|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
18,0025,001,บทว่า <B>ภวทิฏฺิ</B> ได้แก่ ความเห็นว่าเที่ยง. บทว่า <B>วิภวทิฏฺิ</B> ได้แก่
|
|
18,0025,002,ความเห็นว่าขาดสูญ. บทว่า <B>ภวทิฏฺิ อลฺลีนา</B> ความว่า ผู้แอบอิง ความ
|
|
18,0025,003,เห็นว่าเที่ยงด้วยอำนาจตัณหาทิฏฐิ. บทว่า <B>อุปคตา</B> ความว่า เข้าถึงด้วย
|
|
18,0025,004,อำนาจตัณหาทิฏฐิเทียว. บทว่า <B>อชฺโฌสิตา</B> ความว่า ตามเข้าไปด้วยอำนาจ
|
|
18,0025,005,ตัณหาทิฏฐินั้นเทียว. บทว่า <B>วิภวทิฏฺิยา เต ปฏิวิรุทฺธา</B> ความว่า สมณะ
|
|
18,0025,006,หรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด เป็นผู้ยินร้ายว่า พวกท่านโง่เขลาพร้อมด้วยผู้
|
|
18,0025,007,กล่าวว่าขาดสูญ ไม่รู้ว่า โลกนี้เที่ยง โลกนี้ไม่ขาดสูญ ขวนขวายในการทะเลาะ
|
|
18,0025,008,เป็นนิตย์อยู่. แม้ในวาระที่สอง ก็นัยนี้เหมือนกัน. ในบทมีว่า <B>สมุทยญฺจ</B>
|
|
18,0025,009,เป็นต้น แดนเกิดของทิฏฐิทั้งหลายมีสองอย่าง คือ ขณิกสมุทัย ๑ ปัจจยสมุทัย
|
|
18,0025,010,๑. ความเกิดของทิฏฐิทั้งหลาย ชื่อว่า ขณิกสมุทัย ฐานะที่ตั้งอยู่ไม่ได้แห่ง
|
|
18,0025,011,ทิฏฐิทั้งหลาย ชื่อว่า ปัจจยสมุทัย. อย่างไร. คือ ขันธ์ก็ดี อวิชชาก็ดี ผัสสะ
|
|
18,0025,012,ก็ดี สัญญาก็ดี วิตกก็ดี อโยนิโสมนสิการก็ดี ปาปมิตรก็ดี เสียงกึกก้องอย่างอื่นก็ดี
|
|
18,0025,013,จัดเป็นทิฏฐิฐานะ. ขันธ์ทั้งหลายเป็นเหตุ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย แห่งความ
|
|
18,0025,014,เกิดขึ้นของทิฏฐิทั้งหลาย เพราะอรรถว่าตั้งขึ้นพร้อม. แม้ขันธ์ทั้งหลายชื่อว่า
|
|
18,0025,015,ทิฏฐิฐานะ ด้วยประการฉะนี้. อวิชชา ผัสสะ สัญญา วิตก อโยนิโสมนสิการ
|
|
18,0025,016,ปาปมิตร เสียงกึกก้องฝ่ายอื่น เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งความเกิดขึ้นของทิฏฐิ
|
|
18,0025,017,ทั้งหลาย เพราะอรรถว่าตั้งขึ้นพร้อม. แม้เสียงกึกก้องฝ่ายอื่น ชื่อว่า ทิฏฐิฐานะ
|
|
18,0025,018,ด้วยประการฉะนี้. แม้การตั้งอยู่ไม่ได้มีสองอย่างเท่านั้น คือ ขณิกัตถังคมะ ๑
|
|
18,0025,019,ปัจจัยตถังคมะ ๑. ความสิ้น ความเสื่อม ความแตก ความสลาย ความไม่เที่ยง
|
|
18,0025,020,ความหายไป ชื่อว่า ขณิกัตถังคมะ โสดาปัตติมรรค ชื่อ ปัจจัยตถังคมะ.
|
|
18,0025,021,ก็โสดาปัตติมรรค ท่านกล่าวว่า ทำลายพร้อมซึ่งทิฏฐิทั้งหลาย. บทว่า <B>อสฺสาทํ</B>
|
|
18,0025,022,คือ กล่าวหมายถึงอานิสงส์อันมีทิฏฐิเป็นมูล. อธิบายว่า พระศาสดาทรงมีทิฏฐิใด
|
|
18,0025,023,สาวกทั้งหลายก็เป็นผู้มีทิฏฐินั้น สาวกทั้งหลาย ย่อมสักการะ เคารพ นับถือ
|
|
|