File size: 61,450 Bytes
e62af42
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
246
247
248
249
250
251
252
253
254
255
256
257
258
259
260
261
262
263
264
265
266
267
268
269
270
271
272
273
274
275
276
277
278
279
280
281
282
283
284
285
286
287
288
289
290
291
292
293
294
295
296
297
298
299
300
301
302
303
304
305
306
307
308
309
310
311
312
313
314
315
316
317
318
319
320
321
322
323
324
325
326
327
328
329
330
331
332
333
334
335
336
337
338
339
340
341
342
343
344
345
346
347
348
349
350
351
352
353
354
355
356
357
358
359
360
361
362
363
364
365
366
367
368
369
370
371
372
373
374
375
376
377
378
379
380
381
382
383
384
385
386
387
388
389
390
391
392
393
394
395
396
397
398
399
400
401
402
403
404
405
406
407
408
409
410
411
412
413
414
415
416
417
418
419
420
421
422
423
424
425
426
427
428
429
430
431
432
433
434
435
436
437
438
439
440
441
442
443
444
445
446
447
448
449
450
451
452
453
454
455
456
457
458
459
460
461
462
463
464
465
466
467
468
469
470
471
472
473
474
475
476
477
478
479
480
481
482
483
484
485
486
487
488
489
490
491
492
493
494
495
496
497
498
499
500
501
502
503
504
505
506
507
508
509
510
511
512
513
514
515
516
517
518
519
520
521
522
523
524
525
526
527
528
529
530
531
532
533
534
535
536
537
538
539
540
541
542
543
544
545
546
547
548
549
550
551
552
553
554
555
556
557
558
559
560
561
562
563
564
565
566
567
568
569
570
571
572
573
574
575
576
577
[
    {
        "No": 1,
        "Question": " พิจารณาแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนดังนี้ (มีแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอน) n            เขียน E1ถึง E5  ที่ให้ E0 = 0 ในหน่วย 10^-21 kJ  n = 5      E5 = -0.088    x 10^-21 kJ  n = 4      E4 = -0.14     x 10^-21 kJ  n = 3      E3 บอก E3 = -0.24  x 10^-21 kJ  n = 2      E2 = -0.55    x 10^-21 kJ  n = 1      E1 = -2.18    x 10^-21 kJ  อะตอมไฮโดรเจนในสถานะพัน สามารถดูดกลืนแสงที่มีพลังงาน 1.80 x 10^-21 kJ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ",
        "Choices": {
            "A": "ได้ เพราะอิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ n = 2 ไป n = 3",
            "B": " ไม่ได้ เพราะอะตอมไฮโดรเจนสามารถดูดกลืนพลังงานเท่าใดก็ได้",
            "C": "ไม่ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kJ คือพลังงานที่น้อยเกินกว่าที่จำทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไฮโดรเจน",
            "D": "ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kj คือค่าให้พลังงานที่มีมากกว่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานที่ 2",
            "E": "ไม่ได้ 1.80 x 10^-21 kj ไม่ใช่ค่าที่ตรงกับค่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานใด ๆ ของอะตอมไฮโดรเจน"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 2,
        "Question": " กำหนดข้อมูลดังนี้ อิเล็กตรอนในอะตอมที่สถานะพื้นจะอยู่ในออร์บิทัลที่ระดับพลังงานต่ำสุดที่เป็นไปได้เมื่ออะตอมได้รับพลังงานมากพอจะเปลี่ยนไปอยู่ในสถานะกระตุ้นโดยมีเวลาเพียงสั้น ๆ และเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนไปสู่ออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่ำขึ้น จากข้อมูลข้างต้น การจัดอิเล็กตรอนในสถานะพื้นและสถานะกระตุ้นของอะตอมที่มีกลางข้อใดถูกต้อง ",
        "Choices": {
            "A": "สถานะพื้น =1s² 2p⁶ 3s สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² ",
            "B": " สถานะพื้น = 1s² 2s² สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s¹  3p⁵ 4s¹",
            "C": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s²    สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s² ",
            "D": "สถานะพื้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² สถานะกระตุ้น = 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁵ 4s¹ ",
            "E": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s¹ สถานะกระตุ้น = 1s² 2s²"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 3,
        "Question": " ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p²  ธาตุ D : [Ne]3s² 4s¹  ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด  ",
        "Choices": {
            "A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
            "B": "ธาตุ E เป็นธาตุแทรนซิซัน ",
            "C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
            "D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
            "E": "ธาตุ A มักมีค่าอิเฃ็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่า D"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,
    {
        "No": 3,
        "Question": " ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p²  ธาตุ D : 1s² 2s² 3s¹  ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด  ",
