Book,Page,LineNumber,Text 19,0046,001,สาธยายตั้ง ๑๐ ปี ตั้ง ๒๐ ปี ก็ไม่เลือนหาย ภิกษุนี้ชื่อว่าผู้ทรงสุตะ.บท 19,0046,002,ว่า สุตสนฺนิจโย ได้แก่ ผู้สั่งสมสุตะ ก็สุตะอันภิกษุใดสั่งสมไว้ในหีบคือหทัย 19,0046,003,คงอยู่ดุจรอยจารึกที่ศิลา และดุจมันเหลวราชสีห์ที่เข้าใส่ไว้ในหม้อทอง ภิกษุ 19,0046,004,นี้ ชื่อว่า ผู้มีสุตะเป็นที่สั่งสม. บทว่า ธตา ได้แก่ ตั้งอยู่ ทรงจำไว้ ช่ำชอง 19,0046,005,จริงอยู่ พระพุทธพจน์อันภิกษุบางรูปเรียนแล้ว ทรงจำไว้ช่ำชองไม่เคลื่อน 19,0046,006,คลาด ภิกษุนั้นเมื่อใคร ๆ พูดว่าท่านจงกล่าวสูตร หรือชาดกโน้นดังนี้ 19,0046,007,ย่อมกล่าวว่าเราท่อง เทียบเคียง ซักซ้อมแล้ว จักรู้ แต่สำหรับบางรูปทรงจำ 19,0046,008,ไว้ ช่ำชองเป็นเช่นกับภวังคโสต. เมื่อใครๆ กล่าวว่า ขอท่านจงกล่าวสูตร 19,0046,009,หรือชาดกโน้น เธอย่อมยกขึ้นกล่าวสูตรหรือชาดกนั้นได้ทันที. บทว่า 19,0046,010,ธตา ท่านหมายเอาภิกษุนั้น จึงกล่าวแล้ว. บทว่า วจสา ปริจิตา ได้แก่ เธอ 19,0046,011,ท่องแล้วด้วยวาจาด้วยสามารถแห่ง สุตตทสกะ วัคคทสกะ ปัณณาสทส- 19,0046,012,กะ. บทว่า มนสานุเปกฺขิตา ได้แก่ เพ่งด้วยจิต. เมื่อภิกษุใด คิดอยู่ด้วย 19,0046,013,ใจ ซึ่งพระพุทธพจน์ที่ตนท่องแล้วด้วยวาจา พระพุทธพจน์ย่อมปรากฏในที่ 19,0046,014,นั้นๆ คือปรากฏดุจรูปปรากฏแก่บุคคลผู้ยืนตามไฟดวงใหญ่ไว้ฉะนั้น.บท 19,0046,015,ว่า มนสานุเปกฺขิตา นั้น ท่านหมายเอาภิกษุนั้น จึงกล่าว. บทว่า ทิฏฺ€ิยา 19,0046,016,สุปฏิวิทฺธา ได้แก่ แทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญาโดยเหตุและผล. ในบท 19,0046,017,ว่า ปริมณฺฑเลหิ ปทพฺยญฺชเนหิ นี้ชื่อบทพยัญชนะ เพราะทำเนื้อความ 19,0046,018,ให้ปรากฏ ทำบทนั้นให้บริบูรณ์ ด้วยอักขระ กล่าวพยัญชนะ ๑๐ อย่างไม่ให้ 19,0046,019,เสียไป ชื่อว่า บทพยัญชนะราบเรียบ อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุใด เมื่อจะแสดง 19,0046,020,ธรรมในบริษัทอ้างสูตร หรือชาดกแล้ว เอาพระสูตรหรือชาดกอื่นมา 19,0046,021,อธิบาย กล่าวอุปมาของสูตรนั้น ให้เรื่องนั้นผ่านไป จับเรื่องนี้ วางเรื่องนั้น 19,0046,022,เลี่ยงไปอธิบายไปทางหนึ่ง ได้เวลาก็ลุกขึ้น ส่วนสูตรที่เธออ้างไว้ก็เป็นสักแต่ 19,0046,023,ว่าอ้างไว้เท่านั้น. ถ้อยคำของภิกษุนั้นชื่อว่า ไม่ราบเรียบ. ส่วนภิกษุใดอ้าง 19,0046,024,สูตรหรือชาดกไม่เอาบทภายในแม้บทหนึ่ง มาลบล้างอนุสนธิ สละเบื้อง