tripitaka-mbu / 50 /500009.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
50,0009,001,บทว่า <B>สุณาถ</B> เป็นบทอาขยาต. นอกนี้เป็นบทนาม. และบทว่า
50,0009,002,<B>สีหานํว</B> ในเวลาเชื่อมความใช้เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ก็และการเชื่อมความในบทว่า
50,0009,003,<B>สีหานํว</B> นี้ ถึงท่านจะไม่ได้กล่าวไว้โดยสรุปก็จริง แต่โดยอรรถ ย่อมชื่อว่า
50,0009,004,เป็นอันท่านกล่าวไว้แล้วทีเดียว. เพราะเหมือนอย่าง เมื่อพูดว่า <B>โอฏฺ€สฺเสว
50,0009,005,มุขํ เอตสฺส</B> ดังนี้ ก็เท่ากับพูดความนี้ว่า หน้าของเขาเหมือนหน้าอูฐ ฉันใด
50,0009,006,แม้ในข้อนี้ก็ฉันนั้น เมื่อพูดว่า <B>สีหานํว</B> ก็เท่ากับพูดความนี้ว่า เหมือนการ
50,0009,007,บันลือของสีหะ ฉะนั้น. ถ้าจะต่อศัพท์ว่า <B>มุขะ</B> เข้าในบทว่า <B>โอฏฺ€สฺเสว</B>
50,0009,008,ได้ไซร้ แม้ในบทว่า <B>สีหานํว</B> นี้ ก็ต่อบทว่า <B>นทนฺตานํ </B> เข้าได้ (เหมือนกัน)
50,0009,009,เพราะฉะนั้น บทว่า <B>สีหานํ ว</B> จึงเป็นบทตัวอย่างที่นำมาแสดงให้เห็น.
50,0009,010,บทว่า <B>นทนฺตำนํ </B> แสดงถึงความเกี่ยวเนื่องกัน ของบทว่า <B>สีหานํว</B>
50,0009,011,นั้น โดยเป็นตัวอย่างที่นำมาแสดงให้เห็น.
50,0009,012,บทว่า <B>ทา€ีนํ </B> เป็นวิเสสนะของบทว่า <B>สีหานํ. </B> บทว่า คิริคพฺภเร
50,0009,013,แสดงถึงที่ซึ่งราชสีห์นั้นเที่ยวไป. บทว่า <B>สุณาถ</B> เป็นคำเชิญชวนในการฟัง.
50,0009,014,บทว่า <B>ภาวิตตฺตานํ </B>แสดงถึงมูลเค้าของสิ่งที่ควรฟัง. บทว่า <B>คาถา</B> ได้แก่
50,0009,015,คำที่แสดงถึงเรื่องที่น่าฟัง. บทว่า <B>อตฺถูปนายิกา</B> เป็นวิเสสนะของบทว่า
50,0009,016,<B>คาถา.</B> แท้จริงคำว่า <B>สีหานํ นทนฺตานํ ทา€ีนํ </B> ในคาถานี้มาแล้ว โดย
50,0009,017,เป็นปุงลิงค์โดยแท้ แต่เปลี่ยนลิงค์เสียแล้ว พึงทราบความ แม้โดยเป็นอิตถีลิงค์
50,0009,018,ว่า <B>สีหีนํ </B> เป็นต้น. อีกอย่าง โดยรูปเอกเสสสมาส ทั้งราชสีห์ และนางราชสีห์
50,0009,019,ชื่อว่าสีหะ. ก็บรรดาบทเหล่านั้น โดยบทมีอาทิว่า <B>สีหานํ</B>นิทานคาถาทั้ง ๓
50,0009,020,คาถาเหล่านี้ ใช้ได้ทั่วไปทั้งเถรคาถา และเถรีคาถา.
50,0009,021,พึงทราบวินิจฉัยในบทว่า <B>สีหานํว</B> นั้นต่อไป ชื่อว่า สีหะ เพราะ
50,0009,022,อดทน และเพราะฆ่า. อธิบายว่า เปรียบเหมือนราชสีห์ ที่เป็นพญามฤค
50,0009,023,ย่อมไม่มีอันตรายแม้จากสรภมฤค และช้างที่ตกมันแล้วเป็นต้น เพราะประกอบ