        "Choices": {
            "A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
            "B": "ธาตุ E เป็นธาตุตามรณรัย ",
            "C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
            "D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
            "E": "ธาตุ A มักถ่ายทอดโครงแบบอิเล็กทรอนิกส์ของก๊าซมีตระกูลธาตุ D"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,
    {
        "No": 4,
        "Question": "โครงสร้างอิเล็กตรอนที่เสถียรที่สุดของกรดไนตริก (HNO₃) มีจำนวนพันธะเดี่ยวทั้งหมด x พันธะคู่ทั้งหมด y พันธะและอิเล็กตรอนอิสระอยู่โดดเดี่ยวทั้งหมด z คู่ ถ้า x, y และ z ข้อใดถูก มีตารางดังนี้:",
        "Choices": {
            "A": "x=3,y = 1 ,z =7",
            "B": "x= 4,y = 0 ,z  9 ",
            "C": "x= 3,y = 1 ,z  8 ",
            "D": "x= 2,y = 2 ,z  6 ",
            "E": "x= 4,y = 0 ,z 8 "
        },
        "Answer": "A"
    }
    ,
    {
        "No": 5,
        "Question": "ข้อใดเป็นสารที่มีโครงสร้างเรโซแนนซ์จำนวนมากที่สุด โดยจำนวนเวลาเอาแช่อิเล็กตรอนแต่ละอะตอมไม่เกิน 8",
        "Choices": {
            "A": "SO₂",
            "B": "NO₂",
            "C": "CO₂",
            "D": "SO₃²⁻",
            "E": "CH₃COO⁻"
        },
        "Answer": "E"
    }
    ,
    {
        "No": 6,
        "Question": "5.ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประกอบไปด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (CₓHᵧ) ดำสมการมีดังนี้**[ CₓHᵧ(g) + O₂(g) rightarrow CO₂(g) + H₂O(g) ... (ยังไม่ดุล) ]ขึ้นปฏิกิริยาการเผาไหม้จะเกี่ยวข้องกับสารประกอบเอง 3 ชนิดคือ 1 mol มีค่าพลังงานการเกิดปฏิกิริยาที่คำนวณจากพลังงานพันธะ ในโมเลกุลที่เกี่ยวข้อง ดังแสดงในตาราง โดยกำหนดให้พันธชนิดเดียวกันกันระหว่างอะตอมคู่เดียวกันในทุกโมเลกุลมีต่าทางพลังงานพันธะเท่ากัน ชนิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอน | พลังงานการเกิดปฏิกิริยา (kJ/mol)\nไซโคลเฮกเซน (C6H12) | ΔHX\nไซโคลโพรเพน (C3H6) | ΔHY\nเอททีน (C2H4) | ΔHZ\n\nพิจารณาข้อความสัมพันธ์ของพลังงานการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้:\n\nก. ΔHX = 2ΔHY\nข. ΔHX = 3ΔHZ\nค. ΔHX - ΔHY = ΔHZ",
        "Choices": {
            "A": "ก. เท่านั้น",
            "B": "ข. เท่านั้น",
            "C": "ค. เท่านั้น",
            "D": "ก และ ข",
            "E": "ข และ ค"
        },
        "Answer": "A"
    }
    ,
    {
        "No": 7,
        "Question": "ข้อความยืนคำอธิบายสารประกอบหมู่ VIIA นี้ ใดถูกต้อง*",
        "Choices": {
            "A": "วิธีหนึ่งที่ใช้เตรียมแก๊สคลอรีน คือ แยกสารละลาย NaCl อิ่มตัวด้วยกระแสไฟฟ้า ",
            "B": "เมื่อผสมสารละลาย NaCl กับ Na แล้วเติม CCl₄, เขย่าแรงๆจะพบว่าชั้น CCl₄ เป็นสีม่วง",
            "C": "เมื่อผสมสารละลายไอโอดีนใน CCl₄ กับสารละลาย KBr ในน้ำ จะสังเกตเห็นสารละลายสีส้มในชั้นของ CCl₄",
            "D": "ธาตุหมู่นี้มีค่า EN สูง จึงเกิดสารประกอบไอออนิกกับธาตุกลุ่มอื่น ๆ ยกเว้นกับธาตุหมู่ VIIA ด้วยกัน จะเป็นสารโคเวเลนต์",
            "E": "ฟลูออรีนมีค่า E° สูงมาก แสดงเด่นที่สามารถออกซิไดส์สารประกอบฟลูออไรด์ให้เป็นธาตุฟลูออรีนได้ มีเพียงแก๊สคลอรีนเท่านั้น"
        },
        "Answer": "A"
    }
    ,
    {
        "No": 8,
        "Question": "ธาตุ M, L และ Q มีเลขอะตอมเท่ากับ 22, 28 และ 30 ตามลำดับการเรียงเทียบเลขออกซิเดชันและจำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยวของ M, L และ Q ในสารประกอบเชิงซ้อน [M(H(_2)O)(_6)]Cl(_2), K(_2)[LCl(_4)] และ [Q(NH(_3))(_4)]SO(_4) ข้อใดถูกต้อง  ตาราง: ในchoice แบ่งออกเป็น * เลขออกซิเดชัน * จำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยว",
        "Choices": {
            "A": "Q < L < M    M < L < Q ",
            "B": "Q < L < M    Q < M < L",
            "C": "Q < L < M    Q < M < L ",
            "D": "L = Q < M    M = Q < L",
            "E": "L = Q < M    Q < M < L"
        },
        "Answer": "E"
    },
        {
        "No": 9,
        "Question": "วัตถุก้อนหนึ่งมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 2 จำนวน 8.50 mg ครึ่งชีวิตของ Z เท่ากับ 12 ปี ก่อนหน้าย้อนหลังไป 72 ปี วัดถุก้อนนี้นี้ Z ที่อยู่จะเหลือกี่ mg (กำหนดให้ 1 ปีมี 365 วัน)",
        "Choices": {
            "A": "51",
            "B": "136",
            "C": "272",
            "D": "544",
            "E": "1088"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 10,
        "Question": "ธาตุ G และ T มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 และ 25 ตามลำดับ สมบัติของธาตุหรือสารประกอบของธาตุคู่ดังกล่าวข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "ธาตุ T ทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างรุนแรง เกิดแก๊สไฮโดรเจน",
            "B": "ธาตุ G รวมตัวกับธาตุ T ได้สารประกอบไอออนิกที่มีสูตรเป็น GT",
