Book,Page,LineNumber,Text 31,0020,001,

อรรถกถาทุติยสังขิตตสูตร

31,0020,002,สูตรที่ ๓. คำว่า ตโต คือ พึงทราบความคละปนกันด้วยอำนาจ 31,0020,003,ผล. จริงอยู่ อินทรีย์ทั้งห้าที่สมบูรณ์เต็มที่แล้ว ก็ย่อมชื่อว่าเป็นอินทรีย์ของ 31,0020,004,อรหัตผล. บุคคลที่ประกอบด้วยอรหัตผล ก็เป็นพระอรหันต์ ที่อ่อนกว่านั้น 31,0020,005,ก็ย่อมชื่อว่าเป็นอินทรีย์ของอนาคามิผล ฯลฯ ที่อ่อนกว่านั้น ก็เป็นอินทรีย์ 31,0020,006,ของโสดาปัตติผล. บุคคลที่ประกอบด้วยโสดาปัตติผล ก็เป็นพระโสดาบัน 31,0020,007,ความเป็นต่าง ๆ ของผล ย่อมมีเพราะความเป็นต่าง ๆ ของอินทรีย์. ความ 31,0020,008,แตกต่างของบุคคล ย่อมมีเพราะความแตกต่างของอินทรีย์ เพราะความ 31,0020,009,แตกต่างกันของผล. 31,0020,010,จบอรรถกถาทุติยสังขิตตสูตรที่ ๓ 31,0020,011,

๔. ตติยสังขิตตสูตร

31,0020,012,

อินทรีย์ ๕ ไม่เป็นหมัน

31,0020,013,[๘๘๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อินทรีย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการ 31,0020,014,เป็นไฉน คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ๑ อินทรีย์ ๕ ประการนี้แล. 31,0020,015,[๘๘๑ ] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้เป็นพระอรหันต์ เพราะ 31,0020,016,อินทรีย์ ๕ ประการนี้เต็มบริบูรณ์ เป็นพระอนาคามี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อน 31,0020,017,กว่าอินทรีย์ของพระอรหันต์....เห็นพระโสดาบันผู้สัทธานุสารี เพราะอินทรีย์ ๕ 31,0020,018,ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ของพระโสดาบันผู้ธัมมานุสารี ดังพรรณนามาฉะนี้แล 31,0020,019,บุคคลผู้บำเพ็ญอรหัตมรรคให้บริบูรณ์ ย่อมได้ชมอรหัตผล บุคคลผู้บำเพ็ญ