|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
47,0017,001,เข้าไปยังสัณฐาคาร ประทับนั่งบนพุทธอาสน์ ซึ่งเขาปูลาดไว้แล้ว ฝ่ายภิกษุ.
|
|
47,0017,002,สงฆ์แล รวมทั้งพระราชาทั้งหลาย และมนุษย์ทั้งหลาย ก็ได้นั่ง ณ โอกาส
|
|
47,0017,003,สมควร แม้ท้าวสักกะจอมเทพ ก็นั่งกับเทวบริษัทในเทวโลกทั้งสอง เทวดา
|
|
47,0017,004,เหล่าอื่นก็ได้นั่งด้วยเทวบริษัทเช่นกัน ฝ่ายพระอานนทเถระ เที่ยวไปยังนคร
|
|
47,0017,005,เวสาลีจนทั่ว กระทำอารักขา แล้วมาพร้อมกับชาวนครเวสาลี นั่งลงแล้ว ณ
|
|
47,0017,006,ส่วนข้างหนึ่ง ณ สัณฐาคารนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสรตนสูตรนั้นนั่นแล
|
|
47,0017,007,แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งปวง.
|
|
47,0017,008,พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๑ ว่า <B>ยานีธ ภูตานิ</B> ดังต่อไปนี้ :-
|
|
47,0017,009,บรรดาคำเหล่านั้น คำว่า <B>ยานิ</B> ความว่า ภูตเหล่าใดมีศักดิ์น้อย
|
|
47,0017,010,ก็ตาม มีศักดิ์มากก็ตาม.
|
|
47,0017,011,บทว่า <B>อิธ</B> ได้แก่ในประเทศนี้ ท่านกล่าวหมายถึงสถานที่ประชุมกัน
|
|
47,0017,012,ในขณะนั้น.
|
|
47,0017,013,บทว่า <B>ภูตานิ</B> คำอธิบายว่า ถึงแม้ <B>ภูต</B> ศัพท์จะใช้ในความหมาย
|
|
47,0017,014,เหล่านี้ คือ
|
|
47,0017,015,๑. หมายถึงสิ่งที่เป็นจริง ดังในประโยคทั้งหลายมีประโยคเป็นต้น
|
|
47,0017,016,อย่างนี้ว่า <B>ภูตสฺมึ ปาจิตฺติยํ</B> เป็นปาจิตตีย์ในเพราะบอกอุตตริมนุษย์ธรรมที่
|
|
47,0017,017,มีจริงแต่อนุปสัมบัน
|
|
47,0017,018,๒. หมายถึงเบญจขันธ์ ดังในประโยคทั้งหลายมีประโยคเป็นต้นอย่าง
|
|
47,0017,019,นี้ว่า <B>ภูตมิทํ ภิกฺขเว สมนุปสฺสถ</B> ภิกษุทั้งหลาย เธอจงพิจารณาเบญจขันธ์นี้.
|
|
47,0017,020,๓. หมายถึงรูปมีปฐวีธาตุเป็นต้น ในธาตุทั้ง ๔ ดังในประโยคทั้งหลาย
|
|
47,0017,021,เป็นต้นอย่างนี้ว่า <B>จตฺตาโร โข ภิกฺขุ มหาภูตา เหตู</B> ดูก่อนภิกษุ มหา-
|
|
47,0017,022,ภูตรูป ๔ แลเป็นเหตุ.
|
|
|