|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0014,001,ถ้าผู้ทักท้วงกล่าวว่า ท่านประสงค์เอาความที่พระพุทธเจ้าและสรณะ
|
|
39,0014,002,เป็นตัวเหตุเท่า ๆ กัน เพราะบาลีว่า <B>เอตํ โข สรณํ เขมํ เอตํ สรณมุตฺตมํ</B>
|
|
39,0014,003,สรณะนั่นแลเกษม ปลอดภัย สรณะนั้นอุดมสูงสุด ไม่ประสงค์เช่นนั้น ดอก
|
|
39,0014,004,เพราะในบทคาถานั้น มีแต่พระพุทธเจ้าเป็นสรณะนั้น. ความจริง ในบทคาถา
|
|
39,0014,005,นั้นนั่นแลท่านประสงค์ถึงความที่พระพุทธเจ้าและสรณะเป็นตัวเหตุเท่า ๆ กัน
|
|
39,0014,006,อย่างนี้ว่า สรณะทั้งเกษมทั้งอุดม เพราะพิจารณาเป็นถึงพระรัตนตรัยมีพระ-
|
|
39,0014,007,พุทธเจ้าเป็นต้นนั้น ในความเป็นสรณะ ที่นับได้ว่า กำจัดภัยแก่ผู้ถึงสรณคมน์
|
|
39,0014,008,ได้จริง ส่วนในบาลีประเทศอื่น เมื่อมีความสัมพันธ์ด้วยผู้ถึงสรณคมน์
|
|
39,0014,009,ท่านก็ไม่ประสงค์ความที่พระพุทธเจ้าและสรณะเป็นตัวเหตุเท่า ๆ กัน เพราะ
|
|
39,0014,010,ไม่สำเร็จเป็นสรณคมน์ ดังนั้น คำนี้จึงสาธกไม่ได้.
|
|
39,0014,011,ถ้าผู้ทักท้วงกล่าวว่า น่าจะประสงค์เอาความที่พระพุทธเจ้าและสรณะ
|
|
39,0014,012,เป็นตัวเหตุเท่า ๆ กัน เพราะสำเร็จเป็นสรณคมน์ แม้เมื่อมีความสัมพันธ์ด้วย
|
|
39,0014,013,ผู้ถึงสรณคมน์ได้ในบาลีนี้ว่า <B>เอตํ สรณนาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ</B>
|
|
39,0014,014,บุคคลอาศัยสรณะนั้น ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงดังนี้ ไม่ใช่เช่นนั้นดอก
|
|
39,0014,015,เพราะขัดข้องด้วยโทษที่กล่าวมาก่อนแล้ว. ความจริง แม้ในข้อนั้น ก็จะพึง
|
|
39,0014,016,ขัดข้องด้วยโทษที่กล่าวมาก่อนว่า เมื่อมีความที่พระพุทธเจ้าและสรณะเป็นตัว
|
|
39,0014,017,เหตุเท่า ๆ กัน อยู่ บุคคลแม้มีจิตขุ่นเคืองอาศัยสรณะ. คือพระพุทธเจ้า พระ
|
|
39,0014,018,ธรรมและพระสงฆ์ ก็จะพึงหลุดพ้นจากทุกข์ได้หมดน่ะสิ แต่จะว่าไม่ขัดข้อง
|
|
39,0014,019,ด้วยโทษก็หามิได้ ดังนั้น คำนั้นจึงสาธกไม่ได้. พึงทราบอธิบายในข้อ
|
|
39,0014,020,นั้น อย่างนี้ว่า สัตว์ทั้งหลายเมื่อจะหลุดพ้น ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระ
|
|
39,0014,021,ภาคเจ้า ผู้เป็นกัลยาณมิตร ท่านก็กล่าวว่า อาศัยกัลยาณมิตรจึงหลุดพ้น ได้
|
|
39,0014,022,ในบาลีนี้ว่า
|
|
|