Book,Page,LineNumber,Text 38,0044,001,ชื่อว่า อุภิธรรม วินัยปิฎกทั้งสิ้น ชื่อว่า วินัย การทำการระงับกิเลส 38,0044,002,ชื่อว่า อภิวินัย อธิบายว่า เป็นผู้มีความปราโมทย์อย่างโอฬารในธรรม 38,0044,003,อภิธรรม วินัย และอภิวินัยนั้นทั้งหมด ด้วยประการฉะนี้. บทว่า กุสเลสุ 38,0044,004,ธมฺเมสุ เป็นสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถตติยาวิภัตติ. อธิบายว่า เป็นผู้ไม่ 38,0044,005,ทอดธุระ เพื่อต้องการบรรลุธรรมเหล่านั้น เพราะเหตุแห่งกุศลธรรม 38,0044,006,ที่เป็นไปในภูมิ ๔. 38,0044,007,จบอรรถกถาปฐมนาถสูตรที่ ๗ 38,0044,008,

๘. ทุติยนาถสูตร

38,0044,009,

ว่าด้วยธรรมอันกระทำที่พึ่ง ๑๐ ประการ

38,0044,010,[๑๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีที่พึ่งอยู่เถิด อย่า 38,0044,011,เป็นผู้ไม่มีที่พึ่งอยู่เลย (เพราะว่า) บุคคลผู้ไม่มีที่พึ่งย่อมอยู่เป็นทุกข์ 38,0044,012,ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอันกระทำที่พึ่ง ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการ 38,0044,013,เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล ฯลฯ 38,0044,014,สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ภิกษุผู้เป็นเถระก็ดี เป็นมัชฌิมะ 38,0044,015,ก็ดี เป็นนวกะก็ดี ย่อมสำคัญภิกษุนั้นว่า ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีล ฯลฯ 38,0044,016,สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลายหนอ ดังนี้ ว่าเป็นผู้พึงว่ากล่าวสั่ง 38,0044,017,สอน ภิกษุนั้นอันภิกษุผู้เป็นเถระ ผู้เป็นมัชฌิมะ ผู้เป็นนวกะ อนุเคราะห์ 38,0044,018,แล้ว พึงหวังควรเจริญในกุศลธรรมทั้งหลายอย่างเดียว ไม่พึงหวังความ 38,0044,019,เสื่อมเลย นี้เป็นธรรมกระทำที่พึ่ง. 38,0044,020,อีกประการหนึ่ง ภิกษุเป็นพหูสูต ฯลฯ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ 38,0044,021,ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นเถระก็ดี ผู้เป็นมัชฌิมะก็ดี ผู้เป็นนวกะก็ดี ย่อมสำคัญ