Book,Page,LineNumber,Text 18,0025,001,บทว่า ภวทิฏฺ€ิ ได้แก่ ความเห็นว่าเที่ยง. บทว่า วิภวทิฏฺ€ิ ได้แก่ 18,0025,002,ความเห็นว่าขาดสูญ. บทว่า ภวทิฏฺ€ิ อลฺลีนา ความว่า ผู้แอบอิง ความ 18,0025,003,เห็นว่าเที่ยงด้วยอำนาจตัณหาทิฏฐิ. บทว่า อุปคตา ความว่า เข้าถึงด้วย 18,0025,004,อำนาจตัณหาทิฏฐิเทียว. บทว่า อชฺโฌสิตา ความว่า ตามเข้าไปด้วยอำนาจ 18,0025,005,ตัณหาทิฏฐินั้นเทียว. บทว่า วิภวทิฏฺ€ิยา เต ปฏิวิรุทฺธา ความว่า สมณะ 18,0025,006,หรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด เป็นผู้ยินร้ายว่า พวกท่านโง่เขลาพร้อมด้วยผู้ 18,0025,007,กล่าวว่าขาดสูญ ไม่รู้ว่า โลกนี้เที่ยง โลกนี้ไม่ขาดสูญ ขวนขวายในการทะเลาะ 18,0025,008,เป็นนิตย์อยู่. แม้ในวาระที่สอง ก็นัยนี้เหมือนกัน. ในบทมีว่า สมุทยญฺจ 18,0025,009,เป็นต้น แดนเกิดของทิฏฐิทั้งหลายมีสองอย่าง คือ ขณิกสมุทัย ๑ ปัจจยสมุทัย 18,0025,010,๑. ความเกิดของทิฏฐิทั้งหลาย ชื่อว่า ขณิกสมุทัย ฐานะที่ตั้งอยู่ไม่ได้แห่ง 18,0025,011,ทิฏฐิทั้งหลาย ชื่อว่า ปัจจยสมุทัย. อย่างไร. คือ ขันธ์ก็ดี อวิชชาก็ดี ผัสสะ 18,0025,012,ก็ดี สัญญาก็ดี วิตกก็ดี อโยนิโสมนสิการก็ดี ปาปมิตรก็ดี เสียงกึกก้องอย่างอื่นก็ดี 18,0025,013,จัดเป็นทิฏฐิฐานะ. ขันธ์ทั้งหลายเป็นเหตุ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย แห่งความ 18,0025,014,เกิดขึ้นของทิฏฐิทั้งหลาย เพราะอรรถว่าตั้งขึ้นพร้อม. แม้ขันธ์ทั้งหลายชื่อว่า 18,0025,015,ทิฏฐิฐานะ ด้วยประการฉะนี้. อวิชชา ผัสสะ สัญญา วิตก อโยนิโสมนสิการ 18,0025,016,ปาปมิตร เสียงกึกก้องฝ่ายอื่น เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งความเกิดขึ้นของทิฏฐิ 18,0025,017,ทั้งหลาย เพราะอรรถว่าตั้งขึ้นพร้อม. แม้เสียงกึกก้องฝ่ายอื่น ชื่อว่า ทิฏฐิฐานะ 18,0025,018,ด้วยประการฉะนี้. แม้การตั้งอยู่ไม่ได้มีสองอย่างเท่านั้น คือ ขณิกัตถังคมะ ๑ 18,0025,019,ปัจจัยตถังคมะ ๑. ความสิ้น ความเสื่อม ความแตก ความสลาย ความไม่เที่ยง 18,0025,020,ความหายไป ชื่อว่า ขณิกัตถังคมะ โสดาปัตติมรรค ชื่อ ปัจจัยตถังคมะ. 18,0025,021,ก็โสดาปัตติมรรค ท่านกล่าวว่า ทำลายพร้อมซึ่งทิฏฐิทั้งหลาย. บทว่า อสฺสาทํ 18,0025,022,คือ กล่าวหมายถึงอานิสงส์อันมีทิฏฐิเป็นมูล. อธิบายว่า พระศาสดาทรงมีทิฏฐิใด 18,0025,023,สาวกทั้งหลายก็เป็นผู้มีทิฏฐินั้น สาวกทั้งหลาย ย่อมสักการะ เคารพ นับถือ