tripitaka-mbu / 17 /170026.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
17,0026,001,(ธรรม) ย่อมไม่เกิดมีแก่บุคคลผู้ไม่เข้าไปพบสัตบุรุษ.
17,0026,002,อีกนัยหนึ่ง เพราะเหตุที่ท่านกล่าวไว้ว่า บทว่า เอวํ เป็นบทแสดง
17,0026,003,อาการต่าง ๆ ของจิตสันดานที่มีการรับเอาอรรถและพยัญชนะ โดยเป็น
17,0026,004,ไปโดยประการต่างๆ กัน. และอาการที่ดีอย่างนี้นั้น ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้ไม่
17,0026,005,ตั้งตนไว้ชอบ หรือมิได้ทำบุญไว้ในปางก่อน. ฉะนั้น ท่านแสดงความถึง
17,0026,006,พร้อมแห่งจักรทั้ง ๒ ข้างท้ายของตน ด้วยอาการอันเจริญนี้ ด้วยบทว่า
17,0026,007,<B>เอวํ</B> ท่านแสดงความถึงพร้อมแห่งจักรทั้ง ๒ ข้างต้นของตน ด้วยบทว่า
17,0026,008,<B>สุตํ</B>. จริงอยู่ การฟัง (ธรรม) ย่อมไม่เกิดมีแก่ผู้อยู่ในประเทศที่ไม่
17,0026,009,สมควร หรือผู้เว้นจากการคบหากับสัตบุรุษ. ความบริสุทธิ์แห่งอาสวกิเลส
17,0026,010,ย่อมสำเร็จแก่บุคคลนั้น เพราะความสำเร็จแห่งจักรทั้ง ๒ ข้างท้าย ความ
17,0026,011,บริสุทธิ์แห่งปโยคสมบัติ ย่อมมีเพราะความสำเร็จแห่งจักรทั้ง ๒ ข้างต้น
17,0026,012,ด้วยประการฉะนี้.
17,0026,013,อนึ่ง ความสำเร็จแห่งความฉลาดในอธิคม (ปฏิเวธ) ย่อมมีแก่
17,0026,014,บุคคลนั้น เพราะความบริสุทธิ์แห่งอาสวกิเลส ความสำเร็จแห่งความฉลาด
17,0026,015,ในอาคม (ปริยัติ) ย่อมมีเพราะความบริสุทธิ์แห่งปโยคสมบัติ (ความ
17,0026,016,เพียร) พระเถระเมื่อจะเรียงนิทานพจน์ไว้ในฐานะที่เหมาะสม คำของ
17,0026,017,ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยอาคมและอธิคม ผู้มีอาสวกิเลสบริสุทธิ์ด้วยปโยคสมบัติ
17,0026,018,ย่อมควร เป็นพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดุจแสงเงินแสงทอง
17,0026,019,ขึ้นนำพระอาทิตย์ที่กําลังอุทัยอยู่ และดุจการทำไว้ในใจโดยแยบคาย เป็น
17,0026,020,ตัวนำ (การทำ) กุศลกรรม จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า <B>เอวมฺเม สุตํ</B> ดังนี้.
17,0026,021,อีกนัยหนึ่ง ด้วยคำนี้ว่า <B>เอวํ</B> ท่านพระเถระแสดงสภาวะคือ
17,0026,022,ความถึงพร้อมแห่งอัตถปฏิสัมภิทาและปฏิภาณปฏิสัมภิทาของตน ด้วยคำ