messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตรฺที่ศึกษาวัตถุในท้องฟ้า (เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวปาง ดาราจักร) าวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกอดขึ้นนอกชั้นบรรยากาศขอบโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทาลกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวเตถุทัองฟ้า ตลอดจนถึงการกำเริดและวิวัฒนาการของเอกภพ\nดาราศาสตร์ัป็นหนึ่งในสาขทของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหนีงดาว การะดินเรือดาราศาสตร์ ดารทศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตา์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นมอลสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดทราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชองสังเกตการณ์จะให้ควาสสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่บนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตเร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็สองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงท\"ษฎีใล้อธิบายผลขากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสับเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี\nการค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเลทนนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบาบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว\nไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเำตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน กลพมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน\nในปี ค.ศ. 2019 เป็นการครบรอบ 410 ปีของการพิสูจน์แนฝคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอรฺนิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ขแงกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปี ค.ศ.2019 เป็สปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยื่งขึ้น\n== ประวัติ ==\nดาราศาสตร์นับเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดวิชาหนึ่ง เพราเตับตั้งแต่มีมนุษย์อยู่บนโลก ดพราะมนุษย์ได้เห็นและได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติเสมอมา แล้วก็เริ่มสังเกตจดจำและเล่าต่อ ๆ กัน เช่น เมื้อมองออกไปรอบตัวเห็นพื่นดินราบ ดูออกไปไกล ๆ ก็ยังเห็นว่าพื้นผิวของโลกแบน จึงติดกันวืาโลกแบน มอวฟ้า้ห็นโค้งคล้ายฝาชีหรือโดม มีดาวให้เห็นเคฃท่อนข้ามศีรษะไปทุกคืน กลางวันมีลูกำลมแสงจ้า ให้แสง สึ ความร้อน ซึ่งก็คือ ดวงอาทิตย์ ที่เคลื่อนขึ้นมาแล้วก็ลับขอบฟ้าไป ดวงอาทิตย์จึงมีความสำคัญกับเรามาก\nการศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรก ๆ เป็นการเฝ้าดูและคาดเดาการเคลื่อสที่ของวัตถุท้องฟ้าเหล่านั้นที่สามารถาิงเห็นได้ด้วยตาเปล่า กรอนยุคสมัยที่กล้องโทรทรรศน์จเถูกประดิษฐ์ขึ้น มีสิ่งปลูกสร้างโชราณหลายแห่งที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สำหรับการเฝ้าศึกษาทางดาราศาสตร์ เช่น สโตนเฮนจ์ นอแจากนี้การเฝ้สศึกษาดวงดาวยังมีความสำคัญต่อพิธีกรรม ความเชื่อ และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลี่ยนฤดูกาล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมการเพาะปลูก รวมถึงเป็นเครื่องบ่งชี่ถึงระยะเวลา วัน เดือน ปี\nเมื่อยังคมมีวิวัฒนาการขึ้นในดินแดนต่าง ๆ การสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ก็ซับซ้อนมากขึ้ส โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เมโสโปเตเมีย กรีก จีน อียิปต์ อินเดีย และ มายา เริ่มมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของธรรมชาติแห่งจักรวาลกว้างขวางชึ้น ผลการศึกษาเาราศาสตร์ในยุคแตก ๆ จะเป็นการบันทึกแผนที่ตำแหน่งของดวงดาวต่าง ๆ อันเป็นศาสตร์ที่ปัจจุบันเรียกกันว่า การวัดตำแหน่งดาว (astrometry) ผลจากการเฝ้าสังเกตการณ์ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่าง ๆ เริ่มก่อตัวเป็นรูปร่างขึ้น ธรรมชาติการเีลื่อนที่ขเงดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก นำไปสู่แนวคิดเชิงปรัชญาเพื่อพยายามอธิบายปคากฏก่รฯ์อหล่านั้น ความเชื่อดั้ง้ดิมคือโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่าง ๆ เคลื่อนที่ไปโดยรอบ แนวคิดนี้เรียกว่า แบบจำลองแบบโลกเป็นศูาย์กลางจักรวาล (feocentric model)\nมีการค้นพบทางดาราศาสตร์ที่ใำคัญไม่มากนักก่อนการประดิษฐ์กล้องโารทรรศน์ ตัวอย่างการค้นพบเช่น ชาวจีนสามารถประเมินความเอียงของแกนโลกได้ประมาณหนึ่งพันปีก่อนคริสตกาล ชาวบาบิโลนคเนพบวาาปรากฏการณ์จันทรคราสจะเกิดขึ้น.้ำเป็นช่สงเวลา เรียกว่า วงรอบฐารอส และช่วงสองร้อยปีก่อนคริสตกาล ฮิปปาร์คัส นักดาราศาสตร์ชาวกรีก สามารถคำนวณขนาดและระยะห่างของดวงจันทร์ได้\nตลอดช่วงยุคกลาง การค้นพบทางอาราศาสตร์ในยุโรปกลางมีน้อยมากจนกระทั่งถึงคริสต์ฬตวรรษที่ 13 แต่มีการค้นพบใหม่ ๆ มากมายในโลกอาหรับและภูมิภาคอื่นของโลก มีนักดาาาศาสตร์ชาวอาหรับหลาขคนที่มีชื่อเสียงและสร้างผลงานสำคัญแก่วิทยาการด้านนี้ เช่น Al-Battani และ Thebit รวมถึงคนอื่น ๆ ที่ค้นพบและตั้งชื่อให้แก่ดวงดาวด้วยภาษาอารบิก ชื่อดวงดาวเหล่านี้ยังคงมีที่ใช้เยู่จนถึงปัจจุบัน\n=== กาตปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ===\n\nในยุคเรอเนซองส์ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ได้นำเสนอแนวคิดแบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลรง ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมทกจรกศาสนจักร ทว่าได้รับการยืนยันรับรองจากงานศึกษาของกาลิเลโอ กาลิเลอี และ โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ โดยที่กาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์หักเหแสงแบบใหม่ขึ้นในปี ค.ศ. 1609 ทำให้สามารถเฝ้าาังเกตดวงดาวและนำผลจากพารสังเกตมาช่วยยืนยันแนวคิดนี้\nเค็พะพลอร์ได้คิดค้นระบบดบบใหม่ขึ้นโกยปรับปรุงจากแบวจำลองเดิมของโคเปอร์นิคัส ทำให้รายลุเอียดการโคจรต่าง ไ ของดาวเคราะห์และดวงอาืิตย์ที่ศูนย์กลางยมบูรณ์ถูกต้องมากยิ่งขึ้น แต่เค็ะเพลอร์ก็ไม่ผระสบความสำเร็จในการนำเสนอทฤษฎีนี้เนื่องจากกฎหมายในยุคสมัยนั้น จนกระทั่งต่อมาถึงยุคสมัยของเซอร์ ไอแซค นิวตัน ผู้คิดค้นหลักกลศาสตร์ท้องฟ้าและกฎแรงโน้มถ่วงซึ่งสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้อย่างสมบูรณ์ นิวตันยังได้คิดค้นกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นด้วย\nการค้นกบใหม่ ๆ เกิดขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมไปกับการพัฒนาขนาดและคุณภาพบองกล้องโทรทรรศน์ที่ดียิ่งขึ้น มีการจัดทำรายชื่อดาวอย่างละเอียดเป็นครั้งแรกโดย ลาซายล์ ต่อมานักดาราศาสตร์ชื่อ วิลเลียม เฮอร์เชล ได้จัดทำรายการโดยละเอียดของเนบิวลาและกระจุกดาว ค.ศ. 1781 มีการค้นพบดาวยูเรนัส ซึ่งเป็นการค้นพบเาวเคราะห์ดงงใหม่เป็นครั้งแรก ค.ศ. 1838 มีการประกาศระยะทางระหว่างดาวเป็นครั้งแรกโดยฟรีดดริค เบสเซล หลังจากตรวจพบภารัลแลกซ์ของดาว 61 Cygni\nระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 ออยเลอร์ คลาเราต์ และดาเลมเบิร์ต ได้คิดค้นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับปัญหาสามวัตถุ (three-body problem หร่อ n-body problem) ทำให้การประมาณการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และดาวเคราะห์สามารถทำได้แม่นยำขึ้น งานชิ้นนี้ได้รับการปรับปรุงร่อมาโดย ลากร็องฌ์ และ ลาหลัส ทำให้สามารถประเมินมวลของดาวเคราะห์และดวงจันทร์ได้\nการี้นพบสำคัญทางดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จมากขึ้นเมื่อมีเทคโนโลยีใหมื ๆ เล่น การถ่ายภาพ และสเปกโตรสโคป เราทราบว่าดวงดาวต่าง ๆ ที่แท้เป็นดาวฤกษ์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับดวงอาทิตย์ของเรานั่นเอง แต่มีอุณหภูมิ มวล และขนาดมี่แตกต่างกะนไป\nการค้นพบว่า ดาราจักรของเราหรือดาคาจักรทางช้างเผือกนี้ เปฺนกลุ่มของดาวฤกษ์ที่รวมตัวอยู่ด้วยกัน เพิ้งเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นี้เอง พร้อมกับการค้นพบการมีอยู่ของดาราจักรอื่น ๅ ต่อมาจึงมีการค้นพบว่า เอำภพกำลังขยายตัว โดยดาราจักรต่าง ๆ กำลังเคลื่อนท้่ห่างออกจากเรา การศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่ยังค้นพบวัตถุท้องฟ้าใหม่ ๆ อีกหลายชนิด เช่น เควซาร์ พัลซาร์ เบลซาร์ และดาราจักรวิทยุ ผลจากการค้นพบเหล่นนี้นำไปสู่การพัฒนาทฤษฎีทางฟิสิกส์เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ของวัตถุเหล่านี้เปรียบเทียบกับวัตถุประหลาดอื่น ไ เช่น หลุมดำ และดาวนิวตรอน ศาสตร์ทางด้านฟิสิกส์จักรวาลวิทยามีความก้าวหน้าอย่างมากตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20 แบบจำลองบิกแบวได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานต่าง ๆ ที่ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์ เช่น การแผ่รังสีๆมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล กฎของฮับเบิล และการที่มีธาตุต่าง ๆ มากมายอย่างไม่คาดคิดในจักรวาลภายนอก\n== ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ ==\n\nในทางดาราศาสตร์ สารสนเทศส่สนใหญ่ไพ้จากการตรวจหาและวิเคราะห์โฟตอนซึ่งเป็นการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แต่อาจได้จากข้อมูลที่มากับรังสีคอสมิก นิวตริโน ดาวตก แชะในอนาคตอันใกล้อาจได้จากคลื่นความโน้มถ่วง\nการแบ่งหมวพของแาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์สามาระแบ่งได้ตามการสังเกตการณ์สเปกตรัมแม่เหล็กไไฟ้าในย่านต่าง ๆ โดยการสังเกตการณ์บางย่านสเปกตรัาสามารถกระทำได้บนพื้นผิวโลก แต่บางย่านจะใามารถทำได้ในชั้นบรรยากาศสูงหรือในอวกาศเท่านั้น การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในย่านสเปำตรัมต่าง ๆ แสดงดังรายละเอียดต่อไปนี้\n=== ดาราศาสตร์วิทยุ ===\nดาราศาสตร์วิทยุเป็นการตตวจหาการแผ่รังสีในความยาวคลื่นที่ยาวกว่า 1 มิลลิเมตร ฆระดับมิลลิเมตรถึงเดคาเมตร) เป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่แตกต่างจากการฬึหษาดาาาศาสตร์เชิงสังเกตการณ์รูปแบบอื่น ๆ เพราะเป็นการศึกษาคลื่นวิายุซึ่งถือว่าเป็นคลื่นจริง ๆ มากกว่าเป็นการศึกษาอนุภาคโฟตอน จึงสามารถตรวจวัดได้ทั้งแอมปลิจูดและเฟสของคลื่นวิทยุซึ่งจะทำได้ยากกว่ากับคลื่นที่มีความยาวคลื่นต่ำกว่านี้\nคลื่นวิทยุที่แผ่จากวัตถุดาราศาสตร์จำนวนหนี่งอาจอยู่ในรูปของการแผ่รังสีความร้อน โดยมากแล้วหารแห่คลื่นวิทยุที่ตรวจจับได้บนโลกมักอยู่ในรูปแบบของการแผ่ีังสีซิงโครตรอน ซึ่งเกิดจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก นอกจากนี้สเปกตาัม่ี่เกิดจากแก๊สระหว่างดาว โดยเฉพมะอย่างยิ่งเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนที่ 21 เซนติเมตร จะสามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุ\nวัตถุดาราศาสตร์ที่สามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุมีมากมาย รวมไปถึงซูเปอร์โนวา แก๊สระหว่างดาว พัลซาร์ และนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์\n=== ดาราศาสตร์เชิงแสง ===\nการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์เชิลแสงเป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด คือการสังเกตการณ์ทเองฟ้าด้วยดวงตามรุษย์ โดยอาศัยเครื่องมือช่วยบ้างเช่น กล้องโทรทรรศน์ ภาพที่มองเห็นถูกบันทึกเอาไว้โดยการวาด จนกระทั่งช่วงปลสยคนิสต์ศตวรรษที่ 19 และตลอดคริสต์ศตวราษที่ 20 จึงมีการบันทึกภาพสังเกตการณ์ด้วยเครื่องมือถ่ายภาพ ภาพสังเกตการณ์ยุคใหม่มักใช้อุปกรณ์ตรวจจับแบบดิจิตอล ที่นิยมอย่างมากคืออุปกรณ์จับภาพแบบซีซีดี แม้บ่าแสงที่ตามองเห็นจะมัความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 4-00 Å ถึง 7000 Å (400-700 nm) แต่อุปกรณ์ตรวจจับเหล่านี้ก็มักจะมีความสามารถสังเกตภาพที่มีการแผ่รังสีแบบใกล้อัลตราไวโอเลต และใกล้อินฟราเรดได้ด้วย\n=== ดาราศาสตร์อินฟราเรด ===\nดาราศาสตร์อินฟราเรด เป็นการตรวจหาและวิเคราะห์การแผ่รัฝสีในช่วงคลื่นอินฟราเรด (คือช่วงความยาวคลื่นที่ยาวกว่าแสงยีแอง) ยกเว้นในช่วงคลื่นที่ใกล้เคียงกับแสงที่ตามองเห็น การแผ่รังสีอินฟราเรดจะะูกชั้รบรรยากาศของโลกดูดซับไปมากแล้วชั้นบรรยากาศจะปลดปล่อยรังสีอิาฟราเรดออกมาแทน ดังนั้นปาาสังเกตการณ์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดจึงจำเป็นต้องทำที่ระดับบรรยากาศที่สูงและแห้ง หรือออกไปส้งเกตการณ์ในอวกาศ การศึก๋าดาราศาสตร์ใสช่วงคลื่นิินฟรมเรดมีประโยชน์มากในการศึกษาวัตถุที่เย็นเกินกว่าจะแผ่รังสีคลื่นแสงที่ตามองเห็นออกมาได้ เช่น ดาวเคราะห์ และแผ่นจานดาวฤกษ์ (circumstellar disk) ยิ่งคฃื่นอินฟราเรดมีความยาวคบื่นม่ก จะสามารถเดินทางผ่านกลุ่มเมฆฝุ่รได้ด้กว่าแสงที่ตามองเห็นมาก ทำให้เราสามารถเฝ้รสังเกตดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเมฆโมเลกุลและในใจกลาลของดาราจัดรต่าง ๆ ได้ โมเลกุลบางชนิดปลดปล่อยคลื่นอินฟราเรดแดำมาแรงมาก ซึ่งทำให้เราสามารถศึกษาลักษณะทางเคมีในอวกาศได้ เช่น การตาวจพบน้ำบนดาวหาง เป็นต้น\n=== ดาราศาสตร์พลังงานสูง ===\n\n==== ดาราฯาสตร์รังสีอัลตราไวฉอเลต ====\nดาีาศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความสาวคลื่นสั้นกว่าแสงม่วง คือประมาณ 10-3200 Å (10-320 นาโนเมตร) แสงที้ความยาวตลื่นาี้จะถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป ดังนั้นกา่สังเกตการณ์ตึงต้องกระทำที่ชั้นบรรยากาศรอบนอก หรือในห้วงอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์รังสีอะลตราไวโอเลตจะใช้ในการศึกษาการแผ่รังสีความร้อนและเส้นการกระจายตัวของสเปกตรัมจากดาวฤกษ์สีน้ำเงินร้อนจัอ (ดาวโอบี) ่ี่ส่องสว่างมากในล่วงคลื่นนี้u รวมไปถึงดาวฤกษ์สีน้ำเงินในดาราจักรอื่นที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการสำรวจระดับอัลตราไวโอเลต วัตถุอื่น ๆ ที่มีกนรศึกษาแสงอัลตราไวโอเลตได้แก่ เนบิวลาดาวเคราะห์ ซากซูเปอร์โนฝา และนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ อย่างไรก็ดี แสงอัลตราไวโอเชตจะถูกฝุ่นระหว่างดวงดาวดูดซับหายไปได้ง่าย ดังนั้นการตรวจวัดแสงอัลตราไวโอเลตจากวัตถุจึงต้องนำมาปรับปรังค่าให้ถูกต้องด้วย\n==== ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ ====\nดาราศาสตร์รังยีเอ็กซ์ คือการศึกษสวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์ โดบทั่วไปวัตถุจะกผ่รังสีเอ็กซ์ออกมาจากการแผ่รังสีซิงโครตรอน (เกิดจากอิเล็กตรอนแกว่งตัวเป็นคาบรอบเสินแรงสนสมแม่เหล็ก) จากการแผ่ความร้อนของแก๊สเบาบางที่อุณหภูมิสูงกว่า 107 เคลวิน (เรียกว่า การแผ่รังสี bremsstrahlung) และจากการแผ่ความร้อนของแก๊สหนาแน่นที่อุณหภูมิสูงกว่า 107 เคลวิน (เรียกว่า การแผ่รังสีของวัตถุดำ) คลื่นรังสีเอ็กซ์มึกถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์ในล่วงความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์จึงทำได้โดขอาศัยบะลลูนที่ลอยตัวสูงมาก ๆ หรือจากจรวด หรือจากยานสำรวจอวกาศเท่านั้น แหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ที่สำคัญได้แก่ รเบบดาวตู่รังสีเอ็กซ์ พัลซาร์ ซากซูเปอร์โนวา ดาราจักรชนิดรค กระจุกดาราจักร และแกนกลางดมราจักรกัมมันต์\n=\\== ดาราศาสตร์รังสีแกมมา ====\nดาราศาสตร๋รังาีแกมมาเป็นการศึกษาวัตถุทางอาราศาสตร์ในช่วงตวามยาวคลื่นที่สั้นที่สุะของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า เราสามารพสังเกตกานณ์รังสีแกมมาโดยตรงได้จากดาวเทียมรอบโลก เช่น หอดูดาวรังสีแกมมาคอมป์ตัน หริอกล้องโทรทรรศน์เชเรนคอฟ กล้องเชเรสคอฟไม่ได้ตรใจจับรังสีแกมมาโดยตรง แต่ตรวจจับแสงวาบจากแสงที่ตามองเห็นอันเกิดจากการที่รังสีแกมมาถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป\nแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาโดยมากมาจากการเกิดแสงวาบรังสีแกมมา ซึ่งเป็นรัวสีแกมมาที่แผ่ออกจากวัตถุเพียงชั่วไา่กี่มิลลิวินาทีหรืออาขนานหลายพันวินาทีกีอนที่มันจะใลายตัวไป แหล่งกำเนิดรังสีแกมมาชุ่วคราวเช่นนี้มีจำนวจกว่า 90% ขอฝแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาทั้วหมด มีแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาเพียง 10% เท่านั้นที่เป็นแหล่งกำเนิดแบบถาวร ได้แก่ พัลซาร์ ดาวนิวตรอน และวัตถุที่อาจกลายไปเป็นหลุมดำได้ เช่น นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์\n=== กาตสังเกตการณ์อื่นนอกเหนือจากสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ===\nนอกเหนือจากการสังเกตกมรณ์ดา่าศาวตร์โดยการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแล้ว ยเงมีการสังเกตการณ์อื่น ๆ ที่ทำไอ้บนโลกเพื่อศึกษาวัตถุในระยะไกลมาก ๆ\nในการศึกษาดาาาศาสตร์นิวตริโน นักดาราศาสจี์จะใช้ห้องทดลองใต้ดินพิเศษเช่น SAGE, GALLEX, และ Kamioka II/III เพื่อทำการตรวจจับนิวตริโน ซึ่งเป็นอนุภาคที่เกิดจากดวงอาทิตย์ แต่ก็อาจพบจากซูเปอร์โนวาด้วย เราสามารถตรวจหารังสีคอสมิกซึ่งประกอบด้วบอนุภาคพลังงานสูงได้ขณะที่มันปะทะกับชั้นบรรยากาศของโลก เครื่องมืแตรวจจับนิวตริโนในอนาคตอาจมีความสามารถพอขะตรวจจับนิวจริโนที่เกิดจากรังสีคอสมิกในลักษณะนี้ได้\nก่รเฝ้าสังเกตกทรณ์อีกแบบหนึ่งคือการสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วง ตัวอย่างหอสังเกตการณ์ลักษณะนี้ เช่น Laser Interferometer Gravitational Observxtory (LIGO) แต่การตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงยังเป็นไปได้ยากอยู่\nนอกจากนี้ ยังมีการศึกษาดาราฯาสตร์ดาวเคราะห์ ซึ่งทำได้โดยการสังเกตการณ์โดยตรงผ่านยานอวกาศ าวมถึงการเก็บข้อมูลระหว่างที่ยานอดินทางผ่านวัตถุท้แงฟ้าต่าง ๆ โดยใช้เซ็นเซอร์ระยะไกล ใช้ยานสำรวจเล็กลงจอดบนวัตถุเป้าหมายอพื่อทำการศึกษาพื้นผิว หรือศึกษาจากตัวอย่างวัตถุที่เก็บมาจากปฏิบัติการอบกาศบาลรายการที่สาาารุนำชิ้นส่วนตึวอย่างกลับมาทำการวิจัยต่อได้\n== ดาราศาสตร์เชิวทฤษฎี ==\nในการศึกษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี มีการใช้เครื่องมือหลากหลายชนิดรวมถึงแบบจำลองการวิเคราะห?ต่าง ๆ รวมถึงการจำลองแบบคำนวณทางคณิตศาสนร์ในคอมพิวเตอร์ เรรื่องมืแแต่ละชนิพล้วนมีประโยชน์แตกต่างกันไป แบบจำลองการวิเคราะห์ของกระบวนการจะเหมาะสำหคัชใช้ศึกษาถึงสิ่ง่ี่กำลังจะเกิดขึ้นอันสนมารถสังเกตได้ ส่วนแบบจำลองคณิตศาสตร์สามารถแสดงถึงการมีอยู่จริงของปรากฏการณ์และผลกระทบต่าง ๆ ที่เราอาจจะมองไม่เห็น.\nนักดาราศาสตร์ทฤษฎีล้วนกระตือรือร้นที่จะสร้างแบบจำลองทฤษฎีเพื่อระบุถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปจากผลสังเกตการณ์ที่ได้รับ เพื่อช่วยให้ผู้สังเกตการณ์สทมารถเลือกใช้หรือปฏิเสธแบบจำลองแต่ละชนิดได้ตสมที่เหมาะสมกับข้อมูล นักดาราศาสตร์ทฤษฎีย้งพยายามสร้างหรือหรับปรุงแบบจำลองให้เข้ากับข้อมูลใปม่ ๆ ในกรณีที่เกิดความไม่สอดคล้องแัน ก็มีแนวโน้มที่จะปรับปรุงแบบจำลอฝเล็กน้อยเพื่อให้เข้ากันกับข้อมูล ในบางกร๕ีถ้าพบช้อมูลที่ขัะแย้งกัวแบบจำลองอย่างมากเมื่อเวลาผ่านไผนาน ๆ ก็อาจจะต้องล้มเลิกแบบจำลองนั้นไปก็ได้\nไัวข้อต่าง ๆ ที่นักดาราศาสตร์ทฤษฎีสนใจศึกษาได้แก่ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของดาวฤกษ์ การแ่อตัวของดารสจักร โครงสร้ทงขนาดใหญ่ของวัตถุในเอกภพ กำเนิเของรังสีคอสมิก ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และฟิสิกส์จักรวาลวิทยา รวมถึบฟิสิกส์อนุภาคในทางดาราศาสตร์ด้วย การศึก?