Book,Page,LineNumber,Text 47,0040,001,การเกิดขึ้นในสกุล และหาได้อาศัยการเป็นผู้มีผิวพรรณงามเป็นต้นไม่ แต่ได้ 47,0040,002,ทรงอาศัย ความที่พุทธรัตนะเป็นรัตนะที่ไม่มีประมาณด้วยคุณทั้งหลายมีสีล 47,0040,003,ขันธ์และสมาธิขันธ์เป็นต้นในโลก ตั้งแต่อเวจี จนถึงภวัคคพรหมเป็นที่สุด. 47,0040,004,จึงทรงประกอบสัจวาจาว่า 47,0040,005,อิทฺปิ พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ 47,0040,006,เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ 47,0040,007,พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต 47,0040,008,ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแต่สัตว์ 47,0040,009,ทั้งหลายดังนี้. 47,0040,010,เนื้อความแห่งพระคาถานั้นว่า ทรัพย์เครื่องปลื้มใจหรือรัตนะอย่างใด 47,0040,011,อย่างหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือในสวรรค์ทั้งหลาย พุทธรัตนะ 47,0040,012,แม้นี้ ชื่อว่าประณีต เพราะไม่เสมอเหมือนกับทรัพย์เครื่องปลื้มใจหรือรัตนะนั้น 47,0040,013,ด้วยคุณทั้งหลายเหล่านั้น ๆ ถ้าหากว่าคำที่กล่าวนี้ เป็นคำสัตย์จริง ด้วยความ- 47,0040,014,สัจนี้ ขอความสวัสดีจงมี คือ ขอความดีงาม ได้แก่ ความไม่มีโรค ความไม่ 47,0040,015,มีอุปัทวะ จงมีแก่ปาณะสัตว์ทั้งหลายเหล่านี้. ก็ในข้อนี้มีอธิบายว่า จักษุ ชื่อว่า 47,0040,016,เป็นของสูญ สูญจากความเป็นตน หรือจากความเป็นของที่เกี่ยวเนื่องกับตน 47,0040,017,"ในประโยคทั้งหลายมีอาทิอย่างนี้ว่า ""ดูก่อนอานนท์ จักษุแลชื่อว่าเป็นของสูญ" 47,0040,018,"จากตนหรือจากสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับตน"" แต่เมื่อถือเอาโดยประการนอกนี้ จักษุ" 47,0040,019,ก็จักไม่พึงสำเร็จด้วยคำว่า ตน หรือสิ่งที่เนื่องด้วยตน ฉันใด คำที่ว่ารัตนะ 47,0040,020,อันประณีตก็พึงทราบเนื้อความนี้ว่า ความเป็นรัตนะอันประณีต คือรัตนภาพ 47,0040,021,ประณีต แต่เมื่อถือเอาโดยประการนอกนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็หาได้สำเร็จ