            "C": "ธาตุ T นำไฟฟ้าได้และมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าเมื่อเกิดสารประกอบชนิดต่าง ๆ",
            "D": "เมื่อผสมสารละลายของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ G กับ Na₂CO₃ จะเกิดตะกอนสีขาวเกิดขึ้น",
            "E": "ธาตุ G ทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน ได้ของแข็งสีขาว ซึ่งละลายน้ำได้และสารละลายมีสมบัติเป็นเบส"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 11,
        "Question": "ถ้าการผลิตยาสีฟันฟลูออไรด์ทำโดยการเติมแคลเซียมฟลูออไรด์เพื่อให้ได้ปริมาณฟลูออไรด์ตามที่ต้องการ ในยาสีฟันหลอดหนึ่งที่ระบุว่ามีฟลูออไรด์ 500 ppm และในหลอดนั้นมียาสีฟัน 50.0 g จะมีปริมาณแคลเซียมฟลูออไรด์อยู่กี่มิลลิกรัม",
        "Choices": {
            "A": "1.03",
            "B": "25.0",
            "C": "51.3",
            "D": "103",
            "E": "205"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 12,
        "Question": "การผลิตทองแดงทำได้โดยใช้วิธีการถลุงที่แร่ชนิดต่างๆ ที่มีทองแดงเป็นองค์ประกอบ สมมุติว่านักลงทุนการผลิตทองแดงคิดว่าต้นทุนสินแร่ที่ต้องใช้ซื้อสินแร่เท่ากับในการผลิตทองแดง 1 kg ที่มีราคาต้นทุนต่ำที่สุด ควรเลือกซื้อสินแร่ที่มีสารประกอบของแร่ชนิดใด กำหนดให้ต้นทุนแร่ทุกชนิดมีราคาเดียวกันต่อโลกรัมเท่ากัน และในสินแร่แต่ละก้อนมีสารประกอบทองแดงเพียงชนิดเดียวในปริมาณร้อยละโดยมวลเท่ากัน",
         "Choices": {
        "A": "Cu2S (159 g/mol)",
        "B": "CuSO4 (159.5 g/mol)",
        "C": "CuFeS2 (183.5 g/mol)",
        "D": "Cu₂CO₃(OH)₂ (221 g/mol)",
        "E": "Cu₃(CO₃)₂(OH)₂ (344.5 g/mol)"
        },
        "Answer": "A"
    },
   
    {
        "No": 13,
        "Question": "สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุ X, Y และ Z มีจำนวนธาตุ X 2 mol เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวได้ XY 2 mol และ Z2 3 mol สารประกอบนี้มีอัตราส่วนโดยโมลของ X:Y:Z เป็นเท่าใด",
        "Choices": {
            "A": "1 : 1 : 3",
            "B": "1 : 2 : 3",
            "C": "2 : 1 : 3",
            "D": "2 : 2 : 3",
            "E": "4 : 2 : 3"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 14,
        "Question": "พิจารณาปฏิกิริยาทางเคมีดังสมการต่อไปนี้\n\n| ปฏิกิริยาเคมี | สมการเคมี (ยังไม่ดุล) |\n| --- | --- |\n| ก | S₈(s) + O₂(g) → SO₂(g) |\n| ข | H₂(g) + O₂(g) → H₂O(g) |\n| ค | HOBr(g) + HBr(g) → H₂O(g) + Br₂(g) |\n| ง | CO₂(g) + H₂(g) + C(s) → CH₃OH(g) |\nที่ภาวะเดียวกัน ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดมีปริมาณรวมของแก๊สที่ทำปฏิกิริยาเท่ากับปริมาตรรวมของแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ข",
            "B": "ก และ ค",
            "C": "ข และ ค",
            "D": "ข และ ง",
            "E": "ค และ ง"
        },
        "Answer": "B"
    },
    {
        "No": 15,
        "Question": "โลหะชนิดหนึ่ง 10.0 mol ทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในบรรยากาศอย่างสมบูรณ์ได้ออกไซด์ที่พบในธรรมชาติของโลหะนั้น 510 g โลหะชนิดนี้คือธาตุใด (มวลอะตอมของ Mg = 24, Al = 27, Ca = 40, Fe = 56, Cu = 63.5)",
        "Choices": {
            "A": "Mg",
            "B": "Al",
            "C": "Ca",
            "D": "Fe",
            "E": "Cu"
        },
        "Answer": "B"
    },
    {
        "No": 16,
        "Question": "ทำการทดลองโดยผสมสารละลาย K₂CrO₄ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ใส่หลอดทดลอง 3 หลอด จากนั้นเติมน้ำและสารละลาย AgNO₃ เข้มข้น 0.20 mol/dm³ ลงไปในแต่ละหลอด ใช้แท่งแก้วคนให้สารละลายผสมกัน ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Ag₂CrO₄ และ KNO₃ โดยปริมาณสารของสารละลาย K₂CrO₄ น้ำและสารละลาย AgNO₃ ที่ใส่ในแต่ละหลอดแสดงในตาราง :\n\n| หลอดที่ | ปริมาณ (cm³) |\n| --- | --- |\n| | สารละลาย K₂CrO₄ | น้ำ | สารละลาย AgNO₃ |\n| I | 1.00 | 5.00 | 4.00 |\n| II | 3.00 | 3.00 | 4.00 |\n| III | 5.00 | 1.00 | 4.00 |\n\nสารก่อตะกอนปริมาณของปฏิกิริยาในแต่ละหลอด ข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "AgNO₃ | AgNO₃ | AgNO₃",
            "B": "ไม่มี | AgNO₃ | K₂CrO₄",
            "C": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | K₂CrO₄",
            "D": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | AgNO₃",
            "E": "K₂CrO₄ | ไม่มี | AgNO₃"
        },
        "Answer": "E"
    },
    {
        "No": 17,
        "Question": "พิจารณาสมบัติของสารต่อไปนี้:\n\nผลึกของแข็ง A: จุดหลอมเหลว 119°C, จุดเดือด 445°C, ความแข็งไม่ค่อยแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง B: จุดหลอมเหลว 1723°C, จุดเดือด 2230°C, ความแข็งแข็งมาก, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง C: จุดหลอมเหลว 2852°C, จุดเดือด 3600°C, ความแข็งแข็งปานกลาง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง D: จุดหลอมเหลว 1085°C, จุดเดือด 2562°C, ความแข็งนำไฟฟ้า, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว",
        "Choices": {