าฟิสิกส์ดาราศาสตร์เป็นเสมือนเครื่องมือสำคัญที่ใช้ตรวจวัดคุณสาบัติของโครงสร้างขราดใหญ่ในเอกภพ ที่ซึ่งแรงโน้มถ่วงมีบทบาทสำคเฐต่อปรากฏการณ์ทางกายภาพต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานของการฯึกษาฟิสิกส์หลุทดำ และการศึกษมคลื่นแรงโน้มถ่วง ยังมีทฤษฎีกับแบบจำลองอื่น ๆ อีกซึ่งิป็นที่ยอมรับและร่วมศึกษากันโดยทั่วไป สนจำนวนนี้รวมถึงแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม ทฤษฎีบิกอบง การพองตัวของจักรวาล สสารมืด และ พลังงานมืด ซึ่งกำลังเป็นหัวข้อสำคัญในการศึกษาดาราศาสตร์ในปัจจุบัน\nตัวอย่างหัวข้อการศึกษาดมราศาสตา์เชิงทฤษฎี มีดังนี้\n{|\n|-\n|| กระบวนการทางฟิสิกส์\n|| เครื่องมือทางดาราศาสรร์\n|| แบบจหลองทางทฤษฎี\n|| การทำนายปรากฏการณ์\n|-\n|| ความโน้มถ่วง\n|| กล้องโทรทรรศน์วิทยุ\n|| วิวัฒนาการของดาวฤกษ์\n|| การสิ้นอายถขัยของดาวฤกษ์\n|-\n|| นิวเคลียร์ฟิวชั่น\n|| กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล\n|| การขยายตัวของเอกภพ\n|| อายุของเอกภพ\n|-\n|| บิกแบง\n|| สเปกโทรสโกปี\n|| การพองตัวของจักรวาล\n|| ความแบนของเอกภพ\n|-\n|| ความผันผวนควอนตัม\n|| ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์\n|| ทฤษฎีสัมพัืธภาพทั่วไป\n|| หงุมดำที่ใจกลางดาราจักรแอนดรอเมดา\n|-\n|| การยุบตัวของความโน้มถ่วง\n|| \n|| \n|| การเกิดของธาตุต่าง ๆ\n|-\n|| \n|| \n|| \n|| \n|-\n|}\n== สาขาวิชาไลักของดาราศาสตร์ ==\n=== ดาราศาสตร์สุริยะ ===\n\nดวงอาทิตย์ เป็นเผ้าหมายการศึกษาทางดาราศาสตร์ยอดนิยมแห่งหนึ่ง อยู่ห่างขากโลกไปประมาณ 8 นาทีแสง เป็นดาวฤกษ์ซึ่งอยู่ในแถบลำดับหลักโดยเป็จดาวแคระประเภท G2 V มีอายุประมาณ 4.6 พันล้านปี ดวงอาทเตย์ของเรานี้ไม่นับว่าเป็นดาวแปรแสง แต่มีความเปลี่ยนแปลงในการส่องสว่างอบู่เป็นระยะอันเนื่ดงจากจากรอบปรากฏของจุดดับบนดวงอาทิตบ์ อันเป็นบริเวณที่พื้นผิวดวงอาทิตย๋มีอุณหภูมิต่ำกว่าพื้นผิวอื่น / อันเนื่องมาจากผลของความเข้มข้นสนามแม่เหล็ก\nดวงอาทิตส์ส่องแสงสว่างมากขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดอายุของมัจ นับแต่เข้าสู่แถบลำกับหลักก็ได้ส่องสว่างมากขึ้นถึง 40% แล้ว ความเปลี่ยสแปลงการส่องสว่างของดวงอาทิตย์ตามระยะเวลานี้มีผลกระทบอย่างสำคัญต่อโลหด้วย ตัวอย่างเช่นการเกิดปรากฏการณ์ยุคน้ำแข็งสั้น ๆ ช่วงหนึ่ง (Li5tle Ice Age) ระหว่างช่วงยุคกลาง ก็เชื่อว่าเป็นผลมาจาก Maunder Mihimum\nพื้นผิวรอบนอกของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นเรียกว่า โฟโตสเฟียร์ เหนือพื้นผิวนี้เป็นชัินบาง ๆ เรียกชื่อว่า โครโมสเฟียร์ จากนั้นเป็นชั้นเผลี่ยนผ่านซึ่งมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ชั้นนอกสุดมีอุณหภูมิสูงที่สุด เรียกว่า โคโรนา\nใจกลางของดวงอาทิตย์เรียกว่าย่านแกนกลาง เป็นเขตที่มีอุณหภูมิและความแเนมากพอจะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น เผนือจากย้านอกนกลางเรียกว่าย่านแผ่รังสี (radiation zone) เป็นที่ซึ่งพลาสมาแผ่คลื่นพลังงานออกมาในรูปของรังสี ชั้นนอกออกมาเป็นย่านพาความร้อน (convection zone) ซึ่งสสารแก๊สจะเปลี่ยนพลังงานกลายไปเป็นแก๊ส เชื่อว่าย่านพาความร้อนนี้เป็นกำเนิดของสนามกม่เหช็กที่ทำให้เกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์\nลมสุริยะเกิดจากอนุภาคของพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งจะแผ่ออกไปจนกระทั่งถึงแนว heliopause เมื่อลมสุริยะทำปฏิกิริยากับสนามแม่เหล็กของโลก ทำให้เกิดแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนและออโรร่า ในตำแหน่งที่เส้นแรงสนามแม่เหล็กโลกไหลเวียนในชั้นบรรยากาศ\n=== วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ===\n\nวิทนาศาสตร์ดาวเคราะห์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย และวัตถุท้องฟ้าอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ตลอดจนถึงบรรดาดาวเคราะห์นอกระบบด้วย วัตถุในระบบนุริยะจะเป็นที่นิยมศึกษาค้นึว้ามากกว่า ในช่วงแรกสามารถสังเกตการษ์ได้ผ่านกล้องโทรทรรศน์ ต่อมาจึงใช้การสังะกตการณ์โดยยานอวกาศมาช่วย การศึกษาสาขานี้ทำให้เราเข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบดาวเคราะำ์ได้ดีขึ้น แม้จะมีการค้นพบใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาก็ตาม\nวัตถุในระบบสุริยะสามารถแบ่งออกได้เป็น ดาวเคราะห์รอบใน แถบดาวเคราะห์น้อย และดาวเคราะห์รอบนอก ในกลุ่มดาวเคราะห์รอบในประกอบด้วย ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ส่วนในกลุ่มดาวเคราะห์รอบนอกเป็นดาวแก๊สยักษ์ ไดัแก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวเคราะห์หินขนาดเล็ก พลูโต พ้นจากดาวเนปจูนไปจะมีแถบไคเปอร็ และกลุ่มเมฆออร์ต ซึ่งแป่กว้างเป็นรดยะทางถึงหนึ่งปีแสง\nดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นจากแผ่นจานฝุ่นที่หมุนวนรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ เมื่อผ่านกระบวนการต่าง ๆ นานาเช่น การดึงดูดของแรงโน้มถ่วง การปะทะ การแตกสชาย และการรวมตัสกัน แผ่นจานฝุ่นเหล่านั้นก็ก่อตัวเป็นรูปร่างที่เรียกว่น ดาวเคราะห์ก่อนเกิด (protoplanet) แรงดันการแผ่รัวสีของลมสุริยะจะพัดพาเอาสสารที่ไม่สามารถรวมตัวกันติดให้กระจายหายไป คงเหลือแต่ส่วนของดาวเคราะห์ที่มีมวลมากกอจะดึงดูดยรรยากทศชั้นแก๊สของตัวเอาไว้ได้ ดาวเคราะห์ใหม่เหล่านี้ยังมีการดึงดูดและปลดปล่อยสสารในตัวตบอดช่วงเวลาที่ถูกเศษสัเป็ดดาวน้อย ๆ ปะทะตลอดเวลา การปะทะเหล่านี้ทำให้เกิดหลุมบ่อบนพื่นผิวดาวเคราะห์ดั่บเข่นที่ปรากฏบนพื้นผิวดวงจันทน์ ผลจากการปะทะนี้ส่วนหนึ่งอาจทำให้ดาวเคราะห์ก่อนเกิดแตกชิ้นส่วนออกมาและกลายไปเป็นดวงจันทร์ของมันก็ได้\nเมื่อดาวเคราะห์เหลืานี้มีมวลมากพอ โดยรวมเอาสสารที่มีความหนาแน่ตแบบต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยแัน กระบวนการนี้ทำให้ดาวเคราะห์ก่อตัวเป็นดาวแบบต่าง ๆ คือแกนกลางเป็นหิน หรือโลหะ ล้อมรอบแ้วยชั้นเปลือก และพื้นผิวภายนอก แกนกลางของดาวเคราะห์อาจเป็นของแข็งหรือขิงเหลวก็ได้ แกนกลสงของดาวเคราะห์บางดวงสามารถสร้างสนมมแม่เหล็กขอวตัวเองขึ้นมาได้ ซึ่งช่วยปกป้องชั้นบรรยากาศของดาวเครสะห์ดวงนั้น ๆ จากผลกระทบของลมสุริยะ\nควมมร้อนภายในของดาวเคราะห์หรือดวงจันทร์เป็นผลจากการปะทะกันที่ทำให้เก้ดโครงร่างและสารกัมมันตรึงสี (เช่น ยูเรเนียม ธอเรียม และ 36Al ดาวเคราะห์และดวงจ้นทร์บางดวงสะสมความร้อนไว้มากพอจะทำให้เกิดกระบวนการทางฑรณีวิทยนเช่น ภูเขาไฟและแผ่นดินไหว ส่วนพวกที่สามารถสะสมชั้นบรรยากาศของตัวเองได้ ก็จะมีกระบวนการกัดกร่อนของลมและน้ำ ดาวเีราะห์ที่เล็กกว่าจะเย็นตัวลงเร็วกว่า และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาจะหยุดลงเใ้นแต่หลุมบ่อจากการถูกชนเท่านั้ย\n=== ดาราศาสตน์ดาวฤพษ์ ===\n\nการศึกษาเกี่ยวกับดาวฤกษ์และวิวัฒนาการของดาวฤกษ์เป็นพื้นฐานสำคัญในการทำความเข้าใจกับเอกภพ วเทยาการฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของดวงดาวเกิดขึ้นมาจ่กการสังเกตการณ์และการพยายามสร้างทฤษฎีเพื่อทำความเข้าใจ รวมถึงการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นภายในดวงดาว\nดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นในยีานอวกาศที่มีฝุ่นและแก๊สอยู่หนาแน่น เรียกชื่อว่าเมฆโมเลกุลขนาดยักษ์ เมื่อเกิดภาวะที่ไม่เสถียร ส่วนประกอบของเมฆอาจแตกสลาย/ปภายใต้แรงโน้มถ่วง และทำให้เก้ดเป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิดขึ้น บริเวณที่มีความหนาแน่นของแก๊สและฝุ่นสูงมากพอ และร้อนมากพอ จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่า ซึ่งทำให้เกิดดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักขึ้น ธาตุที่กำเนิดขึ้นในแกนกลางของดาวฤกษ์โดยมากเป็นธาตุที่หนักกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งสิ้น\nคุณลักษณะต่าง ๆ ของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับมวลเ่ิ่มต้นของดาวฤกษ์นั้น ๆ ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะมีความส่องสส่างสูง และจะใข้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจากแกนกลางของมันเองไปอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาผ่านไป เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหล่านี้จะค่แย ๆ แปรเปลี่ยนกลายไปเป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์ก็จะวิวัฒนาการไป การเกิดฟิวชั่นของฮีเลรยมจะต้องใช้อุณหภูมิแกนกลางที่สูงกว่า ดังนั้นดาวฤกษ์นั้นก็จะขยายตัวใหญรขึ้น ขณะเดียวกันก็เพิ่ใความหนาแน่นแกนกลางของตัวเองด้วย ดาวแดงยักษ์จะมีช่วงอายุที่สั้นก่อนที่เชื้อเพลิงฮีเลียมจะถูกเผาผลนญหมดไป ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าจะผ่านกระบวนการวิวัฒนาการได้มากกว่า โดยที่มีธาตุหนักหบอมรวมอยู่ในตัวเพิ่มมากขึ้น\nการสิ้นสุดชะตากรรมของดาวฤกษ์ก็ขึ้รอยู่กับทวลของมันเช่นกัน ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรามากกว่า 8 เท่าจะแตกสลายกลายไปเป็นซูเปอร์โนว่ ขณะที่ดาวฤกษ์ที่เล็กกว่าจะกลายไปเป็นเนบิวลาด่วเคราะห์ และวิวัฒนาการต่อไปเป็นดาวแคระขาว ซากของซูเปอร์โนวาคือดาบนิวตรอนที่หนาแน่น หรือในกรษีที่ดาวฤกษ์นั้นมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรากว่า 3 เท่า มันขะกลายไปเป็นหลุมกำ สำหรับดาวฤกษ์่ี่เป็ยระบบดาวคู่อาจมีวิวัฒนาการที่แตกต่่งออกไป เช่นอาจมีการถ่ายเทมวลแก่กันแล้วกลายเป็นดาวแคระขาวแบบคู่ซึ่งสามารถจะกลายไปเป็นซูเปดร์โนวาได้ การเกิดเนบิวลาดาวเคราะห์และซูเปอร์โนวาเป็นการกระจายสสารธาตุออกไปสู่สสารระหว่างดาว หากไม่มีกรับวนการนี้แล้ว ดาวฤกษ์ใหม่ ๆ (และตะบบดาวเคาาะห์ของม้น) ก็จะพ่อตัวขึ้นมาจากเพียงไฮโดรดจนกับฮีเลียมเท่านั้น\n=== ดาราศาสตร์ดาราจัดร ===\n\nระชบสุริยะของเราโคจรอยู่ภายในดาราจักรทางช้างเผือก ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอยมีคาน และเป็นดาราจักรสมาชิกแห่งหนึ่ลในกลุ่มท้องถิืน เาราจักรนี้เป็นกลุ่มแก๊ส ฝุ่น ดาวฤกษ์ และวัตถุอื่น ๆ อีกจำนวนมากที่ำมุนวนไปรอบกัน โดยมีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อกันทำให้ดึงดูดกันไว้ ตำแหน่งขอบโลกอยู่ที่แขนฝั่นกังหันด้านนอกข้างหนึ่งของดาราจักร ดังนั้นจึงมีบางส่วนของทางช้างเผือกที่ถูกบังไว้และไม่สามารถมองเห็นได้\nที่ใจกลางของทางชิางเผือกมีลักษณะคล้ายดุมกังหันขนาดใหญ่ ซึ่งเชื่อว่าเป็นท้่ตั้งของหลุมดำมวลยวดยิ่ง รอบ ๆ ดุมกังหันเป็นดขนก้สหอยชั้นต้นมี 4 ปลายหมุนอยู่รอบ ๆ แกน เป็นย่านที่มีการเกเดใหม่ของดาวฤกษ์ดำเน้นอยู่ มีดาวฤกษ์แบบดารากร 1 ที่อายุเยาว์อยู่ในย่านนี้เป็นจำนวนมาก ส่วนจานของก้นหอยปรักอบด้วยทรงกลใฮาโล อันประกอบด้วยดาวฤกษ์แบบดทรากร 2 ที่มีอายุมากกว่า ทั้งยังเป็นที่ตั้งของกลุ่มดาวฤกษ์หนาแน่นที่เรียกกันว่า กระจุกดายทรงกลม\nที่ว่างระหว่างดวงดาใมีสสารระหว่างดาวบรรจุอยู่ เป็นย่านที่มีวัตถุตาาว ๆ อยู่อย่างเบทบางมาก บีิเย๊ที่หนาแน่นที่สุดคือเมฆโมเลกุล ซึ่งประกอบพ้วยโมเลกุลของไฮโดรเจนและธาตุอื่น ๆ ที่เป็นย่านกำเนิดของดาวฤกษ์ ในช่วงแตกจะมัการก่อตัวเป็นเนบิวลามืดรูปร่างประหลาดก่อน จากนั้นเมื่อมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นมาก ๆ ก็จะเกิดการอตกสลายดล้วก่อตัวใหม่เป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิด\nเมื่อมีดาวฤกษ์มวลมากปรากฏขึ้นมากเข้า มันยะัปลี่ยนเมฆโมเลกุลให้กลายเป็นบริเวณเอชทูซึ่งเป็นย่านเรืองแสงเต็มไปด้วยแก๊สและพลาสมา ลมดาวฤกษ์กับการระเบิดซูเปอร์โนวาของดาวเหล่านี้จะทำให้กลุ่มเมฆกระจรยตัวกันออกไป แล้วเหลือแต่เพียฝกลุ่มของดาวฤกษ๋จำนวนหนึ่งที่เกาะกลุ่มกันเป็นกาะจุกดาวเปิดอายุน้อย ๆ เมื่อเบลาผ่านไหกระจุกดาวเหล่านี้ก็จะค่อย ๆ กระจายห่างกันออกไผ แล้วกลายไปเป็นประชากรดาวดวงหนึรงในทางช้างเผือก\nการศึกษาจลนศาสตร์ของมวลสารในทางช้างเผือกและดาราจักรต่าง ๆ ทำใำ้เรรทราบว่า มวลที่มีอยู่ในดาราจักรนั้นแท้จริงมีมากกว่าสิ่งที่เรามองเไ็น ทฤษฎีเกี่ยวกับสสารมืดจึงเกิดขึ้าเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นี้ แม้ว่าธรรมชมติของสสารมืดยังคงเป็นสิ่งลึกลับไม่มีใครอธิบายได้\n=== ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ ===\n\nการศึกษาว้ตถุที่อยู่ในห้วงอวกาศอื่นนอกเหนือจากดาราจักรของเรา เป็ตกสรศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดและวิวัฒนาการของดาราจักร การศึกษารูปร่างลักษณะและการจัดประเภทของดาราจักร การสำรวจดาราจักรกัมมันต์ การศึกษากนรจัดกลุ่มและกระจุกดาราจักร ซึ่งในหัวข้อหลังนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำความเข้าใจกับธครงสา้างขนาดใหญ่ของจักรวาล\nดาราจักรส่วนใหญ่จะถูกจัดกลุ่มตามรูปร่างลักษณะที่ปรากฏ เข้าตามหลักเกณฑ์ของการจัดประเภทดาราจักร ซึ่งมีกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ ดาราจักรชนิดก้นหอย ดนราจักรชนิดรี และด่ราจักรไร้รูปแบบ\nลักษณะขอวดาราจักรคล้ายคลึงกับชื่อประเภทที่กำหนด ดาราจักรชนิดรีจะมีรูปร่างในภาคตัดขวางคล้ายคลึงกับรูปวงรี ดาวฤกษ์จะโคจรไปแบบสุ่มโดยไม่มีทิศทางที่แน่ชัด ดาราจักาประเภทนี้มักไม่ค่อยาีงุ่นระหว่าลดวงดาวหลงเหลือแล้ว ย่านกำเนิดดาวใหม่ก็ไม่มี และดาวฤกษ์ส่วนใหญ่จะมีอายุมาก เรามักพบดาราจักรชนิดรีที่บริเวณใจกลางขอบกระจุกดาราจักร หรืออาจเกิดขึ้รจากการที่ดา่าจักรขนรอใหญ่สองแห่งปะทะแล้วรวมตัวเข้าด้วยกันก็ได้\nดารรจักรชนิดก้นหอยมักมีรูปทรงค่อนข้างแบน เหมือนแผ่นจานหมุน และส่วนใหญ่จะมีหลุมดำมวลยวดยิ่งเป็นดุมหรือมีแกนรูปร่างคล้ายคานที่บริัวณใจกลาง พร้อมกับแขนก้นหอยสว่างแผ่ออกไปเป็นวง แขสก้นหอยนี้เป็นย่านของฝุ่นที่เป็นต้นกำเนิดของดทวฤกษ์ ดาวฤกษ์อายุน้อยมวลมากจะทำให้แขนนี้ส่องสว่างเป็นสีฟ้า ส่วนที่รอบนอกของดาราจักรมักเป็นกลุ่มของดาวฤกษ์อายุมาก ดาตาจักรทางช้างเผือกของเราและดาราจักรแอนดรอเมดาก็เป็นดาราจักรชนิดก้ตหอย\nดาราจักรไร้รูปแบบมึกมีรูปร่างปรากฏไม่แน่ไม่นอน ไม่ใช่ทั้งดาราจักรชนิดรีหรือชนิดก้นหอย ประมาณหนึ่งในสี่ของจำนวนดรราจักรทั้งหมดที่พบเป็นดาาาจักรชนิดไร้รูปแบบนี้ รูปร่างอันแปลกประหลทดของดาราจักรมัดทำให้เกิดปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงแปลก ๆ ขึ้นด้วย\nดาราจักรกัมมันค์คือดาราจักรที่มีการเปล่งสัญญาณพลังงานจำนวนมากออกมาจากแหล่งกำเนิดอื่นนอกเหนือจากดาวฤกษ์ ฝุ่น และแก๊ส แหล่งพลังงานนี้เป็นย่านเล็ก ๆ แต่หนาแน้นมากซึ่งอยู่ในแกนกลางดาราจักร โเยทั่วไปเชื่อกันว่ามีหละมดำมวลยวดยิ่งอยู่ที่นั่นซึ่งเปล่งพลังงานรังสีออกมาเมื่เมีวัตถุใด ๆ ตกลงไกในนั้น ดา่าจักรวิทยุคือดาราจักรกัมมันต์ชนิดหนึ่งที่ส่องสว่างมากในช่วงส้ปกตรัมของคลื่นวิทยุ มันจะเปล่งลอนของแก๊สออกมาเป็นจำนวนมาก ดาราจักรกัมมันต์ที่แผ่รังสีพลังงานสูงออกมาได้แก่ ดาราจักรเซย์เฟิร์ต เควซาร์ ปละเบลซาร์ เชื่อว่าเควซาร์เป็นวัตถุที่ส่องแสงสว่างมากที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักใาเอกภพ\nโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาลผระกอบด้วจกลุ่มและกระจุกดาราจักรจำนวนมาก โครงสร้างนี้มีการจัดลำดับชั้นโดยที่ระดับชั้นที่ฝหญ่ที่สุดคือ มหากระจุกของดาราจักร เหนือกว่านั้นมวลนารจะมีการโยงใยกันในลักษณะของใยเอกภพและกำแพงเอกภพ ส่วนที่ว่างระหว่างนั้นมีแต่สุญญากาศ\n=== จักรวาลวิทยา ===\nจักรวาลวิทยา (cosmology; มาจากคำใน_าษากรีกว่า κοσμος \"cosmos\" หมายถึง เอกภพ และ λογος หมายถึง การศึกษา) เป็นการศึกษาเกี่ยวกังเอกภพทั้งหมดในภาพรวม\nการสึงเกตการณ์โคนงสร้างขนาดใหญ่ของเอกภพ เป็นสาขาวิชาหนึ่งาค่เ่ียกว่า จักรวาลวิทยาเลิงกายภาพ ช่วยให้อรามีความเข้าใจอย่สงลึกซึ้งเกี่ยวกับการกำเนิดและวิวัฒนาการของจักรวาล ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับพื้นฐานของจักรวาลวิทยาสมัยใหม่ ได้แก่ ทฤษฎีบิกแบง ซึ่งกล่างว่าเอกภพของเรากำเนิดมาจากจุดเพียงจุดเดียว หลังจากนั้นจึงขยายตัวขึ้นเป็นเวลากว่า 13.7 พันล้านปีมาแฃ้ว หลักการของทฤษฎีบิกแบงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่การค้นพบรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจุกรวาล ในปี ค.ศ. 1965\nตลออช่วงเวลาการขยนยตัวของเอกภพนี้ เอกภพได้ผ่านขั้นตอนของวิวัฒนาการมามากมายหลายครั้ง ในช่วงแรก ทฤษฎีคาดการณ์ว่าเอกภพน่าจะผ่านช่วงเวลาการพองตัวของจักรวาลที่รวดเร็วมหาศาล ซึ่งเป็นหนึ่งเดียวกันแลถเสมอกันในทุกทิฬทางในสภาวะเริ่มต้น หลังจากนั้น นิวคลีโอซินทีสิสจึงทำให้เกิะธาตุต่ทง ๆ ขึ้นมากมานฝนเอกภพยุคแรก\nเมื่อมีอะตอมแรกเกิดขึ้น จึงมีการแผ่รังสีผ่านอวกาศ ปลดปล่อยพลังงานออกมาดั่งที่ทุกวันนี้เรามองเห็นเป็นรังสีไมโคีเวฟพื้นหลังของจักรวาล เอกภพขยายตัวผ่่นช่วงเวลาของยุคม่ดเพราะหม่ค่อยมีแหล่วกำเนิดพลังงานของดาวฤกษ์\nเริ่มมีการจัดโครงสร้างลำดับชั้นของสสาาขึ้นนับแต่เริ่ามีการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของสสาร สสารที่รวมกลุ่มกันอยู่เป็นบริเวณหนาแน่นที่สุดกลายไปเป็นกลุ่มเมฆแก๊สและดาวฤกษ์ยุคแรแสุด ดาวฤกษ์มวลมากเหล่านี้เป็นจุดกำเนิดของกระบวนกนรแตกตัวทางไฟฟ้าซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของธาตะหนักมากมายที่อยู่ในเอกภพยุคเริ่มต้น\nผลจากแรงโน้มถ่วงทำให้มีการดึงดูดรวมกลุ่มกันเกิดเป็นใยเอกภพ มีช่องสุญญากาศเป็นพื้นมี่ว่าง หลังจากนั้นโครงสร้างของแก๊สและฝุ่นก็ค่อย ๆ รวมตัวกันเกิดเป็นดาราจักรยุคแรกเริ่ม เมื่อเวลาผ่านไป มันดึงดูดสสารต่าง ๆ เข้ามารวมกันมากขึ้น และมีการจัดกลุ่มโครงสร้มงเข้าด้วยดันเป็นกลุ่มและกระจุกดาราจักร ซึ่งเป็นส่งนหนึรงในโครงสร้างขนาดใหญ่คือมหากระจุกดาราจักร\nโครงสร้างพื้นฐานที่สุดของจักรบาลคือปารมีอยู่ของสสารมืดและพลังงานมืด ในปัจจุบันเราเชิ่อกันว่าทั้งสองสิ่งนี้มีอยู่จริง และเป็นส่วนประกอบถึงกว่า 96% ของความหนาแน่นทั้งหมดของออกภพ เหตุนี้การศึกษาฟิสิกส์ในยะคใหม่จึงเป็นความพยายามทำความเข้าใจกับองค์ประกอบเหล่านี้\n== ศาสตร์ที่เกี่ยฝข้องกับสาขาอื่น ==\nการศึกษาดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตรฺที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สาขาอื่นมากยิ่งขึ้น ดังนี้\nโบราณดาราศาสตร์ (Archaeoastronomy) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการดาราศาสตร์ในยุคโบราณหรือยุคดั้งเดิม โดยพิจารณาถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรม อาศัยหลักฐานในทางโบราณคดีและมานุษยวิทยาเข้ามาช่วย\nชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology) เป็นการศึกษาหารมาถึงและวิวัฒนาการของาะบบชีววิทยาในเอกภพ ที่วำคัญคือการศึกษาและตรวจหาคบามเป็นไปได้ของสิ่งมีชีวิตในโลกอ้่น\nเคมีดาราศาสตร์ (Astrochemistry) เห็นการศึกษาลักษณะทางเคมีท่่พบในอวกาศ นับแต่การก่อตัว การเกิดปฏิกิริยา และการสูญสลาย มักใช้ในการศึกษาเมฆโมเลกุล รวมถึงดาวฤกษ์อุณหภูมิต่ำต่าง ๆ เช่น ดาวแคระน้ำตาลและดาวเคราะห์ น่วน เคมีจักรวาล (Cosmoxhemisrry) เป็นการศึกษาลักษณะทางเคมีท่่พยในระบบาุริยะ รวมถึงกำอนิดของธาตุและการิปลีียนแปลงสัดส่วนของไอโซโมป ทั้งสองสาขานี้คาบเกี่ยวกันระหว่างศาสตร์ทางเคใีและดาราศาสตร์\nนอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับ การวัดตำแหน่งดาว (Astrometry) และกลศาสตร์ท้องฟ้า (Celestial Mechanics) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับตำแหน่งและการเปลี่ยนแปลงจำแหน่งจองวัตถุท้องฟ้า การระบุพิกัดและจลนศาสตร์ของวัตถุท้องๆ้า ลักษฯะของวงโคจร ความโน้มถ่วง และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิลากลศาสตร์และฟิสิกส์\n== ดาราศาสตร์สมัครเล่น ==\n\nดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์ที่บุคคลทั่วไปสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างมากที่สุด\nนับแต่อดีตมา นักดาราศาสตร์สมัครเล่นได้สังเกตพบวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญมากมายด้วยเครื่องมือที่พวกเขาสร้างขึ้นมาเอง เป้าหมายในการสังเกตการณ์ของนักดาราศาวตร์สมัครเล่นโดยมากได้แก่ ดวฝจันทร์ ดางเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาวหาง ฝนดาวตก และงัตถุในห้วงอวกาศลึกอีกจำนวนหนึ่งเช่น กระจุกดาว กระจุกดาราจักร หรือเนบิวลา สาข่วิชาย่อยสาขาหนึ่งของดาราศาสตร์สมัครเล่น คือการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการถ่ายภาพในท้องฟ้ายามร่ตรี นักดาราศาสตร์สมัคระล่นส่วนมากจะเจาะจงเฝ้าสังเกตวัตถุท้องฟ้าหรือปรากฏการณ?บางอย่างที่พวกเขานนใจเป็นพิเศษ\nส่วนใหญ่แล้วนักดาราศาสตร์สมัครเล่นจะสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในคลื่นที่ตามองเห็น แต่ก็มีการทดลองเล็ก ๆ อยู่บ้างที่กระทำในช่วงคลื่นอ่่นนอกจากคลื่นืี่ตามองเห็น เช่นการใช้ฟิลเตอี์แบบอินๆราเรดติเบนกล้องโทรทรรศน์ หรือการใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุ เป็นต้น นักดาราศาสตร์สมัครเล่นผู้บุกเบิกในการสังเกตการ๕์ดาราศาสตร์วิทยุ คือ คาร์ล แจนสกี (Karl Jansky) ผู้เริ่มเฝ้าสุงเกตท้องฟ้าในช่วงคลื่นวิทยุตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 ยังมีนักดาราศาสตร์สมัครเล่นอีกจำนวนหนึ่งที่ใช้กล้องโทรทรรศน์ประดิษฐ์เองที่บ้าน หรือใช้กล้องโทรมรรศน์วิทยุที่ดต่เดิมสร้างมาเพื่องานวิจัยทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันได้เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าไปใช้งานได้ด้วย\nมีบทความทางดาราศาสตร์สากมายที่ส่งมาจากนักดาราศาสตร์สมัครเล่น อันที่จริงแล้ว นี่ิป็นหนึ่งในไม่กี่สาขมวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่มือสมัครเล่นก็สามารถสีส่วนร่วมหรือเขียนบทความสำคัญ ๆ ขึ้นมาได้ นักดสราศาสตร์สมัครเล่นสามารถตรวจวัดวงโคจรโดยละเอียดของดาวเคราะห์ขนาดเล็กได้ พวกเขาค้นพบดาวหาง และทำการเฝ้าสังเกตดสวแปรแสง ความก้าวหนีาของเทคโนโลยีดิจิตอลทำให้นักดาราศาสตร์สมัครเล่นมีความสามารถในการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น และหลาย ๆ ภาพก็เป็าภาพปรากฏการณ์อันสำคัญทางดาราศาสตร์ด้วย\n== ปีอาราศาสตร์าากล 2009 ==\nปี ค.