|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
45,0009,001,ผู้เป็นที่เคารพว่า <B>ภควา.</B> และพระตถาคต ชื่อว่า เป็นที่เคารพของสัตว์ทั้งหลาย
|
|
45,0009,002,เพราะทรงวิเศษด้วยสรรพคุณ เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า <B>ภควา.</B> แม้พระ
|
|
45,0009,003,โบราณาจารย์ทั้งหลาย ก็ได้กล่าวไว้ว่า
|
|
45,0009,004,<B>คำว่า ภควา เป็นคำประเสริฐที่สุด
|
|
45,0009,005,คำว่า ภควา เป็นคำสูงสุด พระตถาคตนั้น
|
|
45,0009,006,ทรงเป็นผู้ควรแก่ความเคารพคารวะ ด้วย
|
|
45,0009,007,เหตุนั้น จึงขนานพระนานว่า ภควา.</B>
|
|
45,0009,008,อันที่จริง คำพูดที่ระบุถึงบุคคลผู้ประเสริฐที่สุด กล่าวกันว่า ประเสริฐ
|
|
45,0009,009,ที่สุด เพราะดำเนินไปด้วยกันกับคุณอันประเสริฐที่สุด. อีกประการหนึ่ง ที่ชื่อ
|
|
45,0009,010,ว่า วจนะ เพราะอรรถว่า อันบุคคลกล่าว ได้แก่ความหมาย. เพราะเหตุนั้น
|
|
45,0009,011,ในบทว่า <B>ภควาติ วจนํ เสฏํ</B> จึงมีความหมายว่า ความหมายใดที่จะพึง
|
|
45,0009,012,พูดด้วยคำว่า <B>ภควา</B> นี้ ความหมายนั้นประเสริฐที่สุด. แม้ในบทว่า <B>ภควาติ
|
|
45,0009,013,วจนมุตฺตมํ</B> นี้ ก็นัยนี้แล. บทว่า <B>คารวยุตฺโต</B> ได้แก่ ชื่อว่า ทรงเป็นผู้
|
|
45,0009,014,ควรแก่ความเคารพคารวะ เพราะทรงประกอบด้วยคุณของบุคคลผู้เป็นที่เคารพ.
|
|
45,0009,015,อีกประการหนึ่ง พระตถาคต ชื่อว่า ทรงควรแก่ความเคารพ ก็เพราะเหตุที่
|
|
45,0009,016,ทรงควรซึ่งการการทำความเคารพอย่างดียิ่ง. หมายความว่า ทรงควรแก่ความ
|
|
45,0009,017,เคารพ. เมื่อเป็นเช่นนั้น คำว่า <B>ภควา</B> นี้ จึงเป็นคำเรียกบุคคลผู้วิเศษโดยคุณ
|
|
45,0009,018,บุคคลผู้สูงสุดกว่าสัตว์ และบุคคลผู้เป็นที่เคารพคารวะ ดังนี้แล.
|
|
45,0009,019,อีกประการหนึ่ง พึงทราบความหมายของบทว่า <B>ภควา</B> ตามนัยที่มา
|
|
45,0009,020,ในนิทเทสว่า
|
|
45,0009,021,<B>พระพุทธเจ้านั้น บัณฑิตขนานพระ
|
|
45,0009,022,นามว่า ภควา เพราะเหตุที่พระองค์ทรง</B>
|
|
|