            "A": "B เป็นผลึกโลหะ",
            "B": "D เป็นลึกโมเลกุล",
            "C": "C เป็นสารไอออนิก",
            "D": "A และ B เป็นผลึกโมเลกุล",
            "E": "C เป็นผลึกโควาเลนต์ร่างตาข่าย"
        },
        "Answer": "C"
    },
   
    {
        "No": 18,
        "Question": "พิจารณาของเหล่าต่อไปนี้\n\n| ของเหลว | สูตร | มวลต่อโมล (g/mol) |\n| --- | --- | --- |\n| เอทานอล | C₂H₆O | 46 |\n| ไดเอทิลอีเทอร์ | C₄H₁₀OC₂H₅ | 74 |\n| เพนทานอล | C₅H₁₂O | 92 |\n| กลีเซอรอล | CH₂(OH)CH(OH)CH₂(OH) | 92 |\n\nเมื่อหยดของเหลวแต่ละชนิดลงบนแผ่นกระจก และสังเกตลักษณะของหยดของเหลวทันที หยดของเหลวที่มีรูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด และแบนหรือกระจายออกมากที่สุด คือข้อใด",
        "Choices": {
            "A": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - กลีเซอรอล",
            "B": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - เอทานอล",
            "C": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เอทานอล - ไดเอทิลอีเทอร์",
            "D": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เพนเทน",
            "E": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เอทานอล"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 19,
        "Question": "เมื่อบรรจุโบรมีน (Br₂) ในภาชนะสุญญากาศขนาด 410 cm³ แล้วทำให้กลายเป็นไอจนหมดที่อุณหภูมิ 27 °C พบว่าภายในภาชนะมีความดันเป็น 228 mmHg ไอโบรมีนในภาชนะดังกล่าวมีกี่กรัม (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹)",
        "Choices": {
            "A": "7.9 x 10⁻³",
            "B": "5.0 x 10⁻³",
            "C": "0.40",
            "D": "0.80",
            "E" : "3.8"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 20,
        "Question": "สารชนิดหนึ่งมีสูตรเอมมลีคูลเป็น CH2 สารนี้ 0.70 กรัม ในสถานะแก๊สที่อุณหภูมิ 27 °C ความดัน 0.82 atm มีปริมาตร 0.300 L สูตรโมเลกุลของสารนี้เป็นดังถัดไปนี้ (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹)",
        "Choices": {
            "A": "C3H6",
            "B": "C2H4",
            "C": "C3H10",
            "D": "C4H12",
            "E": "C2H14"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,{
        "No": 21,
        "Question": "กำหนดให้สาร A ทำปฏิกิริยากลับกับสาร B ให้สาร P ดังสมการเคมีที่สมดุลแล้ว ดังนี้\n\n2A (aq) + B (aq) ⟶ 2P (aq)\n\nในการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาที่กำหนด โดยติดตามความเข้มข้นของสารที่เวลาต่าง ๆ ดังนี้:\n\n| การทดลองที่ | เวลา (s) | ความเข้มข้น (mol/dm³) |\n| --- | --- | --- |\n| | | A | B | C |\n| 1 | 0 | 0.0300 | 0.0100 | 0 |\n| 2 | 100 | 0.0200 | 0.0050 | 0.0100 |\n| 3 | 200 | 0.0140 | 0.0040 | 0.0160 |\n| 4 | 300 | 0.0100 | 0.0010 | 0.0180 |\n| 5 | 400 | 0.0110 | 0.00050 | 0.0190 |\n\nอัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นช่วงเวลาที่กำหนด ข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "ช่วงเวลา (S) 0 - 100 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-4",
            "B": "ช่วงเวลา (S) 100 - 200 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 3.00 × 10^-5",
            "C": "ช่วงเวลา (S) 200 - 300 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 2.00 × 10^-5",
            "D": "ช่วงเวลา (S) 300 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-5",
            "E": "ช่วงเวลา (S) 0 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.90 × 10^-3"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 22,
        "Question": "กิจกรรมแสดงกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยาการสลายตัวของสารตั้งต้นเป็นผลิตภัณฑ์ดังนี้\n\nกราฟแสดงให้เห็นพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ และมีพลังงานกระตุ้นที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดปฏิกิริยา แกน y แสดงพลังงานในหน่วย kJ และแกน x แสดงการดำเนินไปของปฏิกิริยา จากกราฟพบว่าพลังงานของสารตั้งต้นสูงกว่าพลังงานของผลิตภัณฑ์แสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน\n\nในการคำนวณพลังงานของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงนี้ ให้พิจารณาจากค่าพลังงานในตารางดังต่อไปนี้:\n\n| ประเภทปฏิกิริยา | พลังงานของปฏิกิริยา (kJ) | พลังงานกระตุ้น (kJ) | พลังงานผลิตภัณฑ์ (kJ) |\n| --- | --- | --- | --- |\n| การย่อยสลาย | 75 | 125 | 200 |\n| การสร้าง | 75 | 200 | 125 |\n| ดูดพลังงาน | 125 | 225 | 200 |\n| คายพลังงาน | 200 | 75 | 125 |\n\nข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "1. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
            "B": "2. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 225 kJ",
            "C": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ",
            "D": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
            "E": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 23,