ศ. 2009 เป็นปีที่ครบรอบ 400 ปี นับจากกาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ขึ้นเพื่อทำการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ และพบหลักฐานยืนยันแนวคิดดวงอาทิคย์เป็นศูนย์กลางจักรวาลที่นำเสนอโดย นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ไม่นานก่อนหน้านั้น กาาค้นพบนี้ถือเป็นการปฏิวัติแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวปับจักรวาล และเป็นการชุกเบิกการศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นตามที่เทคโนโลยีของกล้องโทรทรรศน์พัฒนาขึ้น\nองค์การสหปตะชาชาติจึงำด้ประกาศให้ปี ค.ศ. 2009 เป็นปีดาราศาสจค์สากล โดยไก้ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 ธันฝาคม ต.ศ. 2008 กิจกรรมต่าง ๆ ดำเนินการโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล แลเได้รับกาคสนับสนุนจากอลค์การยูเตสฌก ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสหประชาลาติที่รับผิดชอบงานด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม มีพ้ธี้ปิดอย่างเป็นทางการที่ดรุงปารีส ในวันที่ 15-16 มกราคม ค.ศ. 2009\n== ดูเพิ่ม ==\nปีดาราศาสตร์สนกล\nนักดาราศาสตร์\nกบุ่มดาว\nบันไดระยะห่างของจักรวาล\nระบบสุริยะ\nกล้องโทรทรรศน์\nการสำรวจอวกาศ\nสมาคมดาราศาสตร์ไทย\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ \"ปีดาตาศาสตร์สากล 2009\" \nสมาคมดาราศาสตร์ไทย \nสถาบันวิจัยดาราฬาสตร์แห่งชาติ \nโครงการเครือข่ายสารสนเทศดาราศาสตร์สำหรับโรงเรรยน \nศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) \nโครงการลีซ่า โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดยหอดูดาวเกิดแก้ว สนับสนุนโดยสำนักงานดองทุนสนับสนุนการวิจัย \nดาราศาสตร์ดอจคอม \nดูดาวดอตคอม \nอบค์การนาซา \nวา่สารดาราศาสตร์ Astronomy.com \nเว็บไซต์ทางำาร กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุในท้องฟ้า (เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ\nดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี\nการค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว\nไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน\nในปี ค.ศ. 2019 เป็นการครบรอบ 410 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปี ค.ศ.2019 เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น\n== ประวัติ ==\nดาราศาสตร์นับเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดวิชาหนึ่ง เพราะนับตั้งแต่มีมนุษย์อยู่บนโลก เพราะมนุษย์ได้เห็นและได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติเสมอมา แล้วก็เริ่มสังเกตจดจำและเล่าต่อ ๆ กัน เช่น เมื่อมองออกไปรอบตัวเห็นพื้นดินราบ ดูออกไปไกล ๆ ก็ยังเห็นว่าพื้นผิวของโลกแบน จึงคิดกันว่าโลกแบน มองฟ้าเห็นโค้งคล้ายฝาชีหรือโดม มีดาวให้เห็นเคลื่อนข้ามศีรษะไปทุกคืน กลางวันมีลูกกลมแสงจ้า ให้แสง สี ความร้อน ซึ่งก็คือ ดวงอาทิตย์ ที่เคลื่อนขึ้นมาแล้วก็ลับขอบฟ้าไป ดวงอาทิตย์จึงมีความสำคัญกับเรามาก\nการศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรก ๆ เป็นการเฝ้าดูและคาดเดาการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าเหล่านั้นที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก่อนยุคสมัยที่กล้องโทรทรรศน์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น มีสิ่งปลูกสร้างโบราณหลายแห่งที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สำหรับการเฝ้าศึกษาทางดาราศาสตร์ เช่น สโตนเฮนจ์ นอกจากนี้การเฝ้าศึกษาดวงดาวยังมีความสำคัญต่อพิธีกรรม ความเชื่อ และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลี่ยนฤดูกาล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมการเพาะปลูก รวมถึงเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงระยะเวลา วัน เดือน ปี\nเมื่อสังคมมีวิวัฒนาการขึ้นในดินแดนต่าง ๆ การสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ก็ซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เมโสโปเตเมีย กรีก จีน อียิปต์ อินเดีย และ มายา เริ่มมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของธรรมชาติแห่งจักรวาลกว้างขวางขึ้น ผลการศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรก ๆ จะเป็นการบันทึกแผนที่ตำแหน่งของดวงดาวต่าง ๆ อันเป็นศาสตร์ที่ปัจจุบันเรียกกันว่า การวัดตำแหน่งดาว (astrometry) ผลจากการเฝ้าสังเกตการณ์ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่าง ๆ เริ่มก่อตัวเป็นรูปร่างขึ้น ธรรมชาติการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก นำไปสู่แนวคิดเชิงปรัชญาเพื่อพยายามอธิบายปรากฏการณ์เหล่านั้น ความเชื่อดั้งเดิมคือโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่าง ๆ เคลื่อนที่ไปโดยรอบ แนวคิดนี้เรียกว่า แบบจำลองแบบโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาล (geocentric model)\nมีการค้นพบทางดาราศาสตร์ที่สำคัญไม่มากนักก่อนการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ ตัวอย่างการค้นพบเช่น ชาวจีนสามารถประเมินความเอียงของแกนโลกได้ประมาณหนึ่งพันปีก่อนคริสตกาล ชาวบาบิโลนค้นพบว่าปรากฏการณ์จันทรคราสจะเกิดขึ้นซ้ำเป็นช่วงเวลา เรียกว่า วงรอบซารอส และช่วงสองร้อยปีก่อนคริสตกาล ฮิปปาร์คัส นักดาราศาสตร์ชาวกรีก สามารถคำนวณขนาดและระยะห่างของดวงจันทร์ได้\nตลอดช่วงยุคกลาง การค้นพบทางดาราศาสตร์ในยุโรปกลางมีน้อยมากจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 แต่มีการค้นพบใหม่ ๆ มากมายในโลกอาหรับและภูมิภาคอื่นของโลก มีนักดาราศาสตร์ชาวอาหรับหลายคนที่มีชื่อเสียงและสร้างผลงานสำคัญแก่วิทยาการด้านนี้ เช่น Al-Battani และ Thebit รวมถึงคนอื่น ๆ ที่ค้นพบและตั้งชื่อให้แก่ดวงดาวด้วยภาษาอารบิก ชื่อดวงดาวเหล่านี้ยังคงมีที่ใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน\n=== การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ===\n\nในยุคเรอเนซองส์ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ได้นำเสนอแนวคิดแบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมากจากศาสนจักร ทว่าได้รับการยืนยันรับรองจากงานศึกษาของกาลิเลโอ กาลิเลอี และ โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ โดยที่กาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์หักเหแสงแบบใหม่ขึ้นในปี ค.ศ. 1609 ทำให้สามารถเฝ้าสังเกตดวงดาวและนำผลจากการสังเกตมาช่วยยืนยันแนวคิดนี้\nเค็พเพลอร์ได้คิดค้นระบบแบบใหม่ขึ้นโดยปรับปรุงจากแบบจำลองเดิมของโคเปอร์นิคัส ทำให้รายละเอียดการโคจรต่าง ๆ ของดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ที่ศูนย์กลางสมบูรณ์ถูกต้องมากยิ่งขึ้น แต่เค็พเพลอร์ก็ไม่ประสบความสำเร็จในการนำเสนอทฤษฎีนี้เนื่องจากกฎหมายในยุคสมัยนั้น จนกระทั่งต่อมาถึงยุคสมัยของเซอร์ ไอแซค นิวตัน ผู้คิดค้นหลักกลศาสตร์ท้องฟ้าและกฎแรงโน้มถ่วงซึ่งสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้อย่างสมบูรณ์ นิวตันยังได้คิดค้นกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นด้วย\nการค้นพบใหม่ ๆ เกิดขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมไปกับการพัฒนาขนาดและคุณภาพของกล้องโทรทรรศน์ที่ดียิ่งขึ้น มีการจัดทำรายชื่อดาวอย่างละเอียดเป็นครั้งแรกโดย ลาซายล์ ต่อมานักดาราศาสตร์ชื่อ วิลเลียม เฮอร์เชล ได้จัดทำรายการโดยละเอียดของเนบิวลาและกระจุกดาว ค.ศ. 1781 มีการค้นพบดาวยูเรนัส ซึ่งเป็นการค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่เป็นครั้งแรก ค.ศ. 1838 มีการประกาศระยะทางระหว่างดาวเป็นครั้งแรกโดยฟรีดดริค เบสเซล หลังจากตรวจพบพารัลแลกซ์ของดาว 61 Cygni\nระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 ออยเลอร์ คลาเราต์ และดาเลมเบิร์ต ได้คิดค้นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับปัญหาสามวัตถุ (three-body problem หรือ n-body problem) ทำให้การประมาณการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และดาวเคราะห์สามารถทำได้แม่นยำขึ้น งานชิ้นนี้ได้รับการปรับปรุงต่อมาโดย ลากร็องฌ์ และ ลาปลัส ทำให้สามารถประเมินมวลของดาวเคราะห์และดวงจันทร์ได้\nการค้นพบสำคัญทางดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จมากขึ้นเมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น การถ่ายภาพ และสเปกโตรสโคป เราทราบว่าดวงดาวต่าง ๆ ที่แท้เป็นดาวฤกษ์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับดวงอาทิตย์ของเรานั่นเอง แต่มีอุณหภูมิ มวล และขนาดที่แตกต่างกันไป\nการค้นพบว่า ดาราจักรของเราหรือดาราจักรทางช้างเผือกนี้ เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์ที่รวมตัวอยู่ด้วยกัน เพิ่งเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นี้เอง พร้อมกับการค้นพบการมีอยู่ของดาราจักรอื่น ๆ ต่อมาจึงมีการค้นพบว่า เอกภพกำลังขยายตัว โดยดาราจักรต่าง ๆ กำลังเคลื่อนที่ห่างออกจากเรา การศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่ยังค้นพบวัตถุท้องฟ้าใหม่ ๆ อีกหลายชนิด เช่น เควซาร์ พัลซาร์ เบลซาร์ และดาราจักรวิทยุ ผลจากการค้นพบเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนาทฤษฎีทางฟิสิกส์เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ของวัตถุเหล่านี้เปรียบเทียบกับวัตถุประหลาดอื่น ๆ เช่น หลุมดำ และดาวนิวตรอน ศาสตร์ทางด้านฟิสิกส์จักรวาลวิทยามีความก้าวหน้าอย่างมากตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20 แบบจำลองบิกแบงได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานต่าง ๆ ที่ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์ เช่น การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล กฎของฮับเบิล และการที่มีธาตุต่าง ๆ มากมายอย่างไม่คาดคิดในจักรวาลภายนอก\n== ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ ==\n\nในทางดาราศาสตร์ สารสนเทศส่วนใหญ่ได้จากการตรวจหาและวิเคราะห์โฟตอนซึ่งเป็นการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แต่อาจได้จากข้อมูลที่มากับรังสีคอสมิก นิวตริโน ดาวตก และในอนาคตอันใกล้อาจได้จากคลื่นความโน้มถ่วง\nการแบ่งหมวดของดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์สามารถแบ่งได้ตามการสังเกตการณ์สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านต่าง ๆ โดยการสังเกตการณ์บางย่านสเปกตรัมสามารถกระทำได้บนพื้นผิวโลก แต่บางย่านจะสามารถทำได้ในชั้นบรรยากาศสูงหรือในอวกาศเท่านั้น การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในย่านสเปกตรัมต่าง ๆ แสดงดังรายละเอียดต่อไปนี้\n=== ดาราศาสตร์วิทยุ ===\nดาราศาสตร์วิทยุเป็นการตรวจหาการแผ่รังสีในความยาวคลื่นที่ยาวกว่า 1 มิลลิเมตร (ระดับมิลลิเมตรถึงเดคาเมตร) เป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่แตกต่างจากการศึกษาดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์รูปแบบอื่น ๆ เพราะเป็นการศึกษาคลื่นวิทยุซึ่งถือว่าเป็นคลื่นจริง ๆ มากกว่าเป็นการศึกษาอนุภาคโฟตอน จึงสามารถตรวจวัดได้ทั้งแอมปลิจูดและเฟสของคลื่นวิทยุซึ่งจะทำได้ยากกว่ากับคลื่นที่มีความยาวคลื่นต่ำกว่านี้\nคลื่นวิทยุที่แผ่จากวัตถุดาราศาสตร์จำนวนหนึ่งอาจอยู่ในรูปของการแผ่รังสีความร้อน โดยมากแล้วการแผ่คลื่นวิทยุที่ตรวจจับได้บนโลกมักอยู่ในรูปแบบของการแผ่รังสีซิงโครตรอน ซึ่งเกิดจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก นอกจากนี้สเปกตรัมที่เกิดจากแก๊สระหว่างดาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนที่ 21 เซนติเมตร จะสามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุ\nวัตถุดาราศาสตร์ที่สามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุมีมากมาย รวมไปถึงซูเปอร์โนวา แก๊สระหว่างดาว พัลซาร์ และนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์\n=== ดาราศาสตร์เชิงแสง ===\nการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์เชิงแสงเป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด คือการสังเกตการณ์ท้องฟ้าด้วยดวงตามนุษย์ โดยอาศัยเครื่องมือช่วยบ้างเช่น กล้องโทรทรรศน์ ภาพที่มองเห็นถูกบันทึกเอาไว้โดยการวาด จนกระทั่งช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงมีการบันทึกภาพสังเกตการณ์ด้วยเครื่องมือถ่ายภาพ ภาพสังเกตการณ์ยุคใหม่มักใช้อุปกรณ์ตรวจจับแบบดิจิตอล ที่นิยมอย่างมากคืออุปกรณ์จับภาพแบบซีซีดี แม้ว่าแสงที่ตามองเห็นจะมีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 4000 Å ถึง 7000 Å (400-700 nm) แต่อุปกรณ์ตรวจจับเหล่านี้ก็มักจะมีความสามารถสังเกตภาพที่มีการแผ่รังสีแบบใกล้อัลตราไวโอเลต และใกล้อินฟราเรดได้ด้วย\n=== ดาราศาสตร์อินฟราเรด ===\nดาราศาสตร์อินฟราเรด เป็นการตรวจหาและวิเคราะห์การแผ่รังสีในช่วงคลื่นอินฟราเรด (คือช่วงความยาวคลื่นที่ยาวกว่าแสงสีแดง) ยกเว้นในช่วงคลื่นที่ใกล้เคียงกับแสงที่ตามองเห็น การแผ่รังสีอินฟราเรดจะถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไปมากแล้วชั้นบรรยากาศจะปลดปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมาแทน ดังนั้นการสังเกตการณ์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดจึงจำเป็นต้องทำที่ระดับบรรยากาศที่สูงและแห้ง หรือออกไปสังเกตการณ์ในอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดมีประโยชน์มากในการศึกษาวัตถุที่เย็นเกินกว่าจะแผ่รังสีคลื่นแสงที่ตามองเห็นออกมาได้ เช่น ดาวเคราะห์ และแผ่นจานดาวฤกษ์ (circumstellar disk) ยิ่งคลื่นอินฟราเรดมีความยาวคลื่นมาก จะสามารถเดินทางผ่านกลุ่มเมฆฝุ่นได้ดีกว่าแสงที่ตามองเห็นมาก ทำให้เราสามารถเฝ้าสังเกตดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเมฆโมเลกุลและในใจกลางของดาราจักรต่าง ๆ ได้ โมเลกุลบางชนิดปลดปล่อยคลื่นอินฟราเรดออกมาแรงมาก ซึ่งทำให้เราสามารถศึกษาลักษณะทางเคมีในอวกาศได้ เช่น การตรวจพบน้ำบนดาวหาง เป็นต้น\n=== ดาราศาสตร์พลังงานสูง ===\n\n==== ดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลต ====\nดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงม่วง คือประมาณ 10-3200 Å (10-320 นาโนเมตร) แสงที่ความยาวคลื่นนี้จะถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์จึงต้องกระทำที่ชั้นบรรยากาศรอบนอก หรือในห้วงอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตจะใช้ในการศึกษาการแผ่รังสีความร้อนและเส้นการกระจายตัวของสเปกตรัมจากดาวฤกษ์สีน้ำเงินร้อนจัด (ดาวโอบี) ที่ส่องสว่างมากในช่วงคลื่นนี้u รวมไปถึงดาวฤกษ์สีน้ำเงินในดาราจักรอื่นที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการสำรวจระดับอัลตราไวโอเลต วัตถุอื่น ๆ ที่มีการศึกษาแสงอัลตราไวโอเลตได้แก่ เนบิวลาดาวเคราะห์ ซากซูเปอร์โนวา และนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ อย่างไรก็ดี แสงอัลตราไวโอเลตจะถูกฝุ่นระหว่างดวงดาวดูดซับหายไปได้ง่าย ดังนั้นการตรวจวัดแสงอัลตราไวโอเลตจากวัตถุจึงต้องนำมาปรับปรุงค่าให้ถูกต้องด้วย\n==== ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ ====\nดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ คือการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์ โดยทั่วไปวัตถุจะแผ่รังสีเอ็กซ์ออกมาจากการแผ่รังสีซิงโครตรอน (เกิดจากอิเล็กตรอนแกว่งตัวเป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก) จากการแผ่ความร้อนของแก๊สเบาบางที่อุณหภูมิสูงกว่า 107 เคลวิน (เรียกว่า การแผ่รังสี bremsstrahlung) และจากการแผ่ความร้อนของแก๊สหนาแน่นที่อุณหภูมิสูงกว่า 107 เคลวิน (เรียกว่า การแผ่รังสีของวัตถุดำ) คลื่นรังสีเอ็กซ์มักถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์ในช่วงความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์จึงทำได้โดยอาศัยบัลลูนที่ลอยตัวสูงมาก ๆ หรือจากจรวด หรือจากยานสำรวจอวกาศเท่านั้น แหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ที่สำคัญได้แก่ ระบบดาวคู่รังสีเอ็กซ์ พัลซาร์ ซากซูเปอร์โนวา ดาราจักรชนิดรี กระจุกดาราจักร และแกนกลางดาราจักรกัมมันต์\n==== ดาราศาสตร์รังสีแกมมา ====\nดาราศาสตร์รังสีแกมมาเป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นที่สั้นที่สุดของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า เราสามารถสังเกตการณ์รังสีแกมมาโดยตรงได้จากดาวเทียมรอบโลก เช่น หอดูดาวรังสีแกมมาคอมป์ตัน หรือกล้องโทรทรรศน์เชเรนคอฟ กล้องเชเรนคอฟไม่ได้ตรวจจับรังสีแกมมาโดยตรง แต่ตรวจจับแสงวาบจากแสงที่ตามองเห็นอันเกิดจากการที่รังสีแกมมาถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป\nแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาโดยมากมาจากการเกิดแสงวาบรังสีแกมมา ซึ่งเป็นรังสีแกมมาที่แผ่ออกจากวัตถุเพียงชั่วไม่กี่มิลลิวินาทีหรืออาจนานหลายพันวินาทีก่อนที่มันจะสลายตัวไป แหล่งกำเนิดรังสีแกมมาชั่วคราวเช่นนี้มีจำนวนกว่า 90% ของแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาทั้งหมด มีแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาเพียง 10% เท่านั้นที่เป็นแหล่งกำเนิดแบบถาวร ได้แก่ พัลซาร์ ดาวนิวตรอน และวัตถุที่อาจกลายไปเป็นหลุมดำได้ เช่น นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์\n=== การสังเกตการณ์อื่นนอกเหนือจากสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ===\nนอกเหนือจากการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์โดยการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแล้ว ยังมีการสังเกตการณ์อื่น ๆ ที่ทำได้บนโลกเพื่อศึกษาวัตถุในระยะไกลมาก ๆ\nในการศึกษาดาราศาสตร์นิวตริโน นักดาราศาสตร์จะใช้ห้องทดลองใต้ดินพิเศษเช่น SAGE, GALLEX, และ Kamioka II/III เพื่อทำการตรวจจับนิวตริโน ซึ่งเป็นอนุภาคที่เกิดจากดวงอาทิตย์ แต่ก็อาจพบจากซูเปอร์โนวาด้วย เราสามารถตรวจหารังสีคอสมิกซึ่งประกอบด้วยอนุภาคพลังงานสูงได้ขณะที่มันปะทะกับชั้นบรรยากาศของโลก เครื่องมือตรวจจับนิวตริโนในอนาคตอาจมีความสามารถพอจะตรวจจับนิวตริโนที่เกิดจากรังสีคอสมิกในลักษณะนี้ได้\nการเฝ้าสังเกตการณ์อีกแบบหนึ่งคือการสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วง ตัวอย่างหอสังเกตการณ์ลักษณะนี้ เช่น Laser Interferometer Gravitational Observatory (LIGO) แต่การตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงยังเป็นไปได้ยากอยู่\nนอกจากนี้ ยังมีการศึกษาดาราศาสตร์ดาวเคราะห์ ซึ่งทำได้โดยการสังเกตการณ์โดยตรงผ่านยานอวกาศ รวมถึงการเก็บข้อมูลระหว่างที่ยานเดินทางผ่านวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ โดยใช้เซ็นเซอร์ระยะไกล ใช้ยานสำรวจเล็กลงจอดบนวัตถุเป้าหมายเพื่อทำการศึกษาพื้นผิว หรือศึกษาจากตัวอย่างวัตถุที่เก็บมาจากปฏิบัติการอวกาศบางรายการที่สามารถนำชิ้นส่วนตัวอย่างกลับมาทำการวิจัยต่อได้\n== ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ==\nในการศึกษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี มีการใช้เครื่องมือหลากหลายชนิดรวมถึงแบบจำลองการวิเคราะห์ต่าง ๆ รวมถึงการจำลองแบบคำนวณทางคณิตศาสตร์ในคอมพิวเตอร์ เครื่องมือแต่ละชนิดล้วนมีประโยชน์แตกต่างกันไป แบบจำลองการวิเคราะห์ของกระบวนการจะเหมาะสำหรับใช้ศึกษาถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นอันสามารถสังเกตได้ ส่วนแบบจำลองคณิตศาสตร์สามารถแสดงถึงการมีอยู่จริงของปรากฏการณ์และผลกระทบต่าง ๆ ที่เราอาจจะมองไม่เห็น.