|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
26,0032,001,นามมีอันน้อมไปเป็นลักษณะ รูปมีการแตกสลายเป็นลักษณะ.
|
|
26,0032,002,ก็ในการจำแนกนามรูปนั้น บทว่า <B>เวทนา</B> ได้แก่<B>เวทนาขันธ์.</B> บทว่า
|
|
26,0032,003,<B>สัญญา</B> ได้แก่สัญญาขันธ์. บทว่า <B>เจตนา ผัสสะ มนสิการ</B> พึงทราบ
|
|
26,0032,004,ว่า เป็น<B>สังขารขันธ์.</B> ก็ธรรมที่สงเคราะห์ด้วยสังขารขันธ์ แม้ด้วยเหล่าอื่น
|
|
26,0032,005,มีอยู่ก็จริง ถึงอย่างนั้น ธรรม ๓ ประการนี้ มีอยู่ในจิตที่มีกำลังเพลากว่า
|
|
26,0032,006,ธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น ในที่นี้ท่านแสดงสังขารขันธ์ด้วยอำนาจธรรม
|
|
26,0032,007,เหล่านั้นนั่นเอง. บทว่า <B>จตฺตาโร</B> ในบทว่า <B>จตฺตาโร จ มหาภูตา</B> นี้
|
|
26,0032,008,เป็นการกำหนดจำนวน. บทว่า <B>มหาภูตา</B> นี้ เป็นชื่อของปฐวีธาตุ
|
|
26,0032,009,อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ. ก็นัยวินิจฉัยอย่างหนึ่ง ในข้อที่เป็น
|
|
26,0032,010,เหตุให้ท่านกล่าวว่า <B>ตานิ มหาภูตานิ</B> ทั้งหมดท่านกล่าวไว้แล้วในรูป-
|
|
26,0032,011,ขันธนิเทศ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค. ก็บทว่า <B>จตุนฺนํ</B> ในคำว่า <B>จตุนฺนญฺจ
|
|
26,0032,012,มหาภูตานํ อุปาทาย</B> นี้เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ลงในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ
|
|
26,0032,013,ท่านอธิบายว่า ซึ่งมหาภูตรูป ๔. บทว่า <B>อุปาทาย</B> แปลว่า ยึดมั่น
|
|
26,0032,014,อธิบายว่า ถือมั่น อาจารย์บางพวกกล่าวว่า อาศัยก็มี. ก็ปาฐะที่เหลือ
|
|
26,0032,015,ว่า <B>ปวตฺตมานํ</B> นี้ พึงนำมาเชื่อมเข้าในที่นี้. อีกอย่างหนึ่ง คำนี้เป็น
|
|
26,0032,016,ฉัฏฐีวิภัตติ ลงในอรรถว่าประชุม พึงทราบเนื้อความดังนี้ว่า รูปอาศัย
|
|
26,0032,017,การประชุมแห่งมหาภูตรูป ๔ เป็นไป. เมื่อว่าโดยประการทั้งปวง รูปอาศัย
|
|
26,0032,018,ภูตรูป ๔ มีปฐวีเป็นต้น และรูป ๒๓ ที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นไป
|
|
26,0032,019,ที่ท่านกล่าวไว้ในบาลีในอภิธรรม โดยแยกเป็นจักขายตนะเป็นต้น ทั้งหมด
|
|
26,0032,020,นั้นพึงทราบว่า รูป.
|
|
26,0032,021,ใน<H1>วิญญาณนิเทศ</H1> มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
|
|
26,0032,022,บทว่า <B>จกฺขุวิญฺาณํ</B> ความว่า ที่ชื่อว่าจักขุวิญญาณ เพราะวิญญาณ
|
|
|