|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
46,0021,001,คืออย่างไร ? คือ การละสักกายทิฏฐิ ด้วยการกำหนดนามรูป ละ
|
|
46,0021,002,อเหตุกทิฏฐิ และวิสมเหตุกทิฏฐิ ด้วยการกำหนดปัจจัย ละความสงสัย ด้วย
|
|
46,0021,003,การข้ามพ้นความสงสัย อันเป็นส่วนอื่นแห่งการกำหนดปัจจัยนั้นนั่นเอง ละการ
|
|
46,0021,004,ยึดถือว่าเรา ว่าของเรา ด้วยการพิจารณากลาปะ ละความสำคัญว่ามรรคใน
|
|
46,0021,005,ธรรมที่ไม่ใช่มรรค ด้วยการกำหนดมรรคและธรรมที่ไม่ใช่มรรค ละอุจเฉท-
|
|
46,0021,006,ทิฏฐิด้วยการเห็นความเกิดขึ้น ละสัสสตทิฏฐิ ด้วยการเห็นความเสื่อม ละความ
|
|
46,0021,007,"สำคัญว่าสิ่งที่ไม่มีภัย ในสิ่งที่มีภัย ด้วยการเห็นภัย, ละความสำคัญว่าความยินดี"
|
|
46,0021,008,ด้วยการเห็นโทษ ละความสำคัญว่าความยินดียิ่ง ด้วยการตามเห็นความ
|
|
46,0021,009,เบื่อหน่าย มีความเป็นผู้ไม่ใคร่เพื่อจะพ้น ด้วยมุญจิตุกัมยตาญาณ ละความ
|
|
46,0021,010,ไม่วางเฉย ด้วยอุเบกขาญาณ ละธัมมทิฏฐิ ด้วยอนุโลมญาณ และละการ
|
|
46,0021,011,กำหนดสังขารนิมิต อันตรงกันข้ามกับพระนิพพาน ด้วยโคตรภูญาณนี้ ชื่อว่า
|
|
46,0021,012,<B>ตทังคปหาน.</B>
|
|
46,0021,013,ก็การละนิวรณ์ทั้งหลาย ที่สมาธิอันต่างด้วยอุปจารสมาธิ และอัปปนา
|
|
46,0021,014,สมาธิกำจัดเสียได้ จนกระทั่งตนไม่เสื่อม (จากสมาธินั้น) และยังเป็นไปอยู่
|
|
46,0021,015,และการละกล่าวคือการไม่บังเกิดขึ้นแห่งปัจจนิกธรรมมีวิตกเป็นต้น ตามสมควร
|
|
46,0021,016,แก่ตน ชื่อว่า <B>วิกขัมภนปหาน</B>.
|
|
46,0021,017,ก็การละกล่าวคือการตัดขาด ซึ่งกองแห่งกิเลสอันเป็นฝ่ายของสมุทัย
|
|
46,0021,018,ที่ท่านกล่าวไว้แล้วโดยนัยเป็นต้นว่า เพื่อละทิฏฐิตามหน้าที่ของตน ในสันดาน
|
|
46,0021,019,ของตน โดยประกอบด้วยองค์มรรคนั้น ๆ เพราะได้เจริญอริยมรรค ๔ แล้ว
|
|
46,0021,020,โดยความไม่เป็นไปโดยส่วนเดียวอีก นี้ชื่อว่า <B>สมุจเฉทปหาน</B>.
|
|
|