\nนักดาราศาสตร์ทฤษฎีล้วนกระตือรือร้นที่จะสร้างแบบจำลองทฤษฎีเพื่อระบุถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปจากผลสังเกตการณ์ที่ได้รับ เพื่อช่วยให้ผู้สังเกตการณ์สามารถเลือกใช้หรือปฏิเสธแบบจำลองแต่ละชนิดได้ตามที่เหมาะสมกับข้อมูล นักดาราศาสตร์ทฤษฎียังพยายามสร้างหรือปรับปรุงแบบจำลองให้เข้ากับข้อมูลใหม่ ๆ ในกรณีที่เกิดความไม่สอดคล้องกัน ก็มีแนวโน้มที่จะปรับปรุงแบบจำลองเล็กน้อยเพื่อให้เข้ากันกับข้อมูล ในบางกรณีถ้าพบข้อมูลที่ขัดแย้งกับแบบจำลองอย่างมากเมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็อาจจะต้องล้มเลิกแบบจำลองนั้นไปก็ได้\nหัวข้อต่าง ๆ ที่นักดาราศาสตร์ทฤษฎีสนใจศึกษาได้แก่ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของดาวฤกษ์ การก่อตัวของดาราจักร โครงสร้างขนาดใหญ่ของวัตถุในเอกภพ กำเนิดของรังสีคอสมิก ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และฟิสิกส์จักรวาลวิทยา รวมถึงฟิสิกส์อนุภาคในทางดาราศาสตร์ด้วย การศึกษาฟิสิกส์ดาราศาสตร์เป็นเสมือนเครื่องมือสำคัญที่ใช้ตรวจวัดคุณสมบัติของโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ ที่ซึ่งแรงโน้มถ่วงมีบทบาทสำคัญต่อปรากฏการณ์ทางกายภาพต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานของการศึกษาฟิสิกส์หลุมดำ และการศึกษาคลื่นแรงโน้มถ่วง ยังมีทฤษฎีกับแบบจำลองอื่น ๆ อีกซึ่งเป็นที่ยอมรับและร่วมศึกษากันโดยทั่วไป ในจำนวนนี้รวมถึงแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม ทฤษฎีบิกแบง การพองตัวของจักรวาล สสารมืด และ พลังงานมืด ซึ่งกำลังเป็นหัวข้อสำคัญในการศึกษาดาราศาสตร์ในปัจจุบัน\nตัวอย่างหัวข้อการศึกษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี มีดังนี้\n{|\n|-\n|| กระบวนการทางฟิสิกส์\n|| เครื่องมือทางดาราศาสตร์\n|| แบบจำลองทางทฤษฎี\n|| การทำนายปรากฏการณ์\n|-\n|| ความโน้มถ่วง\n|| กล้องโทรทรรศน์วิทยุ\n|| วิวัฒนาการของดาวฤกษ์\n|| การสิ้นอายุขัยของดาวฤกษ์\n|-\n|| นิวเคลียร์ฟิวชั่น\n|| กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล\n|| การขยายตัวของเอกภพ\n|| อายุของเอกภพ\n|-\n|| บิกแบง\n|| สเปกโทรสโกปี\n|| การพองตัวของจักรวาล\n|| ความแบนของเอกภพ\n|-\n|| ความผันผวนควอนตัม\n|| ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์\n|| ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป\n|| หลุมดำที่ใจกลางดาราจักรแอนดรอเมดา\n|-\n|| การยุบตัวของความโน้มถ่วง\n|| \n|| \n|| การเกิดของธาตุต่าง ๆ\n|-\n|| \n|| \n|| \n|| \n|-\n|}\n== สาขาวิชาหลักของดาราศาสตร์ ==\n=== ดาราศาสตร์สุริยะ ===\n\nดวงอาทิตย์ เป็นเป้าหมายการศึกษาทางดาราศาสตร์ยอดนิยมแห่งหนึ่ง อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 8 นาทีแสง เป็นดาวฤกษ์ซึ่งอยู่ในแถบลำดับหลักโดยเป็นดาวแคระประเภท G2 V มีอายุประมาณ 4.6 พันล้านปี ดวงอาทิตย์ของเรานี้ไม่นับว่าเป็นดาวแปรแสง แต่มีความเปลี่ยนแปลงในการส่องสว่างอยู่เป็นระยะอันเนื่องจากจากรอบปรากฏของจุดดับบนดวงอาทิตย์ อันเป็นบริเวณที่พื้นผิวดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ำกว่าพื้นผิวอื่น ๆ อันเนื่องมาจากผลของความเข้มข้นสนามแม่เหล็ก\nดวงอาทิตย์ส่องแสงสว่างมากขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดอายุของมัน นับแต่เข้าสู่แถบลำดับหลักก็ได้ส่องสว่างมากขึ้นถึง 40% แล้ว ความเปลี่ยนแปลงการส่องสว่างของดวงอาทิตย์ตามระยะเวลานี้มีผลกระทบอย่างสำคัญต่อโลกด้วย ตัวอย่างเช่นการเกิดปรากฏการณ์ยุคน้ำแข็งสั้น ๆ ช่วงหนึ่ง (Little Ice Age) ระหว่างช่วงยุคกลาง ก็เชื่อว่าเป็นผลมาจาก Maunder Minimum\nพื้นผิวรอบนอกของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นเรียกว่า โฟโตสเฟียร์ เหนือพื้นผิวนี้เป็นชั้นบาง ๆ เรียกชื่อว่า โครโมสเฟียร์ จากนั้นเป็นชั้นเปลี่ยนผ่านซึ่งมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ชั้นนอกสุดมีอุณหภูมิสูงที่สุด เรียกว่า โคโรนา\nใจกลางของดวงอาทิตย์เรียกว่าย่านแกนกลาง เป็นเขตที่มีอุณหภูมิและความดันมากพอจะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น เหนือจากย่านแกนกลางเรียกว่าย่านแผ่รังสี (radiation zone) เป็นที่ซึ่งพลาสมาแผ่คลื่นพลังงานออกมาในรูปของรังสี ชั้นนอกออกมาเป็นย่านพาความร้อน (convection zone) ซึ่งสสารแก๊สจะเปลี่ยนพลังงานกลายไปเป็นแก๊ส เชื่อว่าย่านพาความร้อนนี้เป็นกำเนิดของสนามแม่เหล็กที่ทำให้เกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์\nลมสุริยะเกิดจากอนุภาคของพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งจะแผ่ออกไปจนกระทั่งถึงแนว heliopause เมื่อลมสุริยะทำปฏิกิริยากับสนามแม่เหล็กของโลก ทำให้เกิดแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนและออโรร่า ในตำแหน่งที่เส้นแรงสนามแม่เหล็กโลกไหลเวียนในชั้นบรรยากาศ\n=== วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ===\n\nวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย และวัตถุท้องฟ้าอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ตลอดจนถึงบรรดาดาวเคราะห์นอกระบบด้วย วัตถุในระบบสุริยะจะเป็นที่นิยมศึกษาค้นคว้ามากกว่า ในช่วงแรกสามารถสังเกตการณ์ได้ผ่านกล้องโทรทรรศน์ ต่อมาจึงใช้การสังเกตการณ์โดยยานอวกาศมาช่วย การศึกษาสาขานี้ทำให้เราเข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบดาวเคราะห์ได้ดีขึ้น แม้จะมีการค้นพบใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาก็ตาม\nวัตถุในระบบสุริยะสามารถแบ่งออกได้เป็น ดาวเคราะห์รอบใน แถบดาวเคราะห์น้อย และดาวเคราะห์รอบนอก ในกลุ่มดาวเคราะห์รอบในประกอบด้วย ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ส่วนในกลุ่มดาวเคราะห์รอบนอกเป็นดาวแก๊สยักษ์ ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวเคราะห์หินขนาดเล็ก พลูโต พ้นจากดาวเนปจูนไปจะมีแถบไคเปอร์ และกลุ่มเมฆออร์ต ซึ่งแผ่กว้างเป็นระยะทางถึงหนึ่งปีแสง\nดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นจากแผ่นจานฝุ่นที่หมุนวนรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ เมื่อผ่านกระบวนการต่าง ๆ นานาเช่น การดึงดูดของแรงโน้มถ่วง การปะทะ การแตกสลาย และการรวมตัวกัน แผ่นจานฝุ่นเหล่านั้นก็ก่อตัวเป็นรูปร่างที่เรียกว่า ดาวเคราะห์ก่อนเกิด (protoplanet) แรงดันการแผ่รังสีของลมสุริยะจะพัดพาเอาสสารที่ไม่สามารถรวมตัวกันติดให้กระจายหายไป คงเหลือแต่ส่วนของดาวเคราะห์ที่มีมวลมากพอจะดึงดูดบรรยากาศชั้นแก๊สของตัวเอาไว้ได้ ดาวเคราะห์ใหม่เหล่านี้ยังมีการดึงดูดและปลดปล่อยสสารในตัวตลอดช่วงเวลาที่ถูกเศษสะเก็ดดาวย่อย ๆ ปะทะตลอดเวลา การปะทะเหล่านี้ทำให้เกิดหลุมบ่อบนพื้นผิวดาวเคราะห์ดั่งเช่นที่ปรากฏบนพื้นผิวดวงจันทร์ ผลจากการปะทะนี้ส่วนหนึ่งอาจทำให้ดาวเคราะห์ก่อนเกิดแตกชิ้นส่วนออกมาและกลายไปเป็นดวงจันทร์ของมันก็ได้\nเมื่อดาวเคราะห์เหล่านี้มีมวลมากพอ โดยรวมเอาสสารที่มีความหนาแน่นแบบต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน กระบวนการนี้ทำให้ดาวเคราะห์ก่อตัวเป็นดาวแบบต่าง ๆ คือแกนกลางเป็นหิน หรือโลหะ ล้อมรอบด้วยชั้นเปลือก และพื้นผิวภายนอก แกนกลางของดาวเคราะห์อาจเป็นของแข็งหรือของเหลวก็ได้ แกนกลางของดาวเคราะห์บางดวงสามารถสร้างสนามแม่เหล็กของตัวเองขึ้นมาได้ ซึ่งช่วยปกป้องชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ดวงนั้น ๆ จากผลกระทบของลมสุริยะ\nความร้อนภายในของดาวเคราะห์หรือดวงจันทร์เป็นผลจากการปะทะกันที่ทำให้เกิดโครงร่างและสารกัมมันตรังสี (เช่น ยูเรเนียม ธอเรียม และ 26Al ดาวเคราะห์และดวงจันทร์บางดวงสะสมความร้อนไว้มากพอจะทำให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยาเช่น ภูเขาไฟและแผ่นดินไหว ส่วนพวกที่สามารถสะสมชั้นบรรยากาศของตัวเองได้ ก็จะมีกระบวนการกัดกร่อนของลมและน้ำ ดาวเคราะห์ที่เล็กกว่าจะเย็นตัวลงเร็วกว่า และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาจะหยุดลงเว้นแต่หลุมบ่อจากการถูกชนเท่านั้น\n=== ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์ ===\n\nการศึกษาเกี่ยวกับดาวฤกษ์และวิวัฒนาการของดาวฤกษ์เป็นพื้นฐานสำคัญในการทำความเข้าใจกับเอกภพ วิทยาการฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของดวงดาวเกิดขึ้นมาจากการสังเกตการณ์และการพยายามสร้างทฤษฎีเพื่อทำความเข้าใจ รวมถึงการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นภายในดวงดาว\nดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นในย่านอวกาศที่มีฝุ่นและแก๊สอยู่หนาแน่น เรียกชื่อว่าเมฆโมเลกุลขนาดยักษ์ เมื่อเกิดภาวะที่ไม่เสถียร ส่วนประกอบของเมฆอาจแตกสลายไปภายใต้แรงโน้มถ่วง และทำให้เกิดเป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิดขึ้น บริเวณที่มีความหนาแน่นของแก๊สและฝุ่นสูงมากพอ และร้อนมากพอ จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ซึ่งทำให้เกิดดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักขึ้น ธาตุที่กำเนิดขึ้นในแกนกลางของดาวฤกษ์โดยมากเป็นธาตุที่หนักกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งสิ้น\nคุณลักษณะต่าง ๆ ของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับมวลเริ่มต้นของดาวฤกษ์นั้น ๆ ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะมีความส่องสว่างสูง และจะใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจากแกนกลางของมันเองไปอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาผ่านไป เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหล่านี้จะค่อย ๆ แปรเปลี่ยนกลายไปเป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์ก็จะวิวัฒนาการไป การเกิดฟิวชั่นของฮีเลียมจะต้องใช้อุณหภูมิแกนกลางที่สูงกว่า ดังนั้นดาวฤกษ์นั้นก็จะขยายตัวใหญ่ขึ้น ขณะเดียวกันก็เพิ่มความหนาแน่นแกนกลางของตัวเองด้วย ดาวแดงยักษ์จะมีช่วงอายุที่สั้นก่อนที่เชื้อเพลิงฮีเลียมจะถูกเผาผลาญหมดไป ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าจะผ่านกระบวนการวิวัฒนาการได้มากกว่า โดยที่มีธาตุหนักหลอมรวมอยู่ในตัวเพิ่มมากขึ้น\nการสิ้นสุดชะตากรรมของดาวฤกษ์ก็ขึ้นอยู่กับมวลของมันเช่นกัน ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรามากกว่า 8 เท่าจะแตกสลายกลายไปเป็นซูเปอร์โนวา ขณะที่ดาวฤกษ์ที่เล็กกว่าจะกลายไปเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ และวิวัฒนาการต่อไปเป็นดาวแคระขาว ซากของซูเปอร์โนวาคือดาวนิวตรอนที่หนาแน่น หรือในกรณีที่ดาวฤกษ์นั้นมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ของเรากว่า 3 เท่า มันจะกลายไปเป็นหลุมดำ สำหรับดาวฤกษ์ที่เป็นระบบดาวคู่อาจมีวิวัฒนาการที่แตกต่างออกไป เช่นอาจมีการถ่ายเทมวลแก่กันแล้วกลายเป็นดาวแคระขาวแบบคู่ซึ่งสามารถจะกลายไปเป็นซูเปอร์โนวาได้ การเกิดเนบิวลาดาวเคราะห์และซูเปอร์โนวาเป็นการกระจายสสารธาตุออกไปสู่สสารระหว่างดาว หากไม่มีกระบวนการนี้แล้ว ดาวฤกษ์ใหม่ ๆ (และระบบดาวเคราะห์ของมัน) ก็จะก่อตัวขึ้นมาจากเพียงไฮโดรเจนกับฮีเลียมเท่านั้น\n=== ดาราศาสตร์ดาราจักร ===\n\nระบบสุริยะของเราโคจรอยู่ภายในดาราจักรทางช้างเผือก ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอยมีคาน และเป็นดาราจักรสมาชิกแห่งหนึ่งในกลุ่มท้องถิ่น ดาราจักรนี้เป็นกลุ่มแก๊ส ฝุ่น ดาวฤกษ์ และวัตถุอื่น ๆ อีกจำนวนมากที่หมุนวนไปรอบกัน โดยมีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อกันทำให้ดึงดูดกันไว้ ตำแหน่งของโลกอยู่ที่แขนฝุ่นกังหันด้านนอกข้างหนึ่งของดาราจักร ดังนั้นจึงมีบางส่วนของทางช้างเผือกที่ถูกบังไว้และไม่สามารถมองเห็นได้\nที่ใจกลางของทางช้างเผือกมีลักษณะคล้ายดุมกังหันขนาดใหญ่ ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่ตั้งของหลุมดำมวลยวดยิ่ง รอบ ๆ ดุมกังหันเป็นแขนก้นหอยชั้นต้นมี 4 ปลายหมุนอยู่รอบ ๆ แกน เป็นย่านที่มีการเกิดใหม่ของดาวฤกษ์ดำเนินอยู่ มีดาวฤกษ์แบบดารากร 1 ที่อายุเยาว์อยู่ในย่านนี้เป็นจำนวนมาก ส่วนจานของก้นหอยประกอบด้วยทรงกลมฮาโล อันประกอบด้วยดาวฤกษ์แบบดารากร 2 ที่มีอายุมากกว่า ทั้งยังเป็นที่ตั้งของกลุ่มดาวฤกษ์หนาแน่นที่เรียกกันว่า กระจุกดาวทรงกลม\nที่ว่างระหว่างดวงดาวมีสสารระหว่างดาวบรรจุอยู่ เป็นย่านที่มีวัตถุต่าง ๆ อยู่อย่างเบาบางมาก บริเวณที่หนาแน่นที่สุดคือเมฆโมเลกุล ซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของไฮโดรเจนและธาตุอื่น ๆ ที่เป็นย่านกำเนิดของดาวฤกษ์ ในช่วงแรกจะมีการก่อตัวเป็นเนบิวลามืดรูปร่างประหลาดก่อน จากนั้นเมื่อมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นมาก ๆ ก็จะเกิดการแตกสลายแล้วก่อตัวใหม่เป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิด\nเมื่อมีดาวฤกษ์มวลมากปรากฏขึ้นมากเข้า มันจะเปลี่ยนเมฆโมเลกุลให้กลายเป็นบริเวณเอชทูซึ่งเป็นย่านเรืองแสงเต็มไปด้วยแก๊สและพลาสมา ลมดาวฤกษ์กับการระเบิดซูเปอร์โนวาของดาวเหล่านี้จะทำให้กลุ่มเมฆกระจายตัวกันออกไป แล้วเหลือแต่เพียงกลุ่มของดาวฤกษ์จำนวนหนึ่งที่เกาะกลุ่มกันเป็นกระจุกดาวเปิดอายุน้อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไปกระจุกดาวเหล่านี้ก็จะค่อย ๆ กระจายห่างกันออกไป แล้วกลายไปเป็นประชากรดาวดวงหนึ่งในทางช้างเผือก\nการศึกษาจลนศาสตร์ของมวลสารในทางช้างเผือกและดาราจักรต่าง ๆ ทำให้เราทราบว่า มวลที่มีอยู่ในดาราจักรนั้นแท้จริงมีมากกว่าสิ่งที่เรามองเห็น ทฤษฎีเกี่ยวกับสสารมืดจึงเกิดขึ้นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นี้ แม้ว่าธรรมชาติของสสารมืดยังคงเป็นสิ่งลึกลับไม่มีใครอธิบายได้\n=== ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ ===\n\nการศึกษาวัตถุที่อยู่ในห้วงอวกาศอื่นนอกเหนือจากดาราจักรของเรา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดและวิวัฒนาการของดาราจักร การศึกษารูปร่างลักษณะและการจัดประเภทของดาราจักร การสำรวจดาราจักรกัมมันต์ การศึกษาการจัดกลุ่มและกระจุกดาราจักร ซึ่งในหัวข้อหลังนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำความเข้าใจกับโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล\nดาราจักรส่วนใหญ่จะถูกจัดกลุ่มตามรูปร่างลักษณะที่ปรากฏ เข้าตามหลักเกณฑ์ของการจัดประเภทดาราจักร ซึ่งมีกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ ดาราจักรชนิดก้นหอย ดาราจักรชนิดรี และดาราจักรไร้รูปแบบ\nลักษณะของดาราจักรคล้ายคลึงกับชื่อประเภทที่กำหนด ดาราจักรชนิดรีจะมีรูปร่างในภาคตัดขวางคล้ายคลึงกับรูปวงรี ดาวฤกษ์จะโคจรไปแบบสุ่มโดยไม่มีทิศทางที่แน่ชัด ดาราจักรประเภทนี้มักไม่ค่อยมีฝุ่นระหว่างดวงดาวหลงเหลือแล้ว ย่านกำเนิดดาวใหม่ก็ไม่มี และดาวฤกษ์ส่วนใหญ่จะมีอายุมาก เรามักพบดาราจักรชนิดรีที่บริเวณใจกลางของกระจุกดาราจักร หรืออาจเกิดขึ้นจากการที่ดาราจักรขนาดใหญ่สองแห่งปะทะแล้วรวมตัวเข้าด้วยกันก็ได้\nดาราจักรชนิดก้นหอยมักมีรูปทรงค่อนข้างแบน เหมือนแผ่นจานหมุน และส่วนใหญ่จะมีหลุมดำมวลยวดยิ่งเป็นดุมหรือมีแกนรูปร่างคล้ายคานที่บริเวณใจกลาง พร้อมกับแขนก้นหอยสว่างแผ่ออกไปเป็นวง แขนก้นหอยนี้เป็นย่านของฝุ่นที่เป็นต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อายุน้อยมวลมากจะทำให้แขนนี้ส่องสว่างเป็นสีฟ้า ส่วนที่รอบนอกของดาราจักรมักเป็นกลุ่มของดาวฤกษ์อายุมาก ดาราจักรทางช้างเผือกของเราและดาราจักรแอนดรอเมดาก็เป็นดาราจักรชนิดก้นหอย\nดาราจักรไร้รูปแบบมักมีรูปร่างปรากฏไม่แน่ไม่นอน ไม่ใช่ทั้งดาราจักรชนิดรีหรือชนิดก้นหอย ประมาณหนึ่งในสี่ของจำนวนดาราจักรทั้งหมดที่พบเป็นดาราจักรชนิดไร้รูปแบบนี้ รูปร่างอันแปลกประหลาดของดาราจักรมักทำให้เกิดปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงแปลก ๆ ขึ้นด้วย\nดาราจักรกัมมันต์คือดาราจักรที่มีการเปล่งสัญญาณพลังงานจำนวนมากออกมาจากแหล่งกำเนิดอื่นนอกเหนือจากดาวฤกษ์ ฝุ่น และแก๊ส แหล่งพลังงานนี้เป็นย่านเล็ก ๆ แต่หนาแน่นมากซึ่งอยู่ในแกนกลางดาราจักร โดยทั่วไปเชื่อกันว่ามีหลุมดำมวลยวดยิ่งอยู่ที่นั่นซึ่งเปล่งพลังงานรังสีออกมาเมื่อมีวัตถุใด ๆ ตกลงไปในนั้น ดาราจักรวิทยุคือดาราจักรกัมมันต์ชนิดหนึ่งที่ส่องสว่างมากในช่วงสเปกตรัมของคลื่นวิทยุ มันจะเปล่งลอนของแก๊สออกมาเป็นจำนวนมาก ดาราจักรกัมมันต์ที่แผ่รังสีพลังงานสูงออกมาได้แก่ ดาราจักรเซย์เฟิร์ต เควซาร์ และเบลซาร์ เชื่อว่าเควซาร์เป็นวัตถุที่ส่องแสงสว่างมากที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักในเอกภพ\nโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาลประกอบด้วยกลุ่มและกระจุกดาราจักรจำนวนมาก โครงสร้างนี้มีการจัดลำดับชั้นโดยที่ระดับชั้นที่ใหญ่ที่สุดคือ มหากระจุกของดาราจักร เหนือกว่านั้นมวลสารจะมีการโยงใยกันในลักษณะของใยเอกภพและกำแพงเอกภพ ส่วนที่ว่างระหว่างนั้นมีแต่สุญญากาศ\n=== จักรวาลวิทยา ===\nจักรวาลวิทยา (cosmology; มาจากคำในภาษากรีกว่า κοσμος \"cosmos\" หมายถึง เอกภพ และ λογος หมายถึง การศึกษา) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเอกภพทั้งหมดในภาพรวม\nการสังเกตการณ์โครงสร้างขนาดใหญ่ของเอกภพ เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่เรียกว่า จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ ช่วยให้เรามีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการกำเนิดและวิวัฒนาการของจักรวาล ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับพื้นฐานของจักรวาลวิทยาสมัยใหม่ ได้แก่ ทฤษฎีบิกแบง ซึ่งกล่าวว่าเอกภพของเรากำเนิดมาจากจุดเพียงจุดเดียว หลังจากนั้นจึงขยายตัวขึ้นเป็นเวลากว่า 13.7 พันล้านปีมาแล้ว หลักการของทฤษฎีบิกแบงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่การค้นพบรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ในปี ค.