Book,Page,LineNumber,Text 40,0035,001,"""ธรรมและอธรรม ๒ ประการ ให้ผลเหมือนกัน" 40,0035,002,หามิได้ อธรรมย่อมนำไปสู่นรก ธรรมย่อม 40,0035,003,"ให้ถึงสุคติ."" " 40,0035,004,ดังนี้ ชื่อว่าคุณธรรม (แปลว่าธรรมคือคุณ). ธรรมศัพท์นี้ ใน 40,0035,005,"คำว่า ""ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมงามในเบื้องต้น แก่ท่านทั้งหลาย"" " 40,0035,006,ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าเทศนาธรรม (แปลว่าธรรมคือเทศนา ). ธรรมศัพท์ 40,0035,007,"นี้ ในคำว่า ""ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง กุลบุตรบางจำพวกในโลกนี้ ย่อม" 40,0035,008,"เรียนธรรม คือสุตตะ เคยยะ"" ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่า ปริยัติธรรม" 40,0035,009,"(แปลว่าธรรมคือปริยัติ). ธรรมศัพท์นี้ ในคำว่า ""ก็สมัยนั้นแล" 40,0035,010,"ธรรมทั้งหลายย่อมมี ขันธ์ทั้งหลายย่อมมี"" ดังนี้ เป็นต้น ชื่อว่า" 40,0035,011,นิสสัตตธรรม (แปลว่าธรรมคือสภาพที่มิใช่สัตว์) นัยแม้ในบทว่า 40,0035,012,"""นิชชีวธรรม"" (ซึ่งแปลว่าธรรมคือสภาพมิใช่ชีวิต) ก็ดุจเดียวกัน." 40,0035,013,ในธรรม ๔ ประการนั้น นิสสัตตธรรมหรือนิชชีวธรรม พระศาสดาทรง 40,0035,014,ประสงค์แล้วในที่นี้. นิสสัตตธรรมหรือนิชชีวธรรมนั้น โดยความก็ 40,0035,015,"อรูปขันธ์ ๓ ประการ คือ ""เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.""" 40,0035,016,เหตุว่าอรูปขันธ์ ๓ ประการนั่น ชื่อว่ามีใจเป็นหัวหน้าของอรูปขันธ์ ๓ 40,0035,017,ประการนั่น. 40,0035,018,"มีคำถามว่า ""ก็ใจ มีวัตถุเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน เกิดใน" 40,0035,019,ขณะเดียวกัน พร้อมกับธรรมเหล่านั้น ไม่ก่อนไม่หลังกว่ากัน ชื่อว่า 40,0035,020,"เป็นหัวหน้าของธรรมเหล่านั้นอย่างไร ?""" 40,0035,021,"มีคำแก้ว่า "" ใจ ได้ชื่อว่าเป็นหัวหน้าของธรรมเหล่านั้น ด้วย" 40,0035,022,อรรถว่า เป็นปัจจัยเครื่องยังธรรมให้เกิดขึ้น. เหมือนอย่างว่า เมื่อพวก