Book,Page,LineNumber,Text 30,0026,001,เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติ 30,0026,002,และสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนาม 30,0026,003,กาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ 30,0026,004,ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข เธอบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ 30,0026,005,ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุ 30,0026,006,ให้สติบริสุทธิ์อยู่ นี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ. 30,0026,007,จบวิภังคสูตรที่ ๘ 30,0026,008,

อรรถกถาวิภังคสูตร

30,0026,009,พึงทราบวินิจฉัยในวิภังคสูตรที่ ๘. 30,0026,010,บทว่า กตมา จ ภิกฺขเว สมฺมาทิฏฺ€ิ ความว่า พระผู้มีพระ- 30,0026,011,ภาคเจ้า ทรงจำแนกมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ โดยปริยายนั้นแล้ว ทรง 30,0026,012,เริ่มเทศนานี้ เหมือนทรงประสงค์จะจำแนกโดยปริยายอื่นอีก. 30,0026,013,ในบทเหล่านั้น บทว่า ทุกฺเข าณํ ความว่า ญาณอื่นเกิดขึ้น 30,0026,014,ด้วยอาการ ๔ ด้วยสามารถการฟัง ๑ การพิจารณารอบคอบ ๑ การแทงตลอด ๑ 30,0026,015,การพิจารณา ๑. แม้ในสมุทัยก็มีนัยนี้เหมือนกัน. ส่วนในสองบทที่เหลือ 30,0026,016,(นิโรธและมรรค) ญาณ ๓ อย่างเท่านั้น ย่อมควรเพราะการพิจารณาไม่มี 30,0026,017,กัมมัฏฐานในสัจจะ ๔ นี้ พระองค์ทรงแสดงแล้วด้วยบทว่า ทุกฺเข าณํ 30,0026,018,เป็นต้นด้วยอาการอย่างนี้. 30,0026,019,ในบทเหล่านั้น สัจจะ ๒ ข้างต้น เป็นวัฏฏะ ๒ ข้างปลายเป็น 30,0026,020,วิวัฏฏะ ในวัฏฏะและวิวัฏฏะเหล่านั้น ความยึดมั่นในกัมมัฏฐานของภิกษุมีใน