ศ. 1965\nตลอดช่วงเวลาการขยายตัวของเอกภพนี้ เอกภพได้ผ่านขั้นตอนของวิวัฒนาการมามากมายหลายครั้ง ในช่วงแรก ทฤษฎีคาดการณ์ว่าเอกภพน่าจะผ่านช่วงเวลาการพองตัวของจักรวาลที่รวดเร็วมหาศาล ซึ่งเป็นหนึ่งเดียวกันและเสมอกันในทุกทิศทางในสภาวะเริ่มต้น หลังจากนั้น นิวคลีโอซินทีสิสจึงทำให้เกิดธาตุต่าง ๆ ขึ้นมากมายในเอกภพยุคแรก\nเมื่อมีอะตอมแรกเกิดขึ้น จึงมีการแผ่รังสีผ่านอวกาศ ปลดปล่อยพลังงานออกมาดั่งที่ทุกวันนี้เรามองเห็นเป็นรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล เอกภพขยายตัวผ่านช่วงเวลาของยุคมืดเพราะไม่ค่อยมีแหล่งกำเนิดพลังงานของดาวฤกษ์\nเริ่มมีการจัดโครงสร้างลำดับชั้นของสสารขึ้นนับแต่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของสสาร สสารที่รวมกลุ่มกันอยู่เป็นบริเวณหนาแน่นที่สุดกลายไปเป็นกลุ่มเมฆแก๊สและดาวฤกษ์ยุคแรกสุด ดาวฤกษ์มวลมากเหล่านี้เป็นจุดกำเนิดของกระบวนการแตกตัวทางไฟฟ้าซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของธาตุหนักมากมายที่อยู่ในเอกภพยุคเริ่มต้น\nผลจากแรงโน้มถ่วงทำให้มีการดึงดูดรวมกลุ่มกันเกิดเป็นใยเอกภพ มีช่องสุญญากาศเป็นพื้นที่ว่าง หลังจากนั้นโครงสร้างของแก๊สและฝุ่นก็ค่อย ๆ รวมตัวกันเกิดเป็นดาราจักรยุคแรกเริ่ม เมื่อเวลาผ่านไป มันดึงดูดสสารต่าง ๆ เข้ามารวมกันมากขึ้น และมีการจัดกลุ่มโครงสร้างเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มและกระจุกดาราจักร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างขนาดใหญ่คือมหากระจุกดาราจักร\nโครงสร้างพื้นฐานที่สุดของจักรวาลคือการมีอยู่ของสสารมืดและพลังงานมืด ในปัจจุบันเราเชื่อกันว่าทั้งสองสิ่งนี้มีอยู่จริง และเป็นส่วนประกอบถึงกว่า 96% ของความหนาแน่นทั้งหมดของเอกภพ เหตุนี้การศึกษาฟิสิกส์ในยุคใหม่จึงเป็นความพยายามทำความเข้าใจกับองค์ประกอบเหล่านี้\n== ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาอื่น ==\nการศึกษาดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สาขาอื่นมากยิ่งขึ้น ดังนี้\nโบราณดาราศาสตร์ (Archaeoastronomy) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการดาราศาสตร์ในยุคโบราณหรือยุคดั้งเดิม โดยพิจารณาถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรม อาศัยหลักฐานในทางโบราณคดีและมานุษยวิทยาเข้ามาช่วย\nชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology) เป็นการศึกษาการมาถึงและวิวัฒนาการของระบบชีววิทยาในเอกภพ ที่สำคัญคือการศึกษาและตรวจหาความเป็นไปได้ของสิ่งมีชีวิตในโลกอื่น\nเคมีดาราศาสตร์ (Astrochemistry) เป็นการศึกษาลักษณะทางเคมีที่พบในอวกาศ นับแต่การก่อตัว การเกิดปฏิกิริยา และการสูญสลาย มักใช้ในการศึกษาเมฆโมเลกุล รวมถึงดาวฤกษ์อุณหภูมิต่ำต่าง ๆ เช่น ดาวแคระน้ำตาลและดาวเคราะห์ ส่วน เคมีจักรวาล (Cosmochemistry) เป็นการศึกษาลักษณะทางเคมีที่พบในระบบสุริยะ รวมถึงกำเนิดของธาตุและการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของไอโซโทป ทั้งสองสาขานี้คาบเกี่ยวกันระหว่างศาสตร์ทางเคมีและดาราศาสตร์\nนอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับ การวัดตำแหน่งดาว (Astrometry) และกลศาสตร์ท้องฟ้า (Celestial Mechanics) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับตำแหน่งและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า การระบุพิกัดและจลนศาสตร์ของวัตถุท้องฟ้า ลักษณะของวงโคจร ความโน้มถ่วง และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชากลศาสตร์และฟิสิกส์\n== ดาราศาสตร์สมัครเล่น ==\n\nดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์ที่บุคคลทั่วไปสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างมากที่สุด\nนับแต่อดีตมา นักดาราศาสตร์สมัครเล่นได้สังเกตพบวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญมากมายด้วยเครื่องมือที่พวกเขาสร้างขึ้นมาเอง เป้าหมายในการสังเกตการณ์ของนักดาราศาสตร์สมัครเล่นโดยมากได้แก่ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาวหาง ฝนดาวตก และวัตถุในห้วงอวกาศลึกอีกจำนวนหนึ่งเช่น กระจุกดาว กระจุกดาราจักร หรือเนบิวลา สาขาวิชาย่อยสาขาหนึ่งของดาราศาสตร์สมัครเล่น คือการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการถ่ายภาพในท้องฟ้ายามราตรี นักดาราศาสตร์สมัครเล่นส่วนมากจะเจาะจงเฝ้าสังเกตวัตถุท้องฟ้าหรือปรากฏการณ์บางอย่างที่พวกเขาสนใจเป็นพิเศษ\nส่วนใหญ่แล้วนักดาราศาสตร์สมัครเล่นจะสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในคลื่นที่ตามองเห็น แต่ก็มีการทดลองเล็ก ๆ อยู่บ้างที่กระทำในช่วงคลื่นอื่นนอกจากคลื่นที่ตามองเห็น เช่นการใช้ฟิลเตอร์แบบอินฟราเรดติดบนกล้องโทรทรรศน์ หรือการใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุ เป็นต้น นักดาราศาสตร์สมัครเล่นผู้บุกเบิกในการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุ คือ คาร์ล แจนสกี (Karl Jansky) ผู้เริ่มเฝ้าสังเกตท้องฟ้าในช่วงคลื่นวิทยุตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 ยังมีนักดาราศาสตร์สมัครเล่นอีกจำนวนหนึ่งที่ใช้กล้องโทรทรรศน์ประดิษฐ์เองที่บ้าน หรือใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุที่แต่เดิมสร้างมาเพื่องานวิจัยทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันได้เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าไปใช้งานได้ด้วย\nมีบทความทางดาราศาสตร์มากมายที่ส่งมาจากนักดาราศาสตร์สมัครเล่น อันที่จริงแล้ว นี่เป็นหนึ่งในไม่กี่สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่มือสมัครเล่นก็สามารถมีส่วนร่วมหรือเขียนบทความสำคัญ ๆ ขึ้นมาได้ นักดาราศาสตร์สมัครเล่นสามารถตรวจวัดวงโคจรโดยละเอียดของดาวเคราะห์ขนาดเล็กได้ พวกเขาค้นพบดาวหาง และทำการเฝ้าสังเกตดาวแปรแสง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิตอลทำให้นักดาราศาสตร์สมัครเล่นมีความสามารถในการถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น และหลาย ๆ ภาพก็เป็นภาพปรากฏการณ์อันสำคัญทางดาราศาสตร์ด้วย\n== ปีดาราศาสตร์สากล 2009 ==\nปี ค.ศ. 2009 เป็นปีที่ครบรอบ 400 ปี นับจากกาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ขึ้นเพื่อทำการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ และพบหลักฐานยืนยันแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาลที่นำเสนอโดย นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ไม่นานก่อนหน้านั้น การค้นพบนี้ถือเป็นการปฏิวัติแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจักรวาล และเป็นการบุกเบิกการศึกษาดาราศาสตร์ยุคใหม่โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นตามที่เทคโนโลยีของกล้องโทรทรรศน์พัฒนาขึ้น\nองค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปี ค.ศ. 2009 เป็นปีดาราศาสตร์สากล โดยได้ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2008 กิจกรรมต่าง ๆ ดำเนินการโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล และได้รับการสนับสนุนจากองค์การยูเนสโก ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสหประชาชาติที่รับผิดชอบงานด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการที่กรุงปารีส ในวันที่ 15-16 มกราคม ค.ศ. 2009\n== ดูเพิ่ม ==\nปีดาราศาสตร์สากล\nนักดาราศาสตร์\nกลุ่มดาว\nบันไดระยะห่างของจักรวาล\nระบบสุริยะ\nกล้องโทรทรรศน์\nการสำรวจอวกาศ\nสมาคมดาราศาสตร์ไทย\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ \"ปีดาราศาสตร์สากล 2009\" \nสมาคมดาราศาสตร์ไทย \nสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ \nโครงการเครือข่ายสารสนเทศดาราศาสตร์สำหรับโรงเรียน \nศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) \nโครงการลีซ่า โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดยหอดูดาวเกิดแก้ว สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย \nดาราศาสตร์ดอตคอม \nดูดาวดอตคอม \nองค์การนาซา \nวารสารดาราศาสตร์ Astronomy.com \nเว็บไซต์ทางการ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภูมิศทสตร์ (geography, γεωγραφία แปลว่า \"การพรรณนาเกี่ยวกับโลก\") เป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นถึงการศึกษาเกี่ยวกับพื้นดิน ภูมิประเทศ ประชากร และปรากฏการณ์บนโลก บุคคลแรกที่ใช้คำว่า γεωγραφία คือเอราทอสเทนีน (276–194 ปีก่อน ค.ศ.) ภูมิศาสตร์ครอลคลุมสาขาต่าง ๆ ที่มุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับโลกและความซับซ้อนระหว่างมนุษย์และธรรมชาติที่เกิดยึ้นซึ่ง_ม่เฉพาะแต่ในรูปธรรมแต่วังรวมถึงความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น\nโดยทั่วไปภูมิศาสตร์มักถูกแบ่งออกเป็นสองสาขาหลักคือภูมิศาสตร์มนุษย็และภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์เกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงผู้คน ชุมชน วัฒนธรคม เศรษฐกิจ และปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม\nด้วยการศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ บนพื้นที่และสถานที่ ขณะที่ภูมิศาสตร์กายภาพเกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงกระบวนการและแบบรูปในาิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแันประกอบด้วย บรรยากาศภาค อุทกภาค ชีวภาค และธรณีภาค\nส้่ขนบธรรมเนียมทางประวัติศาสตร์ในการวิจัยทางภูมิศาสตร็ประกอบด้วย การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ชองปรากฏการณ์ธรรมชาติและมยุณย์ การศึกษาพื้นที่ของสถานที่และภูมิภาค การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นดินกับมนุษน์ และงิทยาศาสตร์โลก ภูมิศาสตค์ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น \"สาขาวิชาแห่งโลก\" และ \"ตัวเชื่อมระหว่างมนุษย์และวิทยาศาสตร์กายภาพ\"\n== บทนำ ==\nนักภูมิศาสตร์ได้รับการจัดให้อวู่ในกลุ่มเดียวกับนักทำแผนที่และผู้ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับลำดับและชื่อของสถานที่ต่าง ๆ แม้ว่านักภูมิศาสตร์จะได้รเบการฝึกฝนเกี่ยวกับภูมินามใิทยาและการทำแผนที่แต่ก็ไมืถือว่าเป็นหน้าท่่หลักของนักภูมิศาสตร์ นักภูมิศาสตร์เป็นผู้ศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่และการกระจายชองฐานข้อมูลเชิงเวลรจากปีากฏการณ์ กระบวนการ คุณลักษณะ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เนื่องจากพื้นที่และสถานที่ส่งผลต่อความหลากหลายของสิ่งต่าง ๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ สุขภาพ ภูมิอากาศ พืช และสัตว์ ทำให้ภูมิศาสตร์มีความเป็นสหวิทยาการสูง ลักษณะการเป็นสหวิทยากมรของวิธีการทางภูมิศาสตร์ขึ้นอยู่กับความสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์รวมถึงแบบรูปเชิงพื้นที่ที่เกอดขึ้น\nภูมิศาสตร์สามารถแบ่งสาขาออกกว้าง ๆ ได้อเกเป็นสองสาขา คือ ภูมิศนสตร์มนุษย์และภูมิญาสตร์กายภาพ ซึ่งในอดีตส่วนใหญ่จเมุ่งเน้นถึงสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างว่ามนุษย์สามารถรังสรรค์ จัดการ มีมุมมองและอิทธิพลต่อพื้นที่นั้นอย่างไร ในภายหลังได้มีการมุ่งเน้นถึงสิ่งแวดล้อมทางโรรมชาตืว่าสิ่งมีชีวิต ภูมิอากาศ ดิน น้ำ และธรณีสัณฐานมึผลและปฏิสัมพันธ์อย่างไร ความแตกต่างระหว่างวิธีการศึกษาเหช่านี้นำไปสู่การเกิดสาขาที่สามซึ่งผสานกันระหว่างภูมิศาสตร์กายภาพและภูมิศาสตร์มนุษย์คือ ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการศึกษาแฏิสัมพันธ์ระหว่างวิ่งแวดล้อมและมนุษย์\n== แขนงวิชา ==\n=== ภูมิศาสตร์กายภาพ ===\nภูมิศาสตร์กายภาพเป็นสาขมที่มุ่งเน้นการศีก๋าถังสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์โลป เพื่อเข้าใจลักษณะและปัญหาขอลธรณีภาค อุทกภาค บรรยากนศ และชีวภาค\nไฟล์:Línea de Wallace.jpg|ชีวภูมิศาสตร์\nไฟล์:Cyclome Datarina from the ISS on March w6 2004.JPG|ภูมิอากาศวิทยา บรรยากาญศาสตร์และอุตุนิยมวเทยา\nไฟล์:90 mile beach.jpg|ภูมิศาสตร์ชายฝั่ง\nไฟล์:Gavin Plant.JPG|การจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ\nไฟล์:Meridian c9nvergence and spehrical exceds.png|ภูมิมาตรศาสตร์\nไฟล์:Delicate Arch LaSalle.jpg|ธรณีวิทยา บรรพชีวินวิทยาและธรณีสัณฐานวิทยา\nไฟล์:Receding glacier-en.svg|วิทยาธารน้ำแข็ง\nไฟล์:Meander.svg|อุทกวิทยา ชลธารวิทยาและอุทกศาสตร์\nไฟล์:Khajuraho-landscape.jpg|นิเวศวิทยาภูมิทัศน์\nไฟล์:Worid11.jpg|สมุทรศาสตร์\nไฟล์:Soil profile.,pg|ปฐพีวิทยา\nไฟล์:Pangea animation 03.gif|ภูมิศาสตร์บรรพกาล\nไฟล์:Milankovitch Variations sv.png|วิทยาศาสตร์ควอเทอร์นารี\n=== ภูมิศาสตร์มนุษย์ =-=\nภูมิศาสตร์มนุษว์ิป็นสนขาที่มุ่งเน้นถึงการศึกษาการศึกษาแบบรูปและกระบวนการอันเกิดจากสังคมมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมทั้งมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม นังคม และเศรษฐกิจ\nไฟล์:Qichwa conchucos 01.mpg}ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม\nไฟล์:Pepsi in India.jpg|ภูมิศาสตร์การพัฒนท\nไๆล์:Christaller model 1.jpg|ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ\nไฟล์:Star of life.svg|ภูมิศาสตร์สุขภาพ\nไฟล์:British Empire 1897.jpg|ภูมิศาสตร์เชิงประวัติและภูมิศาสตร์เชิงเวงา\nไฟล์:UM General Assembly.jpg|ภูมิศาสตร์การเมืองและภูมิรัฐศาสตร์\nไฟล์:Pyramide Comores.PNG|ภูมิศาสตร์ประชากรหรือประชากรศาสตร์\nไฟล์:ReligionSymbol.svg|ภูมิศาสตร์ศาสนา\nไฟล์:US-hoosier-family.jpg|ภูมิศาสตร์สังคม\nไฟล์:Gare du Nord USFRT (Paris Metro).png|ภูมิศาสตร์กาคขนส่ง\nไไล์:Niagara_Falls_4_db.jpg|ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว\nไฟล์:New-York-Jan2005.jpg|ภูมิศาวตร์เมือง\nแนวทางต่าง ๆ ในการศึกษสภูมิศาสตร์มนะษย์ที่เกิดขึ้นใหม่และรวมถึง:\nภูมิศาสตร์พฤติกรรม\nภูมิศาสตร์สตรีนิยม\nท\"ษฎีทาบวัฒนธรรม\nภูมิปรัชญา\n=== ภูมิศาสตร์สิ่บแวดลีอม ===\nภูมิษาสตร์สิ่งแวดล้อมเป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ที่อธิบายถึงลักษณะเชิงพื้นที่ของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติของโลก การศึกษาภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อใจำเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงลักษณะดั้งเดิมของภ฿มิศาสตร์กายภาพและภูมิศาสตร์มนุษย์ตลอดจนวิธีการที่สังคมมนุษย์กำหนดกรอบความคอดให้กับสิ่งแวดล้อมอ้วส\nภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมได้กลายเป็นตัวเชื่อมระหว่างภูมิศาสตร์กายภาพและภูมิฒาสตร์มนุษย์อันเนื่องมาจากความเชี่ยวชาญของทั้งสองสาขาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมซึ่งมีผลมาจาหกระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จึงจำเป็นที่ค้องมีวิโีแบบใหา่ในการเข้าใจความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงและพลวัต ตัวอย่างของการศึกษาเกี่ยวกับภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้แก่ การจัดการภาวะฉุกเฉิน การจัดการทรัพยากรสิีงแวดล้อม ความยั่วยืน นิเวศวิทยาการเมือง\n=== ภูมิสารสนเทศ ===\n\nภูมิสารสนเทศเป็นสาขาหนึ่งของ_฿สิศาสตร์ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคนิคเชิงพื้นที่แบบดั้งเดิมในการ่ำแผนที่และศึกษาภูมิประเทศร่วมกับการนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ในช่วงกลางคริสต์ทศยรรษ 1950 เทคนิคต่าง ๆ ของภูมิสารสนเทศเป็นทร่แพร่หลายในสาขาวิชาอื่นมากมาย เช่น จีไอเอส และการรับรู้จากระยะไกล นอกจากนี้ภูมิสารสนเทศยังส่งผลต่อการฟื้นฟูหน่วยงานทางภูมิศาสตร์บางส่วนซึ่งถูกลดสถานะลงในช่บงคริวต์ทศวรรษ 1950 โดยเฉพระในอเมริกาเหนือ\nภูมืสารสนเทศมีความครอบคลุมกับสาบาที่เกี่ยวข้อบกับการวิเคราะห์เชิงพื้นที่อย่างมาก เช่น การทำแผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) การรับรู้จากระยะไกล และระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS)\n=== ภูมิศาสตค็ภูมิภาค ==]\nภูมิศาสคร์ภูมิภาคเป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ที่ศึกษาถึงทุกภูมิภาคของโลกซึ่งแต่ละภูมิภาคมีความแรกต่างเฉพาะตัว หลักสำคัญของภูมิศาสตร์ภูมิภาคคือเพื่อเข้าใจถึงเอกลักษ๋์และลักษณพเฉพ่ะตัวของภูมิภาคนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไรทั้งในเรื่เงของสภาพแวดล้อมและมนุษย์ที่อยู่แาศัยในภูมิภาคนั้นด้วย ภูมิศาสตร์ภูมิภาคยังมีผลต่อภูมิภาคาภิบัตน์ซึ่งครอบคลุมถึงการใช้วิธีที่เหมาะสมในการแบ่งพื้นทค่ออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ ด้วย\nภูมิศาสตร์ภูมิภาคถือว่าเป็นหนึ่งในวิธีการหนึ่งสำหรับการศึกษาองค๋ความรู้ต่าง ๆ ่างภูมิศาสตร์ (รล้ายคลึงกับการปฏิวัติเชิงปริมาณ หรืดภูมิศาสตร์เชิงวิพากษ์)\n=== สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ===\nการผังอมือง การสทงแผนถาค และกมรวางแผนเชิงพื้นที่ เป็นการใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ช่วยในการกำหนดแนวทางในการพัฒนา (หรือไมาพัฒนา) ที่ดินให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น ความปลอดภัย ความสวยงาม โอกาสทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมทางธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น เป็นต้น การวางแผนพื้นที่ของเมิอง นคร และชนบทโดยส่วนมากจะประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์\nวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 วอลเตอร์ ไดสาร์ดได้นำเสนอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ภูมิภาคเพื่อเป็นพื้นฐานหาคำตอบทางภูมิศาสตร์โดยเน้นเชิงปริมทณมากขึ้น ตรงข้ามกับการใช้แนวโนิมเชิงพรรณนาที่อยู่ในแบบแผนดั้ฝเดิม วิทย่ศาสตร์ภูม้ภาคประกอบด้วยองค์ความรู้ซึ่งในมิติเชิงพื้นที่ใช้เป็นบทบาทพื้นฐาน อช่น การจัดการทรัพยากร ทฤษฎีมำเลที่ตั้ง การวางแผนภาคและเมือง การขนส่งและการสื่อสาร ภูมิศาสตร์มนุษย์ การกนะจายของประชากร นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ และสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ\nใิทยาดาวเคราะห์ โดยทั่วไปภูมิศาสตร์จเมรความเกี่ยวย้องเ)พาะกับโลก อย่างไรก็ตนมภูมิศาสตร์ก็สามารถนำมาใช้ในการศึกษาถึงโลกอื่น ๆ ได้เช่นกัน เช่น ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะและนอกเหนือไปจากระบบสุริขะ วิทยาดาวเคราะห์เป็นการศึกษาระบบที่มีขนาดใำญ่กว่าฑลกซึ่งโดยทั่ว_ปจะเป็นสนขาหนึ่งของอาราศาสตร์หรือจักรวาลวิทยา ตัวอย่างอื่น ๆ เช้น อังคารวิทยา (การศึกษาเกี่ยวกับดาวอังคาร) ได้รับการเสนแกต่ยังไม่ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย\nวิทยาศสสตร์ดาวเทียม โดยศึกษาเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมในการเป็นเครื่องมือศึกษาทางภูมิศาสตร์\nวิทยาศาสตร์โลก หรือ โลกศาสตร์ นำวิทนาฯาสตร์มาใช้ในการศึกษาโลกในด้ทนที่เป็นประโยชน์ต่อภูมิศาสตร์\nวิศวกรตมสำรวจ ใช้หลักทางวิศวกรรมมาใช้ในการช่วยศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยครอบคฃุมรวมไปถุง วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรรมเหทืองแร่ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมธรณี ฝิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมทรัพยากรธรณี วิศวกรรมโยโา วิศวกรรมไฟฟ้า และ วิชาการทำแผนที่\n== เทคนิค ==\nแผนที่เป็นเครื่องมือหลักสำคัญขององค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ถึงความสัมพุนธ์เบิงพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งการทำแผนที่แบบดั้งเดิทได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยมากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ทางภูมิศาสตร์และการใช้คอมพิวเตอร๋ได้กลายเป็นรากฐานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ในปัจจุบัน\nในการศึกษานักภูมิศาสตร์จะคำนึงถึงสี่ปัจจัย ประกอบด้วย\nเป็นระบบ (Systematic) — องค์ึวามรู้ต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ในแต่ละประเภทสามารถใช้ได้สำหรับทุกพื้นที่\nภูมิภาค (Regional) — การวิเคราะห์ความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบสำหคับภูมิภาคทีทเจาะจงหรือที่ตั้งบนโลกในแต่ละประเภท\nพรรณนา (Descriptive) — ระบุคุณสมบัติและลักษณะของประชรกรในแหล่งที่ตั้ง\nวิ้คราะห์ (Analytical) — ว่า ทำไม (why) เราจึงพบคุณสมบัติและลักษณะของประชากรในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่เจาะจงนั้ร\n==- การทำแผนที่ ===\n\nการทำแผนที่เป็นการศึกษาถึงการแสดงลัหษณะพื้นผิวโลกด้วยสัญลักษณ์แบบนามธรรมซึ่ลมีการเติบโตมาช้านานอันเป็นผลยากเทคนิคการเขียนถึงสภาพความเป็จจริงที่พัฒนามากขึ้น และแม้ว่าภูมิศาสตร์สาขาต่าง ๆ จะใช้แผนืี่เป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอผลการวิเคราะห์ ดต่ความจริงแล้วองค์ความรู้ของการทำแผนที่นี้นสีมากพอที่จะแยกออกมส้ป็นสาขาต่างหาก\nนักทำแผนที่ต้องเรียนรู้ถึงจิตวิทยาการรู้คิดและการยศาสตร์เพื่อเข้าใจถึงการสื่อข้อมูลสัญลักษณ์เกี่ยวกับโลกให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมถึงภฤติกรรมทางจิตวิทยาเพื่อให้ผู้อ่านแผนที่เข้าใจข้อมูลได้ ตลอดจนภูมิมาตรศาสตร์และคณิตศาสตร์ขั่นสูงเพื่อเข้าใจว่ารูปร่างของโลกส่งผลต่อกา่ผิดเพี้ยนขอวตำแหน่งสัญลักษณ์บนแผนที่ซึ่งฉายไปยังวัสดุพื้นผิวราบเรียบได้อย่างไร จึงกล่าวได้โดยไม่มีข้อขัดแย้งว่าการทำแผนที่กำเนิดจากการที่สาขาวิชาทางภูมิศาสตร์มีการเติบโตืี่ใหญ่ขึ้น นักภูมิญาสตร์ส่วนใหญ่จะยกตัวอย่างว่าแผนที่เป็นจุดเริ่มต้นขแงความสนใตทางภูมิศาสตร์มนวัยเด็กของพวกเขา\n=== ระขบสารสนเทศภูมิฯาสตร์ ===\nระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือจีไอเอส (GIS) เป็นการจัดการถึงการจัดเก็บแชะการเรียกคืนข้อมูลเกี่ยวกับโลกด้วยคอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติซึ่งมีความถูกต้องตามวัตถุปรพสงค์ของข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญด้านยีไอเอสต้องเข้าใจถึงวิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบฐานข้อมูลนอกเหนือไปจากสาขาอื่น ๆ ทางภูมิศาสตร์ด้วย จีไอเอสเป็นการปฏิวัติสาขาวิชาการทำแผนที่โดยนำซอฟต์แวร์จีไอเอสมาล่วยในการทำแผนที่เกือบทั้งไมดในปัจจุบัน จีไอเอสยังหมายถึงการใช้ซอฟต์แวร์และเทคนิคทางจีไอะอสเพื่อทดแทน วิเคราะห์ และคาดการณ์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ในบริบทนี้จีไดเอสเป็นตัวแานสำหรับภูมิสารสนเทศศาสตร์\n=== การรัขรู้จากระยะไกล ===\nการรับรู้จากระยะไกลเป็นศาสตร์เกี่ยวกับการรับข้อมูลของลักษณะพื้นผิวโลกจากระยะไกล ข้อมูลจากการรับรู้จากระยะไกลมีการได้มาหลายรูหแบบ เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ รวมถึงข้อมูลที่ได้รับจากเีรื่องรับรู้แบบพกพา (hand-held sensors) นักภูมิศาสตร์จำนวนมากใช้การรับรู้จาแระยะไกลเพื่อไดิข้อมูลักี่ยวกับภูมิประเทศ ทะเล ดละบรรยากาศของโลก เนื่อฝจากการรับรู้จากระยะไกลสามารถ\nค้นหาข้อมูลตามวัตถุประสงค์ซึ่งมีความหชากหลายของพื้นที่หลายระดับ (ตั้งแต่ท้องถิ่นจนถึงทั่วโลก)\nทำให้สรุปจากสุมมองของพื้นที่ที่สนใจได้ง่ายขึ้น\nช่วยให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ห่างไกลและไม่สาาารถเข้าถังไดี\nแสดงข้อมูลเชิงคลื่นนอกเหนือจากส่วนที่มอฝเห็นได้จากสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า\nอำนวยความสะดวกในการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือพื้นทีาในช่วงเวลาต่าง ๆ ว่าเป็นอย่มงไร\nข้อมูลจากการรับรู้จากระยะไกลอาจถูกใช้ร่วมในการวิเคราะห์ร่วมกับชั้นข้อมูลเชิงดิจิทัลอื่น ๆ (เช่นในระบบสารสนเทศภูมิศาสนร์)\n=== วิธีเลิงปริมาณ ===\nธรณีสถิติจัดการกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงหริมาณ โดยเฉพาะการประยุกต์กับระเบียบวิธีทางสถิติเพื่อสำรวจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทางภูมิศาสตร์ ธรณีสถิติถูกนำมาใช้อยีางกว้างขวางในหลากหลายสาขา ตลอดจนเุทกวิทยา ธรณีวิทยา การสำรวจปิโตรเลียม การวิเคราะห์ลมฟ้าอากาศ การผังเมือง โลจิสติกส์ และวิทยาการระบาด ำื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำำรับ๔รณีสถิติได้มาจากการวิเคราะห์การกระจุก การวิเคราะห์การจำแนกเชิงเส้น สถิติไร้พารามิเตอร์ และความหลากหลายขอลสาขาวิชาอื่น ๆ การประยุกต์ของธรณคสถิติถูกใช้อย่างมากบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับกาคประมาณค่าในช่วง นักภ฿มิศาสตร์เป็นหู้มีส่วนร่วมอน่างโดดเด่นในกระบวนการของเทคนิคเชิงปริมาณ\n=== วิธีเชิงคุณถาพ ===\nวิธีเชิงคุณภาพทางภูมิศาสตร์กรือเทคนิคการวิจัยืางชาติพันธุ์วิทยาถูกใช้โดยนัหภูมิศาสตร์มนุษย์ ในภูมิศาสตร์วัฒนธรรมมีแบบแผนของการใช้เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพและยังใช้ในสาขามานุษยวิทยาและสังคมวิทยา การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกถูกใช้โดยนักภูมิศาสตร์มนุษย์นำมาซึ่งข้อมูลเชิงคุณถาพ\n==ดูเพิ่ม==\nห้าแก่นเรื่องทางภูมิศาสตร์\n== อ้างอิง ==\n \nวิทยาศาสตร์โลก\nสังคมศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ภูมิศาสตร์ (geography, γεωγραφία แปลว่า \"การพรรณนาเกี่ยวกับโลก\") เป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นถึงการศึกษาเกี่ยวกับพื้นดิน ภูมิประเทศ ประชากร และปรากฏการณ์บนโลก บุคคลแรกที่ใช้คำว่า γεωγραφία คือเอราทอสเทนีส (276–194 ปีก่อน ค.