|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
17,0034,001,มีพระวรกายเสมอก้อนเพชร เสด็จปรินิพพานแล้วด้วยประโยชน์อะไรอื่น
|
|
17,0034,002,ที่พวกเธอพึงยังความหวังในชีวิตใช้เกิดขึ้นและยังความอุตสาหะของชนนั้น
|
|
17,0034,003,ให้เกิดขึ้นในพระสัทธรรม.
|
|
17,0034,004,อนึ่ง พระเถระเมื่อกล่าวว่า <B>เอวํ</B> ย่อมแสดงไขถึงสมบัติคือเทศนา.
|
|
17,0034,005,เมื่อกล่าวว่า <B>เม สุตํ</B> ย่อมแสดงไขถึงสาวกสมบัติ. เมื่อกล่าว <B>เอกํ
|
|
17,0034,006,สมยํ</B> ย่อมแสดงไขถึงกาลสมบัติ. เมื่อกล่าวว่า <B>ภควา</B> ย่อมแสดงไขถึง
|
|
17,0034,007,เทสกสมบัติ.
|
|
17,0034,008,<H1>ที่มาของชื่อเมืองอุกกัฏฐา</H1>
|
|
17,0034,009,คำว่า <B>อุกฺกา</B> ในคำว่า <B>อุกฺกฏฺายํ วิหรติ</B> นี้ หมายเอาดวง
|
|
17,0034,010,ประทีป และเมืองนั้นเขาเรียกว่า <B>อุกกัฏฐา</B> เพราะชาวเมืองพากันชู
|
|
17,0034,011,คบเพลิง สร้างแม้ในเวลากลางคืนด้วยหวังว่า วันมงคล ขณะดี ฤกษ์ดี
|
|
17,0034,012,อย่าเลยไปเสีย. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เพราะเมืองนั้นพวกชาวเมืองจุด
|
|
17,0034,013,"ประทีปมีด้ามส่องให้สร้าง. ใกล้เมืองชื่อ<B>อุกกัฏฐา</B>นั้น. บทว่า <B>""อุกฺกฏฺ-"
|
|
17,0034,014,"ฐายํ""</B> เป็นสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถว่า ใกล้. บทว่า <B>วิหรติ</B> นี้ เป็น"
|
|
17,0034,015,คำแสดงการถึงการพร้อมเพรียงแห่งการอยู่ ในบรรดาการอยู่ด้วยการผัด
|
|
17,0034,016,"เปลี่ยนอิริยาบถ การอยู่อย่างเทพ, การอยู่อย่างพรหม และการอยู่อย่างพระ"
|
|
17,0034,017,อริยะ อย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ต่างกัน. แต่ในที่นี้ เป็นการแสดงการ
|
|
17,0034,018,ประกอบด้วยอิริยาบถอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาอิริยาบถ (ทั้ง ๔) คือ
|
|
17,0034,019,ยืน เดิน นั่ง และนอน.
|
|
17,0034,020,เพราะเหตุนั้น <B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>ประทับยืนก็ดี เสด็จดำเนิน
|
|
17,0034,021,ก็ดี ประทับนั่งก็ดี บรรทมก็ดี ก็พึงทราบว่า ประทับอยู่ทั้งนั้น. จริงอยู่
|
|
|