        "Question": "จากปฏิกิริยา A (aq) + 2B (aq) + 3C (aq) → 4D (aq) + E (aq)\nทำการทดลองที่อุณหภูมิคงที่โดยใช้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่างกันพบว่า ได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเริ่มต้น (r) ดังในตาราง:\n\nการทดลอง 1: [A] = 0.100 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 2: [A] = 0.200 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 3: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 2.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 4: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 5: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s",
        "Choices": {
            "A": "A, B, C",
            "B": "B, C, A",
            "C": "C, B, A",
            "D": "A, C, B",
            "E": "C, A, B"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 24,
        "Question": "ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการสลายตัวของสาร A และของสาร B ที่อุณหภูมิเดียวกันพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร A และของสาร B กับเวลาการเกิดปฏิกิริยาเป็นดังกราฟ\n\nกราฟแสดงความเข้มข้นของสารกับเวลา\n\nแกนแนวยาว (แกน X) คือ เวลา (s) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0 ถึง 160\nแกนแนวตั้ง (แกน Y) คือ ความเข้มข้น (mol/dm³) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0.0000 ถึง 0.5000\n\nมีกราฟเส้นที่แสดงถึง:\n\n- สาร A (เส้นประจุด)\n- สาร B (เส้นทึบ)\n\nกราฟแสดงการลดลงของความเข้มข้นของสาร A และ B เมื่อเวลาผ่านไป\n\nจากกราฟ ตอบรูปที่เกี่ยวกับอัตราการสลายตัวของ A และ B ได้ดังนี้\n\nก. ตอนเริ่มการทดลอง อัตราการสลายตัวของ A เท่ากับ 5.00 x 10⁻³ mol/dm³s\nข. ในทุกช่วงเวลา อัตราการสลายตัวของสาร A มีค่าน้อยกว่าอัตราการสลายตัวของสาร B\nค. ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราการสลายตัวของ A มีค่าประมาณ 2 เท่าของอัตราการสลายตัวของสาร B\n\nการสรุปใดข้างต้น ข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "ก เท่านั้น",
            "B": "ข เท่านั้น",
            "C": "ค เท่านั้น",
            "D": "ก และ ข",
            "E": "ข และ ค"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 25,
        "Question": "ปฏิกิริยา 2A (g) + B (s) ⇌ C (g) มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1.5 x 10⁻² และ 4.0 x 10⁻³ ที่ 50 °C และ 70 °C ตามลำดับ ถ้าเริ่มต้นการทดลองมีแก๊ส A และสาร B ในภาชนะปิดขนาด 5 dm³ ที่อุณหภูมิ 50 °C ระบบขณะเข้าสู่ภาวะสมดุลมีช่วงเวลาผ่านไป 5 นาที พิจารณาข้อความเกี่ยวกับความเข้มข้นของแก๊ส A ([A]) และแก๊ส C ([C]) ต่อไปนี้:\n\nก. [A] ที่เวลา 3 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 6 นาที\nข. [C] ที่เวลา 6 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 10 นาที\nค. [A] ณ ภาวะสมดุล เมื่อคงที่ปริมาตรที่เป็น 1 dm³ มีค่ามากกว่าในภาชนะ 5 dm³\nง. ถ้าเพิ่มการทดลองเดิมที่เริ่มที่อุณหภูมิ 70 °C ณ ภาวะสมดุลจะมีค่ามากกว่าที่อุณหภูมิ 50 °C",
        "Choices": {
            "A": "ก. เท่านั้น",
            "B": "ค. เท่านั้น",
            "C": "ก. และ ข.",
            "D": "ก. และ ค.",
            "E": "ข. และ ง."
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 26,
        "Question": "จากสมการเคมีและค่าคงที่สมดุลต่อไปนี้\n\n2Ag (s) + H₂O₂ (aq) + 2Cl⁻ (aq) ⇌ 2AgCl (s) + 2OH⁻ (aq)  (K₁)\n\nNH₃ (aq) + H₂O (l) ⇌ NH₄OH (aq)  (K₂)\n\nAgCl (s) + 2NH₃ (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + Cl⁻ (aq)  (K₃)\n\nคำถามที่สมดุลของปฏิกิริยา\n\nAg (s) + 1/2 H₂O₂ (aq) + 2NH₄OH (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + 2H₂O (l) + OH⁻ (aq)\n\nเป็นดังข้อใด",
        "Choices": {
            "A": "(K₁K₃) / (2K₂)",
            "B": "(K₁¹/²K₃) / (K₂²)",
            "C": "(K₁K₃) / (2K₂²)",
            "D": "(K₁¹/²) / (2K₂K₃)",
            "E": "K₁¹/² + (1 / K₂²) + K₃"
        },
        "Answer": "B"
    },
    {
        "No": 27,
        "Question": "ที่อุณหภูมิ 30 °C ปฏิกิริยา H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g) มีค่าคงที่สมดุล K = 9 ถ้าเริ่มต้นมีแก๊ส H₂ 1.0 mol และ I₂ 1.0 mol ในภาชนะปริมาตร 50 dm³ และปล่อยให้ปฏิกิริยาดำเนินไปจนเข้าสู่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของ HI ณ ภาวะสมดุลมีค่าเท่าใดในหน่วย mol/dm³",
        "Choices": {
            "A": "0.012",
            "B": "0.015",
            "C": "0.024",
            "D": "0.75",
            "E": "1.2"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 28,
        "Question": "พิจารณาปฏิกิริยาที่เกิดภาวะสมดุลต่อไปนี้\n\nก. 2O₃ (g) ⇌ 3O₂ (g)\nข. N₂O₄ (g) ⇌ 2NO₂ (g)\nค. H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g)\nง. 2NO (g) + Cl₂ (g) ⇌ 2NOCl (g)\nจ. H₂O (l) + CO₂ (g) ⇌ H₂CO₃ (aq)\nฉ. Cu (s) + 2Ag⁺ (aq) ⇌ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s)\nช. Pb(NO₃)₂ (aq) + 2KI (aq) ⇌ PbI₂ (s) + 2KNO₃ (aq)\n\nปฏิกิริยาที่ปริมาณของผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเพิ่มความดันให้กับระบบ เป็นดังข้อใด",