ศ.) ภูมิศาสตร์ครอบคลุมสาขาต่าง ๆ ที่มุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับโลกและความซับซ้อนระหว่างมนุษย์และธรรมชาติที่เกิดขึ้นซึ่งไม่เฉพาะแต่ในรูปธรรมแต่ยังรวมถึงความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น\nโดยทั่วไปภูมิศาสตร์มักถูกแบ่งออกเป็นสองสาขาหลักคือภูมิศาสตร์มนุษย์และภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์เกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงผู้คน ชุมชน วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม\nด้วยการศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ บนพื้นที่และสถานที่ ขณะที่ภูมิศาสตร์กายภาพเกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงกระบวนการและแบบรูปในสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติอันประกอบด้วย บรรยากาศภาค อุทกภาค ชีวภาค และธรณีภาค\nสี่ขนบธรรมเนียมทางประวัติศาสตร์ในการวิจัยทางภูมิศาสตร์ประกอบด้วย การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ของปรากฏการณ์ธรรมชาติและมนุษย์ การศึกษาพื้นที่ของสถานที่และภูมิภาค การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นดินกับมนุษย์ และวิทยาศาสตร์โลก ภูมิศาสตร์ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น \"สาขาวิชาแห่งโลก\" และ \"ตัวเชื่อมระหว่างมนุษย์และวิทยาศาสตร์กายภาพ\"\n== บทนำ ==\nนักภูมิศาสตร์ได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับนักทำแผนที่และผู้ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับลำดับและชื่อของสถานที่ต่าง ๆ แม้ว่านักภูมิศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนเกี่ยวกับภูมินามวิทยาและการทำแผนที่แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นหน้าที่หลักของนักภูมิศาสตร์ นักภูมิศาสตร์เป็นผู้ศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่และการกระจายของฐานข้อมูลเชิงเวลาจากปรากฏการณ์ กระบวนการ คุณลักษณะ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เนื่องจากพื้นที่และสถานที่ส่งผลต่อความหลากหลายของสิ่งต่าง ๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ สุขภาพ ภูมิอากาศ พืช และสัตว์ ทำให้ภูมิศาสตร์มีความเป็นสหวิทยาการสูง ลักษณะการเป็นสหวิทยาการของวิธีการทางภูมิศาสตร์ขึ้นอยู่กับความสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์รวมถึงแบบรูปเชิงพื้นที่ที่เกิดขึ้น\nภูมิศาสตร์สามารถแบ่งสาขาออกกว้าง ๆ ได้ออกเป็นสองสาขา คือ ภูมิศาสตร์มนุษย์และภูมิศาสตร์กายภาพ ซึ่งในอดีตส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นถึงสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างว่ามนุษย์สามารถรังสรรค์ จัดการ มีมุมมองและอิทธิพลต่อพื้นที่นั้นอย่างไร ในภายหลังได้มีการมุ่งเน้นถึงสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติว่าสิ่งมีชีวิต ภูมิอากาศ ดิน น้ำ และธรณีสัณฐานมีผลและปฏิสัมพันธ์อย่างไร ความแตกต่างระหว่างวิธีการศึกษาเหล่านี้นำไปสู่การเกิดสาขาที่สามซึ่งผสานกันระหว่างภูมิศาสตร์กายภาพและภูมิศาสตร์มนุษย์คือ ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมและมนุษย์\n== แขนงวิชา ==\n=== ภูมิศาสตร์กายภาพ ===\nภูมิศาสตร์กายภาพเป็นสาขาที่มุ่งเน้นการศึกษาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์โลก เพื่อเข้าใจลักษณะและปัญหาของธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศ และชีวภาค\nไฟล์:Línea de Wallace.jpg|ชีวภูมิศาสตร์\nไฟล์:Cyclone Catarina from the ISS on March 26 2004.JPG|ภูมิอากาศวิทยา บรรยากาศศาสตร์และอุตุนิยมวิทยา\nไฟล์:90 mile beach.jpg|ภูมิศาสตร์ชายฝั่ง\nไฟล์:Gavin Plant.JPG|การจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ\nไฟล์:Meridian convergence and spehrical excess.png|ภูมิมาตรศาสตร์\nไฟล์:Delicate Arch LaSalle.jpg|ธรณีวิทยา บรรพชีวินวิทยาและธรณีสัณฐานวิทยา\nไฟล์:Receding glacier-en.svg|วิทยาธารน้ำแข็ง\nไฟล์:Meander.svg|อุทกวิทยา ชลธารวิทยาและอุทกศาสตร์\nไฟล์:Khajuraho-landscape.jpg|นิเวศวิทยาภูมิทัศน์\nไฟล์:World11.jpg|สมุทรศาสตร์\nไฟล์:Soil profile.jpg|ปฐพีวิทยา\nไฟล์:Pangea animation 03.gif|ภูมิศาสตร์บรรพกาล\nไฟล์:Milankovitch Variations sv.png|วิทยาศาสตร์ควอเทอร์นารี\n=== ภูมิศาสตร์มนุษย์ ===\nภูมิศาสตร์มนุษย์เป็นสาขาที่มุ่งเน้นถึงการศึกษาการศึกษาแบบรูปและกระบวนการอันเกิดจากสังคมมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมทั้งมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ\nไฟล์:Qichwa conchucos 01.jpg|ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม\nไฟล์:Pepsi in India.jpg|ภูมิศาสตร์การพัฒนา\nไฟล์:Christaller model 1.jpg|ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ\nไฟล์:Star of life.svg|ภูมิศาสตร์สุขภาพ\nไฟล์:British Empire 1897.jpg|ภูมิศาสตร์เชิงประวัติและภูมิศาสตร์เชิงเวลา\nไฟล์:UN General Assembly.jpg|ภูมิศาสตร์การเมืองและภูมิรัฐศาสตร์\nไฟล์:Pyramide Comores.PNG|ภูมิศาสตร์ประชากรหรือประชากรศาสตร์\nไฟล์:ReligionSymbol.svg|ภูมิศาสตร์ศาสนา\nไฟล์:US-hoosier-family.jpg|ภูมิศาสตร์สังคม\nไฟล์:Gare du Nord USFRT (Paris Metro).png|ภูมิศาสตร์การขนส่ง\nไฟล์:Niagara_Falls_4_db.jpg|ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว\nไฟล์:New-York-Jan2005.jpg|ภูมิศาสตร์เมือง\nแนวทางต่าง ๆ ในการศึกษาภูมิศาสตร์มนุษย์ที่เกิดขึ้นใหม่และรวมถึง:\nภูมิศาสตร์พฤติกรรม\nภูมิศาสตร์สตรีนิยม\nทฤษฎีทางวัฒนธรรม\nภูมิปรัชญา\n=== ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ===\nภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมเป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ที่อธิบายถึงลักษณะเชิงพื้นที่ของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติของโลก การศึกษาภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมจำเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงลักษณะดั้งเดิมของภูมิศาสตร์กายภาพและภูมิศาสตร์มนุษย์ตลอดจนวิธีการที่สังคมมนุษย์กำหนดกรอบความคิดให้กับสิ่งแวดล้อมด้วย\nภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมได้กลายเป็นตัวเชื่อมระหว่างภูมิศาสตร์กายภาพและภูมิศาสตร์มนุษย์อันเนื่องมาจากความเชี่ยวชาญของทั้งสองสาขาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมซึ่งมีผลมาจากกระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จึงจำเป็นที่ต้องมีวิธีแบบใหม่ในการเข้าใจความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงและพลวัต ตัวอย่างของการศึกษาเกี่ยวกับภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้แก่ การจัดการภาวะฉุกเฉิน การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน นิเวศวิทยาการเมือง\n=== ภูมิสารสนเทศ ===\n\nภูมิสารสนเทศเป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคนิคเชิงพื้นที่แบบดั้งเดิมในการทำแผนที่และศึกษาภูมิประเทศร่วมกับการนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1950 เทคนิคต่าง ๆ ของภูมิสารสนเทศเป็นที่แพร่หลายในสาขาวิชาอื่นมากมาย เช่น จีไอเอส และการรับรู้จากระยะไกล นอกจากนี้ภูมิสารสนเทศยังส่งผลต่อการฟื้นฟูหน่วยงานทางภูมิศาสตร์บางส่วนซึ่งถูกลดสถานะลงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 โดยเฉพาะในอเมริกาเหนือ\nภูมิสารสนเทศมีความครอบคลุมกับสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงพื้นที่อย่างมาก เช่น การทำแผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) การรับรู้จากระยะไกล และระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS)\n=== ภูมิศาสตร์ภูมิภาค ===\nภูมิศาสตร์ภูมิภาคเป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ที่ศึกษาถึงทุกภูมิภาคของโลกซึ่งแต่ละภูมิภาคมีความแตกต่างเฉพาะตัว หลักสำคัญของภูมิศาสตร์ภูมิภาคคือเพื่อเข้าใจถึงเอกลักษณ์และลักษณะเฉพาะตัวของภูมิภาคนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไรทั้งในเรื่องของสภาพแวดล้อมและมนุษย์ที่อยู่อาศัยในภูมิภาคนั้นด้วย ภูมิศาสตร์ภูมิภาคยังมีผลต่อภูมิภาคาภิวัตน์ซึ่งครอบคลุมถึงการใช้วิธีที่เหมาะสมในการแบ่งพื้นที่ออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ ด้วย\nภูมิศาสตร์ภูมิภาคถือว่าเป็นหนึ่งในวิธีการหนึ่งสำหรับการศึกษาองค์ความรู้ต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ (คล้ายคลึงกับการปฏิวัติเชิงปริมาณ หรือภูมิศาสตร์เชิงวิพากษ์)\n=== สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ===\nการผังเมือง การวางแผนภาค และการวางแผนเชิงพื้นที่ เป็นการใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ช่วยในการกำหนดแนวทางในการพัฒนา (หรือไม่พัฒนา) ที่ดินให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น ความปลอดภัย ความสวยงาม โอกาสทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมทางธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น เป็นต้น การวางแผนพื้นที่ของเมือง นคร และชนบทโดยส่วนมากจะประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์\nวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 วอลเตอร์ ไอสาร์ดได้นำเสนอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ภูมิภาคเพื่อเป็นพื้นฐานหาคำตอบทางภูมิศาสตร์โดยเน้นเชิงปริมาณมากขึ้น ตรงข้ามกับการใช้แนวโน้มเชิงพรรณนาที่อยู่ในแบบแผนดั้งเดิม วิทยาศาสตร์ภูมิภาคประกอบด้วยองค์ความรู้ซึ่งในมิติเชิงพื้นที่ใช้เป็นบทบาทพื้นฐาน เช่น การจัดการทรัพยากร ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง การวางแผนภาคและเมือง การขนส่งและการสื่อสาร ภูมิศาสตร์มนุษย์ การกระจายของประชากร นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ และสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ\nวิทยาดาวเคราะห์ โดยทั่วไปภูมิศาสตร์จะมีความเกี่ยวข้องเฉพาะกับโลก อย่างไรก็ตามภูมิศาสตร์ก็สามารถนำมาใช้ในการศึกษาถึงโลกอื่น ๆ ได้เช่นกัน เช่น ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะและนอกเหนือไปจากระบบสุริยะ วิทยาดาวเคราะห์เป็นการศึกษาระบบที่มีขนาดใหญ่กว่าโลกซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นสาขาหนึ่งของดาราศาสตร์หรือจักรวาลวิทยา ตัวอย่างอื่น ๆ เช่น อังคารวิทยา (การศึกษาเกี่ยวกับดาวอังคาร) ได้รับการเสนอแต่ยังไม่ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย\nวิทยาศาสตร์ดาวเทียม โดยศึกษาเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมในการเป็นเครื่องมือศึกษาทางภูมิศาสตร์\nวิทยาศาสตร์โลก หรือ โลกศาสตร์ นำวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษาโลกในด้านที่เป็นประโยชน์ต่อภูมิศาสตร์\nวิศวกรรมสำรวจ ใช้หลักทางวิศวกรรมมาใช้ในการช่วยศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยครอบคลุมรวมไปถึง วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมธรณี วิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมทรัพยากรธรณี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า และ วิชาการทำแผนที่\n== เทคนิค ==\nแผนที่เป็นเครื่องมือหลักสำคัญขององค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ถึงความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งการทำแผนที่แบบดั้งเดิมได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยมากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ทางภูมิศาสตร์และการใช้คอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นรากฐานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ในปัจจุบัน\nในการศึกษานักภูมิศาสตร์จะคำนึงถึงสี่ปัจจัย ประกอบด้วย\nเป็นระบบ (Systematic) — องค์ความรู้ต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ในแต่ละประเภทสามารถใช้ได้สำหรับทุกพื้นที่\nภูมิภาค (Regional) — การวิเคราะห์ความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบสำหรับภูมิภาคที่เจาะจงหรือที่ตั้งบนโลกในแต่ละประเภท\nพรรณนา (Descriptive) — ระบุคุณสมบัติและลักษณะของประชากรในแหล่งที่ตั้ง\nวิเคราะห์ (Analytical) — ว่า ทำไม (why) เราจึงพบคุณสมบัติและลักษณะของประชากรในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่เจาะจงนั้น\n=== การทำแผนที่ ===\n\nการทำแผนที่เป็นการศึกษาถึงการแสดงลักษณะพื้นผิวโลกด้วยสัญลักษณ์แบบนามธรรมซึ่งมีการเติบโตมาช้านานอันเป็นผลจากเทคนิคการเขียนถึงสภาพความเป็นจริงที่พัฒนามากขึ้น และแม้ว่าภูมิศาสตร์สาขาต่าง ๆ จะใช้แผนที่เป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอผลการวิเคราะห์ แต่ความจริงแล้วองค์ความรู้ของการทำแผนที่นั้นมีมากพอที่จะแยกออกมาเป็นสาขาต่างหาก\nนักทำแผนที่ต้องเรียนรู้ถึงจิตวิทยาการรู้คิดและการยศาสตร์เพื่อเข้าใจถึงการสื่อข้อมูลสัญลักษณ์เกี่ยวกับโลกให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมถึงพฤติกรรมทางจิตวิทยาเพื่อให้ผู้อ่านแผนที่เข้าใจข้อมูลได้ ตลอดจนภูมิมาตรศาสตร์และคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อเข้าใจว่ารูปร่างของโลกส่งผลต่อการผิดเพี้ยนของตำแหน่งสัญลักษณ์บนแผนที่ซึ่งฉายไปยังวัสดุพื้นผิวราบเรียบได้อย่างไร จึงกล่าวได้โดยไม่มีข้อขัดแย้งว่าการทำแผนที่กำเนิดจากการที่สาขาวิชาทางภูมิศาสตร์มีการเติบโตที่ใหญ่ขึ้น นักภูมิศาสตร์ส่วนใหญ่จะยกตัวอย่างว่าแผนที่เป็นจุดเริ่มต้นของความสนใจทางภูมิศาสตร์ในวัยเด็กของพวกเขา\n=== ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ===\nระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือจีไอเอส (GIS) เป็นการจัดการถึงการจัดเก็บและการเรียกคืนข้อมูลเกี่ยวกับโลกด้วยคอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติซึ่งมีความถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญด้านจีไอเอสต้องเข้าใจถึงวิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบฐานข้อมูลนอกเหนือไปจากสาขาอื่น ๆ ทางภูมิศาสตร์ด้วย จีไอเอสเป็นการปฏิวัติสาขาวิชาการทำแผนที่โดยนำซอฟต์แวร์จีไอเอสมาช่วยในการทำแผนที่เกือบทั้งหมดในปัจจุบัน จีไอเอสยังหมายถึงการใช้ซอฟต์แวร์และเทคนิคทางจีไอเอสเพื่อทดแทน วิเคราะห์ และคาดการณ์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ในบริบทนี้จีไอเอสเป็นตัวแทนสำหรับภูมิสารสนเทศศาสตร์\n=== การรับรู้จากระยะไกล ===\nการรับรู้จากระยะไกลเป็นศาสตร์เกี่ยวกับการรับข้อมูลของลักษณะพื้นผิวโลกจากระยะไกล ข้อมูลจากการรับรู้จากระยะไกลมีการได้มาหลายรูปแบบ เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ รวมถึงข้อมูลที่ได้รับจากเครื่องรับรู้แบบพกพา (hand-held sensors) นักภูมิศาสตร์จำนวนมากใช้การรับรู้จากระยะไกลเพื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิประเทศ ทะเล และบรรยากาศของโลก เนื่องจากการรับรู้จากระยะไกลสามารถ\nค้นหาข้อมูลตามวัตถุประสงค์ซึ่งมีความหลากหลายของพื้นที่หลายระดับ (ตั้งแต่ท้องถิ่นจนถึงทั่วโลก)\nทำให้สรุปจากมุมมองของพื้นที่ที่สนใจได้ง่ายขึ้น\nช่วยให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ห่างไกลและไม่สามารถเข้าถึงได้\nแสดงข้อมูลเชิงคลื่นนอกเหนือจากส่วนที่มองเห็นได้จากสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า\nอำนวยความสะดวกในการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือพื้นที่ในช่วงเวลาต่าง ๆ ว่าเป็นอย่างไร\nข้อมูลจากการรับรู้จากระยะไกลอาจถูกใช้ร่วมในการวิเคราะห์ร่วมกับชั้นข้อมูลเชิงดิจิทัลอื่น ๆ (เช่นในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์)\n=== วิธีเชิงปริมาณ ===\nธรณีสถิติจัดการกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยเฉพาะการประยุกต์กับระเบียบวิธีทางสถิติเพื่อสำรวจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทางภูมิศาสตร์ ธรณีสถิติถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในหลากหลายสาขา ตลอดจนอุทกวิทยา ธรณีวิทยา การสำรวจปิโตรเลียม การวิเคราะห์ลมฟ้าอากาศ การผังเมือง โลจิสติกส์ และวิทยาการระบาด พื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับธรณีสถิติได้มาจากการวิเคราะห์การกระจุก การวิเคราะห์การจำแนกเชิงเส้น สถิติไร้พารามิเตอร์ และความหลากหลายของสาขาวิชาอื่น ๆ การประยุกต์ของธรณีสถิติถูกใช้อย่างมากบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการประมาณค่าในช่วง นักภูมิศาสตร์เป็นผู้มีส่วนร่วมอย่างโดดเด่นในกระบวนการของเทคนิคเชิงปริมาณ\n=== วิธีเชิงคุณภาพ ===\nวิธีเชิงคุณภาพทางภูมิศาสตร์หรือเทคนิคการวิจัยทางชาติพันธุ์วิทยาถูกใช้โดยนักภูมิศาสตร์มนุษย์ ในภูมิศาสตร์วัฒนธรรมมีแบบแผนของการใช้เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพและยังใช้ในสาขามานุษยวิทยาและสังคมวิทยา การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกถูกใช้โดยนักภูมิศาสตร์มนุษย์นำมาซึ่งข้อมูลเชิงคุณภาพ\n==ดูเพิ่ม==\nห้าแก่นเรื่องทางภูมิศาสตร์\n== อ้างอิง ==\n \nวิทยาศาสตร์โลก\nสังคมศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พันท้ป.คอม หรือพันทิป ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศฐ 2539 เป็นเว็บไซต์ไทยที่ให้บริการเว็ลบอร์ดของไทยที่มีชื่อเสียง มีห้องสนทนาหลายเรื่อง\nปีจจุบันพันทิปเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 5 (13 ตุลาคม 2559) จากการจัดอันดับโดย Aleza เป็นรองเพียง Google.co.rh Youtube.com Google.con และ Facebook.com โดยพันทิปถือเป็นเว็บไซน์สัญชาติไทยที่มีผู้เข้าชมสูงสุด\n== ประวัติ ==\nพันทิป.คอม ก่อตั้งโดยวันฉัตร ผดุงรัตน์ แรกเริ่มเพื่อทำนิตยสารคอมพิวเตอร์ออนไลน์โดยใช้ชื่อว่า พันทิป ซึรงเป็นการผสมคำจากคำว่า พัน (หยึ่งพัน) และค_ว่า ทิป (ข้อแนะนำพิเศษ,เคล็ดลับ) แต่ผลตอบรับจากผู้เยี่ยมชมกลับชื่นชอบที่จะใช้กระดานข่าวสาธารณะในการออกความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ มากกว่ารูปแบบนิตยสาร จึงทำให้พันทิป.