|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
26,0003,001,<H2>สารัตถปกาสินี</H2>
|
|
26,0003,002,<H1>อรรถกถาสังยุตตนิกาย นิทานวรรค</H1>
|
|
26,0003,003,<H1>อภิสมยสังยุต พุทธวรรคที่ ๑</H1>
|
|
26,0003,004,<H1>อรรถกถาปฐมปฏิจจสมุปบาทสูตรที่ ๑<SUP>๑</SUP></H1>
|
|
26,0003,005,ขอนอบน้อมแด่<B>พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า</B>พระ
|
|
26,0003,006,องค์นั้น.
|
|
26,0003,007,<B>ปฏิจจสมุปบาทสูตร</B><SUP>๒</SUP> พระสูตรแรกใน<B>นิทานวรรค</B>เริ่มต้นว่า
|
|
26,0003,008,<B>เอวมฺเม สุตํ</B> ข้าพเจ้าได้ฟังมาแล้วอย่างนี้.
|
|
26,0003,009,ในปฏิจจสมุปบาทสูตรนั้น พรรณนาตามลำดับบทว่า <B>ตตฺร โข
|
|
26,0003,010,ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ</B> ดังต่อไปนี้.
|
|
26,0003,011,บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>ตตฺร</B> เป็นคำแสดงถึงเทศะ สถาน
|
|
26,0003,012,และกาลเวลา.
|
|
26,0003,013,จริงอยู่ คำว่า <B>ตตฺร</B> นั้น ย่อมแสดง (ความหมาย) ว่าในสมัยที่
|
|
26,0003,014,<B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>ประทับอยู่ และในพระเชตวันที่<B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>
|
|
26,0003,015,ประทับอยู่ หรือแสดงถึงเทศะ และกาลที่สมควรแก่คำที่พระองค์ควรตรัส.
|
|
26,0003,016,ด้วยว่า<B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>ไม่ตรัสธรรมะ ในเทศะและกาละที่ไม่ควร.
|
|
26,0003,017,ก็ในเรื่องนี้มีคำว่า <B>อกาโล โข ตาว พาหิย</B> เป็นข้อสาธก. ศัพท์ว่า
|
|
26,0003,018,<B>โข</B> เป็นนิบาต ใช้ในความหมายว่า สักว่าทำบทให้เต็มความหมายว่า
|
|
26,0003,019,ห้ามความอื่น หรือในความหมายถึงกาลเบื้องต้น. คำว่า <B>ภควา</B> เป็น
|
|
|