        "Choices": {
            "A": "ก ข และ ค",
            "B": "ก ข และ ง",
            "C": "ค ข และ ช",
            "D": "ง ฉ และ จ",
            "E": "จ ฉ และ ช"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,{
        "No": 29,
        "Question": "ตามกฎปฏิกิริยาเบรินสเตด-ลาวรี โมเลกุลหรือไอออนทุกชนิดในข้อใดเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำ",
        "Choices": {
            "A": "F⁻ , HClO , HCO₃⁻",
            "B": "S²⁻ , H₂O , HPO₄²⁻",
            "C": "HS⁻ , CN⁻ , H₂PO₄⁻",
            "D": "SO₄²⁻ , NH₄⁺ , PO₄³⁻",
            "E": "NH₃ , CO₃²⁻ , HCOO⁻"
        },
        "Answer": "E"
    },
    {
        "No": 30,
        "Question": "กำหนดให้ตัวอย่างของการแตกตัวของกรดอ่อนมอนอไพโพรติก HA, HB และ HC เป็นดังนี้\n\n| สารละลายกรดอ่อน | ความเข้มข้น (mol/dm³) | ร้อยละของการแตกตัว |\n| --- | --- | --- |\n| HA | 0.10 | 1.0 |\n| HB | 0.20 | 0.50 |\n| HC | 1.0 | 0.10 |\n\nข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด",
        "Choices": {
            "A": "กรด HA มีความแรงมากที่สุด",
            "B": "สารละลายกรด HA, HB และ HC มี pH เท่ากัน",
            "C": "ค่าการแตกตัวของกรด HB น้อยกว่าค่าของกรด HC",
            "D": "เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สารละลายที่สามารถเพิ่มความเข้มข้นของ H₃O⁺ เพิ่มขึ้น",
            "E": "สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.20 mol/dm³ มีร้อยละของการแตกตัวน้อยกว่า 1.0"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,
    {
        "No": 31,
        "Question": "พิจารณาสารละลายเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ของสารต่อไปนี้: HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF\n\nข้อใดเรียงลำดับค่าสารละลายตามค่า pH จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง (กำหนดให้ Ka ของ HNO₂ = 4.5 x 10⁻⁴, Ka ของ NH₄⁺ = 6.0 x 10⁻¹⁰)",
        "Choices": {
            "A": "HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF",
            "B": "HBr , NH₄Cl , HNO₂ , KF , NaNO₃ , K⁺",
            "C": "KF , NaNO₃ , NH₄Cl , HNO₂ , HBr",
            "D": "HNO₂ , HBr , NaNO₃ , NH₄Cl , K⁺ , KF",
            "E": "NH₄Cl , HNO₂ , HBr , NaNO₃ , KF"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 33,
        "Question": "นำยาลดกรดหนึ่งเม็ด ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)₂) 250 mg ใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริมาตร 120 cm³ เกิดปฏิกิริยาได้สาร A และ B ดังสมการ:\n\nMg(OH)₂ + 2HCl ⇌ A + 2B\n\nพิจารณาข้อความต่อไปนี้:\n\nก. สาร A คือ แมกนีเซียมคลอไรด์ และสาร B คือ น้ำ\nข. จำนวนโมลของ HCl ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ใช้คือ 0.012 mol\nค. จำนวนโมลของ Mg(OH)₂ ที่เกิดปฏิกิริยากับกรดเท่ากับกรดไฮโดรคลอริกคือ 0.0043 mol\nง. เมื่อสิ้นสุดสมดุลอีกครั้ง สารละลายผสมมีค่า pH เท่ากับ 7",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ข เท่านั้น",
            "B": "ก และ ค เท่านั้น",
            "C": "ข และ ง เท่านั้น",
            "D": "ง เท่านั้น",
            "E": "ก, ข และ ง"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 34,
        "Question": "สารละลายผสมต่อไปนี้ประกอบด้วยสาร 2 ชนิดที่มีความเข้มข้นในสารละลายผสมเท่ากัน:\n\n| สารละลายผสม | สารชนิดที่ 1 | สารชนิดที่ 2 |\n| --- | --- | --- |\n| I | H₂SO₃, (Kₐ = 1.2 × 10⁻²) | NaHSO₃ |\n| II | H₂CO₃, (Kₐ = 4 × 10⁻⁷) | NaHCO₃ |\n| III | NaHCO₃, (Kₐ = 5.0 × 10⁻¹¹) | Na₂CO₃ |\n| IV | NaH₂PO₄, (Kₐ = 6.0 × 10⁻⁸) | Na₂HPO₄ |\n| V | C₆H₅COOH (Kₐ = 6.4 × 10⁻⁵) | C₆H₅COONa |\n\nการเปรียบเทียบค่า pH ของสารละลายผสมข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "I > V > IV",
            "B": "II > IV > I",
            "C": "III > II > V",
            "D": "IV > I > III",
            "E": "V > III > II"
        },
        "Answer": "C"
    }
    ,
    {
        "No": 35,
        "Question": "พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ในสารละลายกรด\n\na MnO₄⁻ (aq) + b NO (g) + c H⁺ (aq) → d Mn²⁺ (aq) + e NO₃⁻ (aq) + f H₂O (l)\n\nโดย a, b, c, d, e และ f เป็นเลขสัมประสิทธิ์จำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้สามารถดุล ข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "b = 3",
            "B": "c = 4",
            "C": "d + f = 7",
            "D": "a + c = b",
            "E": "ผลรวมสัมประสิทธิ์ทั้งหมด = 18"
        },
        "Answer": "B"
    },
    {
        "No": 36,