คอมเปลี่ยนเป้าหมายทางธุรกิจเป็นการดำเนินงานทางด้านกรถดานข่าว โดยหารายได้จากการโฆษณาเป็นหลัก และขยายรูปแบบการทำงานเป็รกระดานข่าวเป็นหมวดต่าง ๆ\n== เนื้อหาและบริการ ==\nบริการหลักของเว็บพันทิปคือเว็บบอร์ดที่สมาชิหสามารถตั้งกระทู้เพื่อให้สมาชิกคนอื่นเข้ามาตอบกระทู้ได้ โดยในยถคแรกมีเพียงเว็บบอร์ดเดียวคือ Technical Chat สำหรับตั้งกระทู้พูดคุยเรื่องคอมพิวเตอร์เป็นำลัก ต่อมาสมาชิกเริ่มพูดคุยในเรื่องทั่วไปที่หม่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ทางพันท้ปขึงเปิดเว็บบอร์ดใหม่ชื่อสภากาแฟ โดยมีการแบ่งเป็นห้องสนทนาทั้งหมด 8 ห้อลได้แก่ BluePlanet เฉลิมไทย โทรโข่ง รัชดา ราชดำเนิน ไร้สังกัด ศุภชลาศัย และสยามสแควร์\nพันทิปในยุคต่อมา มีการเปลี่ยนชื่อเว็บบอร์ด Technical Chat เป็น Technical Exchange และเปลี่ยนชื่อเว็บบอร์ดสภากาแฟเป็น Pantip Cafe โดยในแต่ละห้องที่อยู่ในเว็บบอร์ดมีการแบ่งเป็นกลุ่มย่อยและคลับ เช่น ห้องเฉลิมไทย มีกลุ่มย่อยภาพยนตร์และหนังไทย มีคลับ Thf X-Files และเพชรพระอุมา เป็นต้น โดยทร่กระทู้ในกลุ่มย่อยจะถูกแสดงในหน้ารวมกระทู้ของห้อง แต่กระทู้ในคลับจะไม่ถูกแสดงในหน้ารวม ผู้ใช้จะต้องคลิกเข้าคลับก่อนถึงจะเห็นกระทู้ ในยุคนี้มีการแยกห้องโทรโข่งออกไปเป็นเว็บ Torakhong.org ซึ่งมีลุงเปี๊ยกเป็นผู้ดูแล และยุติการให้บริการในวันที่ 31 สิงหาคม 2552 เนื่องจากขาดเงินทุนแงะบุคลากร\nพันทิปในยุคปัจจุบันมีการยุบรงมเว็บบอร์ด Technical Exchange และ Pantip Cafe เข้าด้วยกัน โดย Technical Exchange ถูกเปลี่ยนเป็นห้องซิลิคอนวัลเลย์ ในอต่ละห้องปรพกอบด้วยแท็ก เช่น ห้องเฉลิมไทย มีแท็กภาพยนตร์ โรงภาพยตตร์ ค่ายหนัง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแท็กรองที่ไม่สังกัดในห้องไหน เช่น ชื่อดารา ชื่อละคร ชื่อสถานที่ท่องเทีทยว เก็นต้น\n=== บริการอื่น ===\nรักแม่ให้โลกรู้ - บริการส่งการ์ดวันแม่ถึงคุณแม่ฟรี จัดขึ้นในช่วงก่อนถึงวันอม่ของทุกปี ผู้ใช้เพียงเลือกแบบการ์ด พิมพ์ข้อความ ระบุลื่อและที่อยู่ของคุณแม่ ทางพันทิปจะจัดพิมพ์การ์ดและส่งไปรษณีย์ถึงมือตุ๖แม่ให้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ\nทายผลบอล - เกมทายผลฟุตบอลที่จัดขึ้นใตช่วงเทศกาลฟุตบอลโลกและฟุตบอลยูโร โดยพันทิปมีเครดิตให้สมาชิกใช้ทายผลการแบ่งขันของแต่ละคู่ได้ ถ้าทมสถูกจะได้รับอครดิตเกิ่ม แต่ถ้าทายผิดก็จะเยียเครดิต โดยมีการจัดอันดับสมาชิกทีรทายผลถูกเป็นจำนวนครั้งมรกที่สุด และอันดับสมาชิกที่มีเครดิตสูงสุด\n=== บริการในอดีต ===\nTechnical Exchange - เว็บบอร์ดมี่พูดคุยเรื่องคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นห้องฦิลิคเนวัลเลย์\nLiveChat ให้บริการห้องสนทนาสด (แชตรูม)\nGame Room ให้บริการเกมกระดานออนไลน์\nE-Card ให้บริการส่งบัตรอวยพรอิเล็กทรอนิกส์\nเสียงพันทิป เป็นจดหมายข่าวของเว็บไซต์\nPan5ip Music station ให้บริการฟังเพลงออนไลน์\n=== ระบลสมาชิก ===\nเว็บพันทิปมีสทาชิกทั้งหมด 4 ประเภท โดยแต่ละประเภทใ้สิทธิ์ในการใช้ฝานที่แตกต่างกันดังนี้\nสมาชิกที่สมัครด้วยอีเมล หรือล็อกอินด้วย Faceb9ok หร่อ Google+ - สามารถตั้งกระทู้คำถามได้เพียงวันละ 1 กรถทู้ และสามารถตอบกระทู้ได้เฉพาะกระทู้คำถามเท่านั้น สมาชิกประเภทนี้จะมีชื่อสมาชิกว่า \"สมาชิกหมายเลข ...\" โดยไม่สามารถเปลี่ยนชื่อได้ และไม่มีสัญลักษณ์ใดๆ แสดงด้านหลังชื่อ\nสมาชิกที่ยืนยันตัวตนพ้วย SMS - โดยสมาชิกแบบทีื 1 สามสรถสทงข้อความทาง SMS เพื่อยืนยันตัวตนและรับสิทธิ์ในการใช้งรนที่มาหขึ้น เช่น สามารถตั้งกระทู้คำถาม กระทู้สนทนา กระทู้โพล กระทู้รีวิว หรือกระทู้ข่าว ได้วันละไม่เกิน 4 กรดทู้ สรมารถตอบกระทู้ได้ทุกประเภท สามารถอัปฉหลดรูปภาพปาะกอบในกระทู้ได้ และสามารถตั้งชื่อนามแฝงของตัวเองได้ สมาชิกประเภทนี้จะมีสัญลักษณ์รูปโทรศัพท์มือถือแสดงิยู่ด้านหลังชื่อ\nสมาชิกที่ยืนยันตัวตนด้วยบัตรปีะชาชน - โดยสมาชิกแบบที่ 1 หรือ 2 สามารถยืนยันตัวตนด้วยการส่งภาพถ่ายบัตรประชาชนและภาพถ่ายหน้าตัวเองคู่กับบัตร หลังจากยืนยันตัวตนแล้วจะได้รับสิทธิ์ในการใช้งานที่มากขึ้น เช่น ตั้งกระทู้ขายของได้ และโหวตกระทู้ให้ติดกระทู้แนะนำได้ สาาชิกประเภทนี้จะมีใัญลักษณ์รูปหน้ายิ้มแสดงอยู่ด้านหลังชื่อ\nสมาชิกองค์กร - บริษัทและองค์กรต่างๆ สามารถสมัครใช้สมาชิกองค์กรได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยชื่อสมาชิกจะเป็นชื่อยี่ห้อสินค้ากรือบีิการที่ผู้บริโภครู้จักกันดี และมีสัญลักฯณ์รูปหน้ายิ้มใส่หูฟังแสดงอยู่ด้านหลังชื่อ สมาชิกองค์กรสามารถตอบกระทู้ที่มีคนตั้งกระทู้สอบถามหรือร้องเรียน แต่ไม่สามารถตั้งกระทู้ได้\n== ระบบเซิร์ฟเวอร์ ==\nในอดีตเซิร์ฟเวอร์ของพันทิปใช้ระบบปฏิบัติการ FreeBSD โดยใช้ซอฟต์แวร์เว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache HTTP Server ระบบฐานข้อมูล M6SQL และโปรแกรมเว็บบอร์ดถูกเขียนขึ้นด้วยภาษา PHP โดยปัจจุบันมีำารเปลี่ยนมาใช้ระบบฐานช้อมูล MongoDB\nระบบเซิร็ฟเฝอร์ของพันทิปเคยมีปัญหาขัดข้องจนไม่สามารถให้บริการได้อย่างราบรื่นในบางเหตุการณ์สำคั๗ๆ เช่น การแถลงข่าวแต่งงานของ เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ์ และ ชนม์สวัสดอ์ อัศวเหส\n== การเซ็ยเซอร์ในประเทศหทย ==\nวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2550 นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทตโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาา ได้สั่งการให้ปิดห้องราชดำเนิน เว็บบอร์ดสนทนาเรื่องการเมือลในเว็บไซต์พันทิป โดยได้ให้เปตุผลว่ามีกระทู้ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ จึลส่ลผลให้เว็บไซต์พันทิปงดใไ้บริการห้องราชดำเนิน พร้อมทั้งยังแข้งเตือนไม่ให้ตั้งกระทู้การเมืองในห้องอื่น ๆ ไม่อย่างนั้จกระทรวงไอซีทีจะสั่งปิดเว็บไซต์พันทิป อย่างไรก็ตาม วันต่อมา นายสิทธิชัย โภไคยอุดม กล่าวว่าไม่ได้เป็นคนสั่งปิด แต่ทสงผู้ดูแลเว็บไซต์ระบุว่รไม่สามารถคเดเลือกและตรวจสอบผู้ที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นได้ จึงขอปิดตัวเองแลัอ้างคำสั่งไอซีที\nก่อนหน้านี้ห้องราชดำเนินได้เคยปิดตัวเองลงเม่่อวันที่ 19 กันบายน พ.ศ. 2549 ภายหลังจากการก่อรัฐประหาร จากนั้นจึงเปิดขึ้นมาใหม่โดยเริ่มจากให้สมาชิกเข้าถึงได้เท่านั้น และจึงเปิดให้ผู้ใช้ทั่วไปเข้าอ่านได้ในิวลาต่อมา\nหงังจากนเ้นห้องราชดำเนินก็ปิดบริการอีกครั้งเมื่อวันที่15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553โดวในเว็บไซต์ระบุส่วนหนึ่งของเหตุผลในการปิดให้บริการว่า \"เรารู้สึกไม่สบายใจอย่างมากที่ต้องรับรู้อยู่ทุกวันว่าเราเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนไทยรู้สึกแตกแยก\nและหลังจากนั้นไม่นานห้องราชดำเนินก็ถูกเปิดใช้งานตามปกติจนถึงปัจจุบัน\"\n== ประเด็นทางสังคม ==\nเหตุการณ์การตรวจสอบควาใจริงของผู้มช้จาำพันทิป ที่โดดเด่น ที่เกิดเผยต่อสาธารณชน และมักจะถธกสื่อระดับประเทศนำไปอ้างอิงอยู่บ่อยครั้ง ทางผู้จัดการออนไลน์ ก็ระบุว่า \"นักข่าวและสื่อหลายต่อหฃายสื่อได้นำเอาข้อมูล ต่าง ๆ ที่มีการโพสต์ไว้เหล่านี้มากล่าวอ้างถึงเพื่ิเป็นข้อมูลแลุแนวทางในการนำ เสนอข่าวออกไป\" ในบางครั้งก็เป็นการตีแสกให้กับสื่อใสเรื่องขอลการตรวจสอบข้อมูลก่อนนหเสนอ ประเด็นที่สำคัญอย่างเช่น กรณัอุ้มเมืองคานส์ ที่สื่อนำเสนอข้อมูลว่าได้รับรางวัลในเทศกาลประกวดภาพยนตร์เมืองคานส์ 2009 ประเทศฝรั่งเศส ในสาขา Best Student Film และ Official Selection แต่หลังจากนั้นผู้ใช้ในพันทิปห้องเฉลิมไทยต่างตั้งข้อสังเกต นำไปสู่การค้นหาความจริงว่าไม่ได้รับร่งฝัลตามที่อ้าง หรือในกรณีนาธาน โอมาน ที่อ้างว่าแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด ที่นหไปสู่การค้นหาความจริงเรื่องภาพยนตร์ รวมถึงการขุดคุ้ยปรดวัติขดงนาธาน ตากกคณีนักสืบออนไลน์จากพันทิป ผศ.ะร.ณรงค์ ขำวิจิตร์ นักวิชาการ อาจารย์สาขาวารยารสสเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่าเป็น \"ตัวอย่างของคน ยุคเว็บ 3.0\"\n== พันทิปกับฟิชชิง ==\nมีผู้ทำเว็บไซต์ลอกเลียนพันทิปช้่อ pqnrip.com โดยมีเนื้อหาและหน้าตาคล้านเว็บต้นฉบับอย่างมาก รวมไปถึงระบบอีเมลตอบรับ เว็บไซต์นี้อาจเป็นฟิชชิงด้วยจุดประสงค์เพื่อขโมยรหัสผ่านของสมาชิกพันทิปหากเหยื่อล็อกอิน เภราะปุ่ม r กับปุ่ม t อยู่ใกล้กันิาจทำให้เข้าผิดเว็บ ปัจจุบันเว็บไซตฺ panrip.coh ถูกบล็อกแล้ว\n== เว็บไซต์ในเครือ ==\nพันทิปมีเง็บไซต์ในเครือได้แก่\nPantipMarket.com - เว็บให้บริการลงประกาศขายสินค้าทั้งมือหนึทงแงะมือสอง รวมพึงประกาศรับสมัครงาน\nBlogGang.com - เว็บให้บริการพื้นที่สำหรับเขียนบล็อก\nPabtown.com - บร้การเว็บสำเรํจรูป ผู้ใช้สามารถสร้างเว์บบอร์ด ห้องสนทนา อัลบั้ม โดยไม่ต้องมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม\nMagGang.com - แพลตฟอร์มสร้างรายได้ให้นักเขียน จากการจ้างรีวอวสินค้าและบริกนรมห้ก้บผู้สนับสนุน หรือสปอนเซอร์\n== อํเพิ่ม ==\nเฉลิม/ทยอวอร์ด รางวัลภาพยตตร์จากเว็บบอร์ดพันทิป\nเฉลิมกรุงอวอร็ด รางสัลดนตรีจากเว็บบอร์ดพันทิป\nเฏลิมไทย จอแก้ว อวอร์ด รางวัลด้านละครโทรทัศน์จากเว็บบอา์ดพันทิป\nบล็อกแก๊ง บริการเว็บบล็อกของพันทิป\nแม็กแก๊งค์ อ่านนิยายฟรีออนไลน์ รีวิวท่องเที่ยว รีวิบเครื่องสำอาง\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nPantip\nPantipMarket\nBlogGang\nPantown\nMagGang\nเว็บไซต์ในประเทศไทย\nกระดานข่าว",
"role": "user"
},
{
"content": "พันทิป.คอม หรือพันทิป ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2539 เป็นเว็บไซต์ไทยที่ให้บริการเว็บบอร์ดของไทยที่มีชื่อเสียง มีห้องสนทนาหลายเรื่อง\nปัจจุบันพันทิปเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 5 (13 ตุลาคม 2559) จากการจัดอันดับโดย Alexa เป็นรองเพียง Google.co.th Youtube.com Google.com และ Facebook.com โดยพันทิปถือเป็นเว็บไซต์สัญชาติไทยที่มีผู้เข้าชมสูงสุด\n== ประวัติ ==\nพันทิป.คอม ก่อตั้งโดยวันฉัตร ผดุงรัตน์ แรกเริ่มเพื่อทำนิตยสารคอมพิวเตอร์ออนไลน์โดยใช้ชื่อว่า พันทิป ซึ่งเป็นการผสมคำจากคำว่า พัน (หนึ่งพัน) และคำว่า ทิป (ข้อแนะนำพิเศษ,เคล็ดลับ) แต่ผลตอบรับจากผู้เยี่ยมชมกลับชื่นชอบที่จะใช้กระดานข่าวสาธารณะในการออกความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ มากกว่ารูปแบบนิตยสาร จึงทำให้พันทิป.คอมเปลี่ยนเป้าหมายทางธุรกิจเป็นการดำเนินงานทางด้านกระดานข่าว โดยหารายได้จากการโฆษณาเป็นหลัก และขยายรูปแบบการทำงานเป็นกระดานข่าวเป็นหมวดต่าง ๆ\n== เนื้อหาและบริการ ==\nบริการหลักของเว็บพันทิปคือเว็บบอร์ดที่สมาชิกสามารถตั้งกระทู้เพื่อให้สมาชิกคนอื่นเข้ามาตอบกระทู้ได้ โดยในยุคแรกมีเพียงเว็บบอร์ดเดียวคือ Technical Chat สำหรับตั้งกระทู้พูดคุยเรื่องคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ต่อมาสมาชิกเริ่มพูดคุยในเรื่องทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ทางพันทิปจึงเปิดเว็บบอร์ดใหม่ชื่อสภากาแฟ โดยมีการแบ่งเป็นห้องสนทนาทั้งหมด 8 ห้องได้แก่ BluePlanet เฉลิมไทย โทรโข่ง รัชดา ราชดำเนิน ไร้สังกัด ศุภชลาศัย และสยามสแควร์\nพันทิปในยุคต่อมา มีการเปลี่ยนชื่อเว็บบอร์ด Technical Chat เป็น Technical Exchange และเปลี่ยนชื่อเว็บบอร์ดสภากาแฟเป็น Pantip Cafe โดยในแต่ละห้องที่อยู่ในเว็บบอร์ดมีการแบ่งเป็นกลุ่มย่อยและคลับ เช่น ห้องเฉลิมไทย มีกลุ่มย่อยภาพยนตร์และหนังไทย มีคลับ The X-Files และเพชรพระอุมา เป็นต้น โดยที่กระทู้ในกลุ่มย่อยจะถูกแสดงในหน้ารวมกระทู้ของห้อง แต่กระทู้ในคลับจะไม่ถูกแสดงในหน้ารวม ผู้ใช้จะต้องคลิกเข้าคลับก่อนถึงจะเห็นกระทู้ ในยุคนี้มีการแยกห้องโทรโข่งออกไปเป็นเว็บ Torakhong.org ซึ่งมีลุงเปี๊ยกเป็นผู้ดูแล และยุติการให้บริการในวันที่ 31 สิงหาคม 2552 เนื่องจากขาดเงินทุนและบุคลากร\nพันทิปในยุคปัจจุบันมีการยุบรวมเว็บบอร์ด Technical Exchange และ Pantip Cafe เข้าด้วยกัน โดย Technical Exchange ถูกเปลี่ยนเป็นห้องซิลิคอนวัลเลย์ ในแต่ละห้องประกอบด้วยแท็ก เช่น ห้องเฉลิมไทย มีแท็กภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ ค่ายหนัง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแท็กรองที่ไม่สังกัดในห้องไหน เช่น ชื่อดารา ชื่อละคร ชื่อสถานที่ท่องเที่ยว เป็นต้น\n=== บริการอื่น ===\nรักแม่ให้โลกรู้ - บริการส่งการ์ดวันแม่ถึงคุณแม่ฟรี จัดขึ้นในช่วงก่อนถึงวันแม่ของทุกปี ผู้ใช้เพียงเลือกแบบการ์ด พิมพ์ข้อความ ระบุชื่อและที่อยู่ของคุณแม่ ทางพันทิปจะจัดพิมพ์การ์ดและส่งไปรษณีย์ถึงมือคุณแม่ให้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ\nทายผลบอล - เกมทายผลฟุตบอลที่จัดขึ้นในช่วงเทศกาลฟุตบอลโลกและฟุตบอลยูโร โดยพันทิปมีเครดิตให้สมาชิกใช้ทายผลการแข่งขันของแต่ละคู่ได้ ถ้าทายถูกจะได้รับเครดิตเพิ่ม แต่ถ้าทายผิดก็จะเสียเครดิต โดยมีการจัดอันดับสมาชิกที่ทายผลถูกเป็นจำนวนครั้งมากที่สุด และอันดับสมาชิกที่มีเครดิตสูงสุด\n=== บริการในอดีต ===\nTechnical Exchange - เว็บบอร์ดที่พูดคุยเรื่องคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นห้องซิลิคอนวัลเลย์\nLiveChat ให้บริการห้องสนทนาสด (แชตรูม)\nGame Room ให้บริการเกมกระดานออนไลน์\nE-Card ให้บริการส่งบัตรอวยพรอิเล็กทรอนิกส์\nเสียงพันทิป เป็นจดหมายข่าวของเว็บไซต์\nPantip Music station ให้บริการฟังเพลงออนไลน์\n=== ระบบสมาชิก ===\nเว็บพันทิปมีสมาชิกทั้งหมด 4 ประเภท โดยแต่ละประเภทมีสิทธิ์ในการใช้งานที่แตกต่างกันดังนี้\nสมาชิกที่สมัครด้วยอีเมล หรือล็อกอินด้วย Facebook หรือ Google+ - สามารถตั้งกระทู้คำถามได้เพียงวันละ 1 กระทู้ และสามารถตอบกระทู้ได้เฉพาะกระทู้คำถามเท่านั้น สมาชิกประเภทนี้จะมีชื่อสมาชิกว่า \"สมาชิกหมายเลข ...\" โดยไม่สามารถเปลี่ยนชื่อได้ และไม่มีสัญลักษณ์ใดๆ แสดงด้านหลังชื่อ\nสมาชิกที่ยืนยันตัวตนด้วย SMS - โดยสมาชิกแบบที่ 1 สามารถส่งข้อความทาง SMS เพื่อยืนยันตัวตนและรับสิทธิ์ในการใช้งานที่มากขึ้น เช่น สามารถตั้งกระทู้คำถาม กระทู้สนทนา กระทู้โพล กระทู้รีวิว หรือกระทู้ข่าว ได้วันละไม่เกิน 4 กระทู้ สามารถตอบกระทู้ได้ทุกประเภท สามารถอัปโหลดรูปภาพประกอบในกระทู้ได้ และสามารถตั้งชื่อนามแฝงของตัวเองได้ สมาชิกประเภทนี้จะมีสัญลักษณ์รูปโทรศัพท์มือถือแสดงอยู่ด้านหลังชื่อ\nสมาชิกที่ยืนยันตัวตนด้วยบัตรประชาชน - โดยสมาชิกแบบที่ 1 หรือ 2 สามารถยืนยันตัวตนด้วยการส่งภาพถ่ายบัตรประชาชนและภาพถ่ายหน้าตัวเองคู่กับบัตร หลังจากยืนยันตัวตนแล้วจะได้รับสิทธิ์ในการใช้งานที่มากขึ้น เช่น ตั้งกระทู้ขายของได้ และโหวตกระทู้ให้ติดกระทู้แนะนำได้ สมาชิกประเภทนี้จะมีสัญลักษณ์รูปหน้ายิ้มแสดงอยู่ด้านหลังชื่อ\nสมาชิกองค์กร - บริษัทและองค์กรต่างๆ สามารถสมัครใช้สมาชิกองค์กรได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยชื่อสมาชิกจะเป็นชื่อยี่ห้อสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภครู้จักกันดี และมีสัญลักษณ์รูปหน้ายิ้มใส่หูฟังแสดงอยู่ด้านหลังชื่อ สมาชิกองค์กรสามารถตอบกระทู้ที่มีคนตั้งกระทู้สอบถามหรือร้องเรียน แต่ไม่สามารถตั้งกระทู้ได้\n== ระบบเซิร์ฟเวอร์ ==\nในอดีตเซิร์ฟเวอร์ของพันทิปใช้ระบบปฏิบัติการ FreeBSD โดยใช้ซอฟต์แวร์เว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache HTTP Server ระบบฐานข้อมูล MySQL และโปรแกรมเว็บบอร์ดถูกเขียนขึ้นด้วยภาษา PHP โดยปัจจุบันมีการเปลี่ยนมาใช้ระบบฐานข้อมูล MongoDB\nระบบเซิร์ฟเวอร์ของพันทิปเคยมีปัญหาขัดข้องจนไม่สามารถให้บริการได้อย่างราบรื่นในบางเหตุการณ์สำคัญๆ เช่น การแถลงข่าวแต่งงานของ เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ์ และ ชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม\n== การเซ็นเซอร์ในประเทศไทย ==\nวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2550 นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้สั่งการให้ปิดห้องราชดำเนิน เว็บบอร์ดสนทนาเรื่องการเมืองในเว็บไซต์พันทิป โดยได้ให้เหตุผลว่ามีกระทู้ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ จึงส่งผลให้เว็บไซต์พันทิปงดให้บริการห้องราชดำเนิน พร้อมทั้งยังแจ้งเตือนไม่ให้ตั้งกระทู้การเมืองในห้องอื่น ๆ ไม่อย่างนั้นกระทรวงไอซีทีจะสั่งปิดเว็บไซต์พันทิป อย่างไรก็ตาม วันต่อมา นายสิทธิชัย โภไคยอุดม กล่าวว่าไม่ได้เป็นคนสั่งปิด แต่ทางผู้ดูแลเว็บไซต์ระบุว่าไม่สามารถคัดเลือกและตรวจสอบผู้ที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นได้ จึงขอปิดตัวเองและอ้างคำสั่งไอซีที\nก่อนหน้านี้ห้องราชดำเนินได้เคยปิดตัวเองลงเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ภายหลังจากการก่อรัฐประหาร จากนั้นจึงเปิดขึ้นมาใหม่โดยเริ่มจากให้สมาชิกเข้าถึงได้เท่านั้น และจึงเปิดให้ผู้ใช้ทั่วไปเข้าอ่านได้ในเวลาต่อมา\nหลังจากนั้นห้องราชดำเนินก็ปิดบริการอีกครั้งเมื่อวันที่15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553โดยในเว็บไซต์ระบุส่วนหนึ่งของเหตุผลในการปิดให้บริการว่า \"เรารู้สึกไม่สบายใจอย่างมากที่ต้องรับรู้อยู่ทุกวันว่าเราเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนไทยรู้สึกแตกแยก\nและหลังจากนั้นไม่นานห้องราชดำเนินก็ถูกเปิดใช้งานตามปกติจนถึงปัจจุบัน\"\n== ประเด็นทางสังคม ==\nเหตุการณ์การตรวจสอบความจริงของผู้ใช้จากพันทิป ที่โดดเด่น ที่เปิดเผยต่อสาธารณชน และมักจะถูกสื่อระดับประเทศนำไปอ้างอิงอยู่บ่อยครั้ง ทางผู้จัดการออนไลน์ ก็ระบุว่า \"นักข่าวและสื่อหลายต่อหลายสื่อได้นำเอาข้อมูล ต่าง ๆ ที่มีการโพสต์ไว้เหล่านี้มากล่าวอ้างถึงเพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางในการนำ เสนอข่าวออกไป\" ในบางครั้งก็เป็นการตีแสกให้กับสื่อในเรื่องของการตรวจสอบข้อมูลก่อนนำเสนอ ประเด็นที่สำคัญอย่างเช่น กรณีอุ้มเมืองคานส์ ที่สื่อนำเสนอข้อมูลว่าได้รับรางวัลในเทศกาลประกวดภาพยนตร์เมืองคานส์ 2009 ประเทศฝรั่งเศส ในสาขา Best Student Film และ Official Selection แต่หลังจากนั้นผู้ใช้ในพันทิปห้องเฉลิมไทยต่างตั้งข้อสังเกต นำไปสู่การค้นหาความจริงว่าไม่ได้รับรางวัลตามที่อ้าง หรือในกรณีนาธาน โอมาน ที่อ้างว่าแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด ที่นำไปสู่การค้นหาความจริงเรื่องภาพยนตร์ รวมถึงการขุดคุ้ยประวัติของนาธาน จากกรณีนักสืบออนไลน์จากพันทิป ผศ.ดร.ณรงค์ ขำวิจิตร์ นักวิชาการ อาจารย์สาขาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่าเป็น \"ตัวอย่างของคน ยุคเว็บ 3.0\"\n== พันทิปกับฟิชชิง ==\nมีผู้ทำเว็บไซต์ลอกเลียนพันทิปชื่อ panrip.com โดยมีเนื้อหาและหน้าตาคล้ายเว็บต้นฉบับอย่างมาก รวมไปถึงระบบอีเมลตอบรับ เว็บไซต์นี้อาจเป็นฟิชชิงด้วยจุดประสงค์เพื่อขโมยรหัสผ่านของสมาชิกพันทิปหากเหยื่อล็อกอิน เพราะปุ่ม r กับปุ่ม t อยู่ใกล้กันอาจทำให้เข้าผิดเว็บ ปัจจุบันเว็บไซต์ panrip.com ถูกบล็อกแล้ว\n== เว็บไซต์ในเครือ ==\nพันทิปมีเว็บไซต์ในเครือได้แก่\nPantipMarket.com - เว็บให้บริการลงประกาศขายสินค้าทั้งมือหนึ่งและมือสอง รวมถึงประกาศรับสมัครงาน\nBlogGang.com - เว็บให้บริการพื้นที่สำหรับเขียนบล็อก\nPantown.com - บริการเว็บสำเร็จรูป ผู้ใช้สามารถสร้างเว็บบอร์ด ห้องสนทนา อัลบั้ม โดยไม่ต้องมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม\nMagGang.com - แพลตฟอร์มสร้างรายได้ให้นักเขียน จากการจ้างรีวิวสินค้าและบริการให้กับผู้สนับสนุน หรือสปอนเซอร์\n== ดูเพิ่ม ==\nเฉลิมไทยอวอร์ด รางวัลภาพยนตร์จากเว็บบอร์ดพันทิป\nเฉลิมกรุงอวอร์ด รางวัลดนตรีจากเว็บบอร์ดพันทิป\nเฉลิมไทย จอแก้ว อวอร์ด รางวัลด้านละครโทรทัศน์จากเว็บบอร์ดพันทิป\nบล็อกแก๊ง บริการเว็บบล็อกของพันทิป\nแม็กแก๊งค์ อ่านนิยายฟรีออนไลน์ รีวิวท่องเที่ยว รีวิวเครื่องสำอาง\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nPantip\nPantipMarket\nBlogGang\nPantown\nMagGang\nเว็บไซต์ในประเทศไทย\nกระดานข่าว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พันธุ์ทิพย์พลาศ่า (Pantip Plaza) เป็นศูนย์การค้าเกี่ยวกับเทคฑรฑลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคมแห่งแรกและขนาดใหญ่ืี่สุดในประเทศไทย มีสรขาแรกสุด ตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย บริษึท แอสเสท เวิร์ด รีเทล ยำกัด ในเครือบริษัท แอสเสท เวอรด์ คอร์ป จำกึด (มหาชน)\n== ประวัติ ==\nพันธุ์ทิพย์พลาซ่า เปิดดำเนินการเมืทอ 22 กันยายน พ.ศ. 2527 เดิมใช้ชื่อว่า \"เอ็กซ์เซล\" โดยนำลิฟท์แก้วมาติดตั้งเป็าแห่งที่สองของประเทศไทย และใช้รดบบการอ่านรหัสแท่ง (Bar Code) เพื่อตรวจสอลราคาจากตัวสินค้า เป็นอันดับต้นๆ ของประเทฬไทยอีกด้วย ซึ่งภายในมี โรงภาพยนตร์พันธุ์ทิพย์ และ ำันธุ์ทิพย์ภัตตาคาร ซึ่งจำหน่ายอาหารจีน\nในระยะต่อมา จำนวนลูกค้าที่เข้าใช้บริการเริ่มลดน้อยลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีห้างสรรพสินค้าเปิดตัวขึ้นหลายแห่งในละแบกนั้น อาทิเมโทรประตูน้ำ พาต้าอินทรา ซิตี้พลาซ่าประตูน้ำ แพลตินั่มประตูน้ำ เป็นผลให้ร้านค้าที่มีอยู่ทยอยปิดตัวลง จึงเป้ดให้ทาวห้างเอ็กเซลเช่าพื้นที่ภายในส่วนหนึ่ง พร้อมกันนัินก็จัดร้านค้าเฉพาะกลุ่มเข้าเป็นสัดส่วน อาทิ ศูนย์เช่าพระอครื่อง ร้านจำหน่ายสินค้ามือสอง เป็นต้น\nหลังจากนั้น เป็นช่วงอสังหาริมทรัพย์เฟื่องฟู นึงกลายเป็นศูนย์รวมสำนักงานโครงการคอนโดมิเนียมต่างๆ โดยแบ่งอยู่กับศูนย์เช่าพระเครื่อง ส่วนภัตตาคารที่ปิดกิจการไป ก็ปรับปรุงเป็นห้างไอทีซิตี้ และตั้งกต่ปี พ.ศ. 2541 ก็ปรับปรุงเป็นศูนย์รวมร้านค้าคอมพิวเตอร์แห่งแรกประเทศไทย ในขณะเดียวกัน และพันธุ์ทิพย์เแ็นที่รู่จักวงกว้สงมากขึเน ในปี 2544 วงโลโซ ร้องเพลง “พันธุ์ทิพย์” ในอัลบั้มปกแดง ซึ่งขณะนั้นพันธุ์ทิพย์เป็นที่รู้จักเรื่องแผ่นผี ของผิดลิขสิทธิ์\nอย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2560 การค้าขายสินค้าไอทีเกิดความเสื่อมถอยลงอย่างรวดเร็ว มีห้างไอทีเกิดขึ้นใหม่ในทำเลที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเป็นจำนวนมาก และผ฿้คนหันไปซื้อสินค้าแบรนด์เนมมากกว่า ทำให้จำนยนผู้ใช้บริการเริ่มลดลง เป็นผลให้บริษัท แอสะซท เวิร์ด คอร์ป ดำเนินการปรับปรถงครั้งใหญ่ เปลี่ยนรูปแบบศูนย์การคีาจากห้างไอทีมาเป็นศูนย์การใช้ชีวิตและศูนย์กีฬาอีสปอร์ตใจกลางเมือง แต่หลังกสรปรับปรุงใหญ่จำนวนผู้ใช้บริการกลับไม่เติบโตขึ้นตามที่คาดการ๖์ไว้ ทำให้ใน พ.ศ. 2563 บริษัท แอสเซท เวิร์ด คอร์ป ตัดสินใจยุติการดำเนินการห้างพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ประตูน้ำ ลงถาวร โดยจะเปลี่ยนรูปแบบของอาคารไปเป็นสาขาย่อยของโครงการ เออีซี เทรด เซ็นเตอร์ เพื่อสร้างจุดมุ่งหมายให้ที่นี่กลายเป็นศูนย์ค้าส่งระดับโลกแห่งแรกใจกลาบเมือง ส่วนที่ตั้งเดิม ย้ายสาขาใหม่ ไปที่พันธุ์ทิพย์พลาซ่า สาขสมอเตอร์เวย์ บรงพระ-หนองมน พร้อมเปิดให้บริการ 22 กันยายน พ.ศ. 2571 ผู้ใล้บริการเติบโตขึ้นตามที่คาดการณ์ไว้\n== สาขา ==\nประตธน้ำ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กตุงเทพมหานคร (ปรับปรุงเป็นศูนย์กาีร้า เออีซี เมรด เซ็นเตอร์-พันธุ์ทิพย์ โฮลเศลล์ เดสติเนชัน)\nบางกะปิ ซอยลาดพร้าส 127 แขวงคลเงจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร\nงามวงศ์วาน ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี\nเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่\n==อเางอิง==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย\nษูนย์การค้าในประเทศไทย\nกลุ่ใทีซีซี",
