว่า การสดับของข้าพเจ้า
17,0023,010,คือ ความทรงจำตามแนวแห่งโสตทวารของข้าพเจ้าอย่างนี้.
17,0023,011,ในบททั้ง ๓ เหล่านั้น ดังกล่าวมานี้ คำว่า <B>เอวํ</B> เป็นการแสดง
17,0023,012,กิจแห่งวิญญาณ มีโสตวิญญาณเป็นต้น. คำว่า <B>เม</B> เป็นการแสดงบุคคล
17,0023,013,"ผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิญญาณดังกล่าวแล้ว, คำว่า <B>สุตํ</B> เป็นการ"
17,0023,014,แสดงการถือเอาที่ไม่ผิด ไม่หย่อน ไม่ยิ่ง เพราะห้ามการไม่ฟัง. อนึ่ง
17,0023,015,คำว่า <B>เอวํ</B> เป็นการประกาศความเป็นไปในอารมณ์ แห่งวิงญาณวิถีที่
17,0023,016,เป็นไปตามแนวแห่งโสตทวารนั้น โดยประการต่าง ๆ คำว่า <B>เม</B> เป็น
17,0023,017,การประกาศตน. คำว่า <B>สุตํ</B> เป็นการประกาศธรรมะ. จริงอยู่ ในคำ
17,0023,018,ว่า <B>เอวมฺเม สุตํ</B> นี้ มีความย่อดังต่อไปนี้ว่า ข้าพเจ้า ไม่ทำกิจอื่น
17,0023,019,แห่งวิญญาณวิถีที่เป็นไปแล้วในอารมณ์โดยประการต่าง ๆ แต่ข้าพเจ้าทำ
17,0023,020,"กิจนี้, ธรรมนี้ข้าพเจ้าฟังแล้ว."
17,0023,021,อนึ่ง คำว่า <B>เอวํ</B> เป็นการประกาศคำที่จะพึงแถลงไข. คำว่า <B>เม</B>
17,0023,022,เป็นการประกาศบุคคล. คำว่า <B>สุตํ</B> เป็นการประกาศกิจแห่งบุคคล. มี