Book,Page,LineNumber,Text
17,0022,001,ได้มาด้วยการขับกล่อม เราไม่ควรบริโภค.
17,0022,002,มีความหมายว่า มยฺหํ (แก่เรา) ในประโยคเป็นต้นว่า ข้าแต่
17,0022,003,พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาส ขอพระผู้มีพระเจ้าทรงแสดงธรรม
17,0022,004,แก่ข้าพระองค์แต่โดยย่อเถิด.
17,0022,005,มีความหมายว่า มม ( ของเรา ) ในประโยคเป็นต้นว่า ภิกษุ
17,0022,006,ทั้งหลาย ขอให้พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด ดังนี้.
17,0022,007,แต่ในที่นี้ เม ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๒ อย่างว่า อันข้าพเจ้าได้ฟัง
17,0022,008,มา และว่า สุตะ ของเรา ดังนี้.
17,0022,009,สุตะ ศัพท์ ในคำว่า สุตํ นี้ มีอุปสรรค และไม่มีอุปสรรค
17,0022,010,มีเนื้อความหลายอย่างเป็นต้นว่า คมน (การไป) วิสฺสุต (ปรากฏ)
17,0022,011,กิลินฺน (เปียก) อุปจิต (สั่งสม) อนุโยค (ประกอบเนือง ๆ)
17,0022,012,โสตวิญฺเยฺย (รู้ทางหู) โสตทวารานุสารวิญญาณ (รู้ตามกระแส
17,0022,013,ทางหู).
17,0022,014,จริงอย่างนั้น สุตะ ศัพท์นั้น มีความหมายว่า ไป ในประโยค
17,0022,015,เป็นต้นว่า ไปแล้วโดยเสนา.
17,0022,016,มีความหมายว่า มีธรรมอันตนสดับตรับฟังแล้วอย่างแจ่มแจ้ง ใน
17,0022,017,ประโยคเป็นต้นว่า. ผู้สดับธรรมแล้วเห็น ( ธรรม) อยู่.
17,0022,018,มีความหมายว่า เปียกชุ่ม ของบุคคลผู้เปียกชุ่ม ในประโยคเป็นต้น
17,0022,019,ว่า เปียกชุ่มของบุคคลผู้เปียกชุ่ม.
17,0022,020,มีความหมายว่า สะสม ในประโยคเป็นต้นว่า บุญมิใช่น้อย อัน
17,0022,021,ท่านทั้งหลายสะสมแล้ว.
17,0022,022,มีความหมายว่า ประกอบเนือง ๆ ในฌานเนือง ๆ ในประโยค