        "Question": "เมื่อพุ่มแผ่นโลหะที่ได้ทำความสะอาดพื้นผิวแล้วลงในสารละลายไอออนของโลหะอีกชนิดหนึ่ง ได้ผลการทดลองดังนี้:\n\n1. การทดลอง I: แผ่นโลหะ Zn ในสารละลาย Fe²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Fe เกาะที่ผิว Zn\n2. การทดลอง II: แผ่นโลหะ Ni ในสารละลาย Sn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Sn เกาะที่ผิว Ni\n3. การทดลอง III: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Ni²⁺ -> ผลการทดลอง: โลหะ Ni เกาะที่ผิว Fe\n4. การทดลอง IV: แผ่นโลหะ Al ในสารละลาย Zn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Zn เกาะที่ผิว Al\n5. การทดลอง V: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Al³⁺ -> ผลการทดลอง: ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อใดเรียงลำดับศักยภาพการยอมให้อิเล็กตรอนที่ผิวโลหะถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "Zn > Fe > Sn > Ni > Al",
            "B": "Al > Zn > Fe > Ni > Sn",
            "C": "Zn > Al > Fe > Sn > Ni",
            "D": "Sn > Ni > Fe > Zn > Al",
            "E": "Al > Fe > Zn > Sn > Ni"
        },
        "Answer": "B"
    },
    {
        "No": 38,
        "Question": "ถ้าค่อยๆชาร์จเซลล์และครึ่งเซลล์ Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 2 mol/dm3) Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 0.1 mol/dm3) เข้าด้วยกัน ให้กระบวนจรพิจารณาผลที่ได้ต่อไปนี้ ก. จำนวน H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 เป็นบวกเคลไหว ข. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์ความเข้มข้นชนิดหนึ่ง ค. อิเล็กตรอนเคลื่อนไหวจากด้านที่ H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 ไปยังด้านที่ H+ เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ง. ค่าเซลล์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์มีค่ามากกว่าศูนย์",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ง",
            "B": "ข และ ง",
            "C": "ก ข และ ค",
            "D": "ก และ ข",
            "E": "ข และ ค"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 37,
        "Question": "กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ดังกล่าวที่ 298 K:\n\nCu²⁺ (aq) + 2e⁻ → Cu (s) (E^0 = +0.34 V)\nAg⁺ (aq) + e⁻ → Ag (s) (E^0 = +0.80 V)\n\nถ้านำครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นทองแดงจุ่มในสารละลาย CuSO₄ มาต่อกับครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นเงินจุ่มในสารละลาย AgNO₃ ให้เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี ข้อสรุปใดถูกต้อง:\n\n1. ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)\n2. มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น\n3. แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)\n4. ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)\n5. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V",
          "Choices": {
            "A": "ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)",
            "B": "มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น",
            "C": "แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)\n",
            "D": "ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)\n",
            "E": "เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 39,
        "Question": "กการผลิตโลหะอะลูมิเนียมในอุตสาหกรรม ใช้วิธีอิเล็กโทรลิซิสของแร่บอกไซต์หลอมเหลว โดยผสมแร่ไครโอไลต์ (Na₃AlF₆) เพื่อช่วยให้หลอมเหลวง่ายขึ้น และแยกไฟฟ้าเป็นก้อนโลหะ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ \n\nก. เกิดแก๊ส F₂ ที่ขั้วแคโทด\nข. เกิดแก๊ส O₂ ที่ขั้วแอโนด\nค. ที่ขั้วแอโนดเกิด CO₂ เกิดขึ้นด้วย\nง. ถ้า Al₂O₃ ถูกแยกสายไป 1 mol ต้องใช้อิเล็กตรอนจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 6 mol\n\nข้อความใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ง",
            "B": "ก และ ค",
            "C": "ข และ ง",
            "D": "ข และ ค เท่านั้น",
            "E": "ค และ ง เท่านั้น"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 40,
        "Question": "พิจารณาสมบัติของแก้ว 3 ชนิดดังนี้:\n\n| ชนิดของแก้ว | สมบัติของแก้ว |\n| --- | --- |\n| ก | ทนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี ทนสารเคมี ใช้ทำเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ |\n| ข | ยอมให้แสงขาวผ่าน แต่ดูดรังสีอัลตราไวโอเลต ใช้ทำแก้วน้ำ ขวดน้ำ กระจกแผ่น|\n| ค | ตะกั่วเป็นองค์ประกอบหนึ่ง มีดัชนีการหักเหแสงสูง ใช้ทำเครื่องใช้ เครื่องประดับ |\n\nข้อใดระบุชนิดของแก้ว ก ข และ ค ได้ถูกต้องตามลำดับ",
        "Choices": {
            "A": "แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์, แก้วโบโรซิลิเกต ",
            "B": "แก้วโซดาไลม์, แก้วบอโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล ",
            "C": "แก้วคริสตัล, แก้วโบโรซิลิเกต, แก้ววิริศิลิกตัด",
            "D": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์",
            "E": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วโซดาไลม์, แก้วคริสตัล "
        },
        "Answer": "E"
    },
    {
