|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0045,001,เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีความเห็นผิด มีทัสสนะความเห็นวิปริต อันการล่วงละเมิด
|
|
39,0045,002,ในสิกขาบทนี้ ย่อมมีแก่ผู้เข้าไปดูเพราะอยากจะดูเท่านั้น ส่วนผู้เดินไปพบ
|
|
39,0045,003,หรือเห็นเฉพาะที่มาปรากฏ ในโอกาสที่นี้ นั่ง นอนก็มีแต่ความเศร้าหมอง
|
|
39,0045,004,มิใช่ล่วงละเมิด ก็ในสิกขาบทนี้ การขับร้องแม้ที่อิงธรรมะ ก็ไม่ควร แต่
|
|
39,0045,005,ธรรมะที่อิงการขับร้อง พึงทราบว่าสมควร.
|
|
39,0045,006,ดอกไม้เป็นต้น พึงใช้ประกอบด้วยการทัดทรงเป็นอาทิ ตามสมควร
|
|
39,0045,007,ในสิกขาบทนั้น. คำว่า<B>มาลา</B> ได้แก่ดอกไม้ชนิดใดชนิดหนึ่ง. คำว่า <B>วิเลปนะ</B>
|
|
39,0045,008,ได้แก่ ของอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เขาบดจัดไว้เพื่อลูบไล้ นอกจากนั้นของหอมมี
|
|
39,0045,009,ผงและตัวนอบเป็นต้นทุกอย่าง ชื่อว่า <B>ของหอม.</B> ของหอมนั้น ทุกอย่าง ใช้ตก
|
|
39,0045,010,แต่งประดับ ไม่ควร แต่ใช้เป็นยา ก็ควร. แต่ของหอมที่เขานำเพื่อบูชา
|
|
39,0045,011,สำหรับผู้รับไว้ ย่อมไม่ควร โดยปริยายไรๆ หามิได้. ที่นอนเกินขนาด ท่าน
|
|
39,0045,012,เรียกว่า <B>ที่นอนสูง</B> ที่นอนเป็นอัปปะ และเครื่องปูที่นอนเป็นอกัปปิยะ ท่าน
|
|
39,0045,013,เรียกว่า <B>ที่นอนใหญ่.</B> ที่นอนแม้ทั้งสองอย่างนั้น สำหรับผู้รับไว้ย่อมไม่ควร
|
|
39,0045,014,ไม่ว่าโดยปริยายไร ๆ.
|
|
39,0045,015,คำว่า <B>ชาตรูปะ</B> ได้แก่ทอง. คำว่า <B>รชตะ</B> ได้แก่กหาปณะ คือ
|
|
39,0045,016,ของใด ๆ มีมาสกโลหะ มาสกไม้ และมาสกก้อนยางเป็นต้น ที่เขาใช้แลกเปลี่ยน
|
|
39,0045,017,กัน ในประเทศนั้น ๆ. ทองและเงินตราทั้งสองแม้นั้น ชื่อว่าชาตรูปรชตะ. การรับ
|
|
39,0045,018,เอาทองและเงินครานั้น ชื่อว่า <B>ปฏิคคหะ</B> การรับ. การรับนั้น ย่อมไม่ควร
|
|
39,0045,019,ไม่ว่าปริยายไร ๆ.
|
|
39,0045,020,พึงทราบสิกขาบทเป็นข้อ ๆ ดังกล่าวมาฉะนี้.
|
|
39,0045,021,ทั้ง ๑๐ สิกขาบทนี้ บุคคลสมาทาน ด้วยฉันทะหรือ วิริยะ จิตตะ
|
|
39,0045,022,วิมังสา อย่างเลว ก็ชื่อว่าหีนะ อย่างเลว. ด้วยฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา
|
|
|