        "No": 41,
        "Question": "สมการเคมีในข้อใดเกี่ยวข้องกับการผลิตสารฟอกขาว",
        "Choices": {
            "A": "2NaHCO₃(s) ⟶ Na₂CO₃(s) + CO₂(g) + H₂O(g)",
            "B": "Ca(OH)₂(aq) + 2NH₄Cl(aq) ⟶ CaCl₂(s) + 2NH₃(g) + 2H₂O(l)",
            "C": "2Ca(OH)₂(aq) + 2Cl₂(g) ⟶ Ca(OCl)₂(s) + CaCl₂(aq) + 2H₂O(l)",
            "D": "CaF₂ + 3Ca₃(PO₄)₂(s) + 14H₃PO₄(aq) ⟶ 10 Ca(H₂PO₄)₂(s) + 2HF(aq)",
            "E": "CO₂(g) + Na⁺(aq) + Cl⁻(aq) + NH₃(aq) + H₂O(l) ⟶ NaHCO₃(s) + NH₄⁺(aq) + Cl⁻(aq)"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 42,
        "Question": "พิจารณาสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์แล้วการเขียนชื่อ (โดยไม่ระบุ cis- หรือ trans-) ของสารอินทรีย์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้:\n\n| สูตรโครงสร้าง | การเรียกชื่อ |\n| --- | --- |\n| ก. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 1,1-ไดเมทิล-3-บิวทีน |\n| ข. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิลเฮกเซน |\n| ค. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 4-เมทิล-2-เฮกไทน์ |\n| ง. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิล-3-เฮปไทน์ |\n\nการเรียกชื่อสารตามสูตรโครงสร้างที่กำหนด ข้อใดถูกต้องตามระบบ IUPAC",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ข",
            "B": "ก และ ค",
            "C": "ข และ ค",
            "D": "ข และ ง",
            "E": "ค และ ง"
        },
        "Answer": "E"
    },
    {
        "No": 43,
        "Question": "สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตรโครงสร้างดังแสดง\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี)\n\n[OH]\n[H₃C - CH - CH₃]\n\nข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารนี้",
        "Choices": {
            "A": "ละลายน้ำได้ดี",
            "B": "เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้",
            "C": "มีจุดเดือดต่ำกว่าเมทอกซีมีเทน",
            "D": "เป็นไอโซเมอร์ของ 1-โพรพานอล",
            "E": "เกิดปฏิกิริยาย่อยสลายอิพิทกับกับกรดคาร์บอกซิลิกได้"
        },
        "Answer": "C"
    },
    {
        "No": 44,
        "Question": "จากสูตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี 5 ชนิด)\n\n**เอทิลเบนซีน**\n**ยูจีนอล**\n**พาราเซตามอล**\n**น้ำมันระกำ**\n**การบูร**\n\nข้อใดผิด",
        "Choices": {
            "A": "เอทิลเบนซีนไม่สามารถฟอกจางสีโบรมีน",
            "B": "ยูจีนอลสามารถฟอกจางสีโบรมีนได้ในที่มืด",
            "C": "การบูรและน้ำมันระกำมีกลุ่มฟังก์ชั่นเดียวกันคือหมู่คาร์บอลนิล",
            "D": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของน้ำมันระกำคือเมทานอล",
            "E": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของพาราเซตามอลคือกรดแอซีติก"
        },
        "Answer": "A"
    },
    {
        "No": 45,
        "Question": "สารชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุล CₓHᵧOₓ เมื่อเข้าสารที่ 1 mol ไปเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ในอากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ 4 mol และน้ำ 5 mol สารนี้มีสูตรโครงสร้างที่เป็นแอลกอฮอล์ได้ทั้งหมดกี่แบบ",
        "Choices": {
            "A": "1 แบบ",
            "B": "2 แบบ",
            "C": "3 แบบ",
            "D": "4 แบบ",
            "E": "มากกว่า 4 แบบ"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 46,
        "Question": "จากโครงสร้างพอลิเมอร์ต่อไปนี้ พอลิเมอร์ดังกล่าวชี้ถึงหลากสารที่ได้จากมอนอเมอร์ใด และปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์เป็นแบบใดมอนอเมอร์\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมีของพอลิเมอร์)\n\nมอนอเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์",
        "Choices": {
            "A": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
            "B": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบเติม",
            "C": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
            "D": "H₃C-C-O-CH=CH₂ แบบเติม",
            "E": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบเติม"
        },
        "Answer": "D"
    },
    {
        "No": 47,
        "Question": "พิจารณาข้อความต่อไปนี้:\n\nก. ก๊อโรเจนเป็นสารประกอบอินทรีย์สำคัญที่พบในหินน้ำมัน\nข. ปิโตรเลียมมีปริมาณซัลเฟอร์และไนโตรเจนออกไซด์มากกว่าแก๊สไฮโดรเจน\nค. การเพิ่มค่าออกเทน ETBE ในน้ำมันไร้สารตะกั่วมักพิจารณาเป็นอีเทอร์\nง. anodic protection เป็นหนึ่งในวิธีที่นิยมใช้ป้องกันการผุกร่อนของท่อส่งแคตารธรรมชาติ\nจ. น้ำมันดิบบางชนิดมีสารประกอบซัลเฟอร์อยู่ต่ำและมีกำมะถันปนอยู่เล็กน้อยเรียกว่า sweet crude oil\n\nข้อใดถูกต้อง",
        "Choices": {
            "A": "ก และ ค",
            "B": "ก และ ง",
            "C": "ข และ ค",
            "D": "ข และ ง",
            "E": "ค และ ง"
        },
        "Answer": "A"
    }
]