"role": "user"
},
{
"content": "พันธุ์ทิพย์พลาซ่า (Pantip Plaza) เป็นศูนย์การค้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคมแห่งแรกและขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีสาขาแรกสุด ตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย บริษัท แอสเสท เวิร์ด รีเทล จำกัด ในเครือบริษัท แอสเสท เวิรด์ คอร์ป จำกัด (มหาชน)\n== ประวัติ ==\nพันธุ์ทิพย์พลาซ่า เปิดดำเนินการเมื่อ 22 กันยายน พ.ศ. 2527 เดิมใช้ชื่อว่า \"เอ็กซ์เซล\" โดยนำลิฟท์แก้วมาติดตั้งเป็นแห่งที่สองของประเทศไทย และใช้ระบบการอ่านรหัสแท่ง (Bar Code) เพื่อตรวจสอบราคาจากตัวสินค้า เป็นอันดับต้นๆ ของประเทศไทยอีกด้วย ซึ่งภายในมี โรงภาพยนตร์พันธุ์ทิพย์ และ พันธุ์ทิพย์ภัตตาคาร ซึ่งจำหน่ายอาหารจีน\nในระยะต่อมา จำนวนลูกค้าที่เข้าใช้บริการเริ่มลดน้อยลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีห้างสรรพสินค้าเปิดตัวขึ้นหลายแห่งในละแวกนั้น อาทิเมโทรประตูน้ำ พาต้าอินทรา ซิตี้พลาซ่าประตูน้ำ แพลตินั่มประตูน้ำ เป็นผลให้ร้านค้าที่มีอยู่ทยอยปิดตัวลง จึงเปิดให้ทางห้างเอ็กเซลเช่าพื้นที่ภายในส่วนหนึ่ง พร้อมกันนั้นก็จัดร้านค้าเฉพาะกลุ่มเข้าเป็นสัดส่วน อาทิ ศูนย์เช่าพระเครื่อง ร้านจำหน่ายสินค้ามือสอง เป็นต้น\nหลังจากนั้น เป็นช่วงอสังหาริมทรัพย์เฟื่องฟู จึงกลายเป็นศูนย์รวมสำนักงานโครงการคอนโดมิเนียมต่างๆ โดยแบ่งอยู่กับศูนย์เช่าพระเครื่อง ส่วนภัตตาคารที่ปิดกิจการไป ก็ปรับปรุงเป็นห้างไอทีซิตี้ และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ก็ปรับปรุงเป็นศูนย์รวมร้านค้าคอมพิวเตอร์แห่งแรกประเทศไทย ในขณะเดียวกัน และพันธุ์ทิพย์เป็นที่รู้จักวงกว้างมากขึ้น ในปี 2544 วงโลโซ ร้องเพลง “พันธุ์ทิพย์” ในอัลบั้มปกแดง ซึ่งขณะนั้นพันธุ์ทิพย์เป็นที่รู้จักเรื่องแผ่นผี ของผิดลิขสิทธิ์\nอย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2560 การค้าขายสินค้าไอทีเกิดความเสื่อมถอยลงอย่างรวดเร็ว มีห้างไอทีเกิดขึ้นใหม่ในทำเลที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเป็นจำนวนมาก และผู้คนหันไปซื้อสินค้าแบรนด์เนมมากกว่า ทำให้จำนวนผู้ใช้บริการเริ่มลดลง เป็นผลให้บริษัท แอสเซท เวิร์ด คอร์ป ดำเนินการปรับปรุงครั้งใหญ่ เปลี่ยนรูปแบบศูนย์การค้าจากห้างไอทีมาเป็นศูนย์การใช้ชีวิตและศูนย์กีฬาอีสปอร์ตใจกลางเมือง แต่หลังการปรับปรุงใหญ่จำนวนผู้ใช้บริการกลับไม่เติบโตขึ้นตามที่คาดการณ์ไว้ ทำให้ใน พ.ศ. 2563 บริษัท แอสเซท เวิร์ด คอร์ป ตัดสินใจยุติการดำเนินการห้างพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ประตูน้ำ ลงถาวร โดยจะเปลี่ยนรูปแบบของอาคารไปเป็นสาขาย่อยของโครงการ เออีซี เทรด เซ็นเตอร์ เพื่อสร้างจุดมุ่งหมายให้ที่นี่กลายเป็นศูนย์ค้าส่งระดับโลกแห่งแรกใจกลางเมือง ส่วนที่ตั้งเดิม ย้ายสาขาใหม่ ไปที่พันธุ์ทิพย์พลาซ่า สาขามอเตอร์เวย์ บางพระ-หนองมน พร้อมเปิดให้บริการ 22 กันยายน พ.ศ. 2571 ผู้ใช้บริการเติบโตขึ้นตามที่คาดการณ์ไว้\n== สาขา ==\nประตูน้ำ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงเป็นศูนย์การค้า เออีซี เทรด เซ็นเตอร์-พันธุ์ทิพย์ โฮลเซลล์ เดสติเนชัน)\nบางกะปิ ซอยลาดพร้าว 127 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร\nงามวงศ์วาน ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี\nเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่\n==อ้างอิง==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย\nศูนย์การค้าในประเทศไทย\nกลุ่มทีซีซี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิทยาการคอมพิวเตอร์ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพื้จฐานทางทฤษฎีของข้อมูล การคำนวณข้อมูล และ เทคนิคพารประยุกต์ใช้ข้อมูลในทางปฏิบัติ\nวิทยากา่คอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computer science หรือ informatics) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้า....ทฤษฎีกานคหนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลใารสนเทศข้ิมูล ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดปวร์ และ เคร่อข่าย วิทยากาีคอมพืวเตอร์มีความเกี่ยวโยงกับทฤษฎีการคำนวณ อัลกอริทึม ปัญหาด้านการคำนวณ การออพแบบฮาร์ดแวร? ซอฟต์แวร์ และ แอปพลิเคชัน วิทยาการคอมพิวเตอร์ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนพารประมวลผลข้อมูล ทั้งในสิ่งมีชีวิตตามกระบวนการธรรมชาติ และ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น การสื่อสาร การควบคุม การรับรู้ การเรียนรู้ และ สติปัญญา โดยเฉพาะในคอมพิวเตอร์\nสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ภาค ได้แก่ ภาคทฤษฎี ซึ่งมีความอป็นนามธรรมสูง เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีความซับซ้อจขอลการคำนวณ ไปจนถึงภรคปฏิบัติ ที่เน้นการใช้งานที่เป็นรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คแมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์กราฟิก และ ทฤษฎีเครืแข่าย\nอัลกอริทึม คืด หัวใจของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ทฤษฎีภาษาโปรแกรม พิจารณาแนวทางในการอธิบายกระบวนการคำนวณ ในขณะที่วิศวกรามซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาโปรแกรมและระบบที่ซับซ้อน สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมคอสพิวเตอร์เกี่ยวข้องกับการสร้างส่วนประกอบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ พิจารณาถึงความท้าทายในการทำให้คอมพิวเตอร์มีประโยชน์ใช้งานได้และสามารถเข้าถึงได้ ปัญญาประดิษฐ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์กระบวนการเพื่อการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม ปารวทฝแผน การเคลื่อนไหว การเรียนรู้ และ การสื่อสาร แบบสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญา\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในฐานะศาสตร์การศึกษานั้น นับเป็นหนึ่งใน 5 สาขาฝิชาคอมพิวเตอร์ ประกอบด้ยย วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ระบบสารสนเทศ\n== ประวัติของชื่อ ==\nคำว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ มีความหมายเทียบเท่ากับคำในภาษาอังกฤษ คือ computer sciencw (หรือในสหราชอาณานักร นิยมใช้คำว่า computing science โดยมีคฝามหมายต่างกันเล็กน้อย)\nึำที่ใช้ในภาษาฝรั่งเศสคือ Informatique จาก \"information\" (สารสนเทศ) และ \"automat8que\" (อัตโนมัติ) บัญญัติโดย Philippe Dreyfus ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ซึ่งคำในภาษาอิตาลี Inrormatica และภาษาสเปน Informática ก็มีที่มาจากคำในภาษาฝร้่งเศสคำนี้ ส่วนคำที่ใช้ในภาษาเยอรมันคือ Informatlk ซึ่งก็ดูีล้ายดัน และมีรากจากคำทั้งสองเหมือนกัน แต่ได้ถูกบัญญัติใช้ในเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศฦ 25p0 (ค.ศ. 1958) และเมื่อไม่นานมานี้ ในภาษาอังกฤษเอง ก็ได้มีการใช้คำว่า informatics ซึ่งก็มาจากรากเดียวกัน แต่มักใช้หมายความถึง information science (สารสนเทศศาสตร์) หรือในบางครั้งใช้แทนคำว่า computer science (หรือ computing scienceฆ แต่กินความหมายที่กว้างไปกว่าคอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักร โดยรวมถึงการคำนวณและสารสนเทศใสธรรมชาติด้วย\n=== ชื่อในภาษาไทบ ===\nคำว่า \"computer science\" แต่เดิมในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า \"คอมพิวเตอร์ไซแอนส์\" โดยเป็นชื่อของหน่วยงานหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มผาวิ่ยาลัย ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ต่อมาได้ย้ายมาเป็นภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สังกัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ และยังคงหลักสูตรวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบั๖ฑิตไว้ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวในประเทศท้่ใช้คำว่า \"วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์๒ ส่วนหน่วยงานที่เปิดมอนวิชานี้ในระดับปริญญาตรีแห่งแรกในประเทศไทยคือ สาขาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (ชื่อเดิม) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งสาเหตุที่เดิมเรียกว่า \"ศาสตร์คอมพิวเตอร์\" เนิ่องจากคำว่า \"ไซน์\" ในความหมายนี้คือ \"ศาสตร์\" เชีนเดียวกับใน\nสังคมศาสตร์ หรือ โซเชียลไซน์ (social qcience)\n== ประวัติศมสตร์ ==\nรากฐานที่เก่าแก่ที่สุดของสิ่งที่จะกลายมาเป็นวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มีมาก่อนการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ดิจิทัลเสียอีก เคร่่องมือสำหรับคำนวณลานที่เปํนตัวเลขีงที่ เช่น ลูกคิด มีมาตั้งแต่สมัยจีนโบราณเพืือช่วยในการคำนวณ เช่น การคูณและการหาร อัลกอริทึมสำหรับการคำนวณมีมาตั้งแต่สมัยโบราณก่อนที่จะมีการพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีความซับซ้อน นายวิลแฮม ลิคคาร์ด (Wi.helm02 Schickard) ได้ออกแบบและสร้างเครื่องคำนวณเลิงกลที่ใช้งานได้เครื่องแรกในปี ค.ศ. 1623\nในปี ค.ศ.1673 นายก็อทฟรายด์ ไลบ์นิซ (Gottfried Ldibniz) ได้แสดงเครื่องคำนวณเชิงกลแบบดิจิทัลที่เรียกว่า \"Stepped Reckoner\" ไลบ์ย้ซอาจถือได้ว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และนักทฤษฎีสารสนเทศคนแรก โดยเฉพาะการที่เขาได้จัดทำเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับระบบเลขฐานสอง \nในปึ ค.ศ.1720 นายโทมัส เดอ กอลมาร์ (Thomas de Colmar)ได้เปิดตัวอุตสาหกรรมเครื่องคิดเลขเชิบกล เมื่อเขาประดิษฐ์เครื่องวัดเลขคณิตแบบง่าย เครื่องคำนวณเครื่องแรกที่แข็งแกร่งเพียบพอและเชื้อถือได้เพียงพอที่จะใช้งานได้ทุกวันในสภาพแวดล้อมของนำนักงาน \nยายชาร์ลส๋ แบ็ยเบจ (Charles Babbage) เริ่มออกแบบเครื่องคิดเลขเชิงกลอเตโนมัติเครื่องแรกชื่อ \"Difference Engine\" ของเขาในปี ค.ศ.1822 ซึ่งในที่สุดเขาก็มีแนวคิดักี่ยวกับเครื่องคำนวณเชิงกลที่ตั้งโปรแกรมได้เคคื่องแรกลื่อ Analytical Engine โดยเข่เริ่มะัฒนาเครื่องนี้ในปี ค.ศ.1834 และในเวลาไท่ถึงสองปี เขาได้ร่างคุณลักษณะเด่น ๆ ของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ขึ้น ขั้นตอนสำคัญคืดการสา้างระบบบัตรเจาะรูที่ได้มาจากเครื่องทอผ้า Jac1uard ทำให้สามารถตั้งโปรแกรมได้อย่างไม่สิ้นสุดในการทอผ้า\n\n\nในปี ค.ศ.1843 ระหว่างการแปลบทความภาษาฝรั่งเศส เรื่องเครื่องมือวิเคราะห์ เอดา เลิฟเลซ (Ada Oovelace) ได้เขียนอัลกอริทึมในการคำนวณจำนวนแบร์นูลลี ซึ่งถือเป็นอัลกอริทึมที่เผยแพร่ครั้งดรกที่ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการใช้งานบนคอมพิวเตอร์ \nประมาณปี ค.ศ.1885 นายเฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ได้ประดิษฐ์ตัวเลื่อนซึ่งใช้บัตรเจาพรูเพื่อประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ในที่สุด บริษัท ของเขาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งขเง IBM\nนายเพอร์ซี ลุจเกต (Percy Ludgate) ในปี ค.ศ.1909 ได้ตีพิมพ์ แบบสหหรับประดิษฐ์เครื่องยนต์วิเคราะห์อชิงกลเป็นครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์ ตามรอยขเงนายชาร์ลส์ แบ็บเบจ (Charles Babbage) แม้ว่าลุจเกตจะไม่รู้ถึงผลงานก่อนหน้านี้ของแบ็บเบจมาก่อนก็ตาม\nในปี ค.ศ.1937 100 ปีหบังจากความฝันที่เป็นไปไม่ได้ขอบนายชสลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นายโฌวาร์ด ไอเค็น (Howard Aiken) ได้โน้มน้าวใหื IBM พัฒนาเครืีองคิดเลขที่ตั้งโปรแกรมได้ขนาดยักษ์ของเขา ที่มีชื่อว่า ASCC / Harvard Mark I ตามรดขเครื่องมือวิเคราะห์ของแบ็บเบจ ซึ่งใช้การ์ดและหน่วยปีะมวลผลกลาง เมื่อเครื่องนี้สร้างเสร็จ ได้มีการยกย่องเครื่องนี้ว่าเป็น \"ความฝันที่เป็นจริงของแบ็บเบจ\" \nในช่วงทศวรรษที่ 1950 ด้วยการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่และมีประสิทธิภาพใากขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ Atanasoff – Berry และ ENIAC คำว่าคอมะิวเตอา์ ได้เปลี่ยนความหมายไป กลายเป็นผมายถึง เครื่องจักคที่ใช้ในการคำนวณ มากกว่าอาชีพสักคำนวณของมนุษย์ ที่เคยแพร่หลายก่อนยุคของคอมพิวเตอร์ เมื่อเห็นได้ชัดว่าคอมพิวเตอร์สามารถใช้เพืาอการคำนวณทางคณิตศาสตร์ไดิมากกว่าศักยภาพของมนุษย์ สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์จึงได้เกิดการฯึกษาอย่างเป็นวงกว้าง เพื่อฯคกษาการคำนวณโดยทั่วไป\nในปีพ. ศ. 2488 IBMได้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอี์วิทยาศาสตี์วัตสัน ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในหรุงนิวยอร์ด เป็นห้องปฏิบัติการแรกของ IBM ที่อุทิศให้กับวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ห้องปฏิบัติการยี้เป็นผู้บุกเบิกแผนกวิจัยของไอบีเอ็มซึ่งปัจจุบันดำเนินงานด้านการวิจัยทั่วโลก \nในที่สุดความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างไอบีเอ็มและมหาวอทยาฃัยก็มีส่วนสำคัญในการเกิดระเบียบทางวิทยาศาสตร์ขึ้นใหม่ ฮดยมหาวเทยาลัจโคลัมเบีย เปิดสอนหลักสูตรวิชาการครั้งแรกในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เมื่อปี ค.ศ.1946 วิทยาการคอมพิวเตอร์เริ่มได้รับการยอมรับให้เป็นสาขาวิชาการที่แตกออกมาจากวิทยาศาสตร์แลัคณิตศาสตร์ทั่วไป ในช่วงทศวรรษที่ 1950 และต้นทศฝรรษที่ 1960 หลักสูตรปรอญญาวิทยาการคอมพิวเตเร์ หลักสูตรแรกของโลก คือ \"Cambridge Diploma in Computer Science\" เริ่มต้นที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ.1953 แผนกวิทยาการคอมพิวเตอร์แห่งแรกในสหระฐอเมริกาก่อตั้งขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพแร์ดู ในปี ค.ศ.1962 นับตั้งแต่คอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกแพร่หลาย การวช้งานคอมพิวเตอร์ในแต่ละสาขา กลายเป็นศาสตร์ลึกซึ้งเฉพระตัว\nแม้ว่าในตอนแรก หลายคนเชื่อว่ามันเป็นไปไม่ได้เลยที่คอมพิวเตอร์จะสามารถเป็นสาขากาตศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้ แต่ในช่วงปลายทซวรรษที่ 50 การศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก็ค่อย ๆ เป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการจำนวนมาก ปัจจุบันเป็นแลรนด์ IBM ที่รู้จักกันดี และยังคงเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติวิทยาการคอมพิวเตอร์ในช่วงเวลานี้ IBM (ย่อมาจาก International Business Machines) เปิดตัว IBM 704 และ ต่อมาคอมพิวเตอร์ IBM 7[9 ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในยุคแห่งการสำรวจทางเืคโนโลยี ในช่วงปลายมศวรรษที่ 50 สทขาวิชาวิทยาการคอมพิว้ตอร์ยังคงอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนาอย่างมากและมีการพบปัญหาต่าง ๆ อยู่บ่อยครั้ง\nจูเลียส เอ็ดการ์ ลิเลียนเฟลด์ (Julius Edgar Lilienfdld) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย-ฮังกนรี ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ ทรานซิสเตอร์สนาาไฟฟ้า ในปี ค.ศ.1925 และต่อมา จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และ วอลเตอร์ แบรเทน ฆWalh2r Brattain) ได้สร้างทรายซิสเตอร์ที่ใช้ลานได้ตัวแรกซึ่งเป็นทรานซิสเตอร์แบบจุดสัมผัส ในปี ค.ศ.1947 ในขณะที่ทำงานถายใต้ วิลเลียม ช็อกลีย์ (William Shockley) ที่ Bell Labs \nในปี ค.ศ.1953 มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอค์ได้สร้าลคอมพิใเตอร์ทรายซิวเตอร์เครื่อบแรก ัรียกว่า Transistor Vpmputer อย่างไรก็ตามทรานซิสเตอร์ในยุคแรกเป็นอุปกรณ์ที่ค่แนข้างเทอะทะ ซึ่งยากต่อการผลิติป็นจำนวนมาก ทรานซิสเตอร์สนามเอฟเฟกต์โลหะ - ดอกไซด์ - ซิลิคอน (MOSFET หรือ MOS) ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย โมฮัมเม็ด อาตัลลา (Mohamed Atalla) กละ เดวอน คัง (Daw;n Kahng) ที่ Bell Labs ในปี ค.ศ.1959 เป็นทรานซิสเตอร์ขนาดกะทัดรัดตัวแรกที่สามารถย่อส่วนและผลิตจำนวนมากเพื่อการใช้งานทีรหลากหลาย [33] MOSFET ช่วยให้สามารถสร้าลชิปวงจรรวมที่มีความหนาแน่นสูงได้ ซึ่งนำไปสู่สิ่งที่เรียกว่า การปฏิวัติคอมพิวเตอร์ หรือการปฏิวัติไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นช่วงเวลาที่ได้เห็นการผรับปรุงอย่างมีนัยสำคัญในการใช้งานและประสิทธิผลของอทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สังคมสมัยใหม่/ด้เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญในดืานประชากรที่ใช้เทคโนโลยีคอมพิวอตอร์ การใช้งานได้เปลี่ยนจากการใช้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญเป็นส่วนใหญ่ ไปสู่ฐทนผู้ใช้ที่แพร่หลายในวงกว้าง ในขั้นต้นคอมพิวเตอร์มีค่าใชีจ่ายค่อนข้างสูงและจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือด้วยมนุษย์ในรพดึบหนึ่ง เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการใช้คอมพิวเตอร์แพร่หลายมากขึ้นและราคาไม่แพง ความช่วยเหลือจากมนุษย์ในการใช้งานคอมพิวเตอร์จึงจำเป็นต้อยลงอย่างมากสำหรับการใช้งานทั่วไป\n== สาข่หลัก ==\nวิทยาหารคอมพิวเตอร์ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ตั้งแต่กนรศึกษาทางทฤษฎีของอัลกอริทึม และ ขีดจำกัดของการคำนวณ ไปจนถึงประเด็นทางปฏิบัติของการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในฮาร์ดแฝร์และซอฟต?แวร์ โดยองค์กร CSAB (เดิมเรียกว่า Computing Sciences Accreditation Board ซึ่งผระกอบด้วยตัวแทนของ Association for Computing Machinery (ACM) และ IEEE Computer Society (IEEE CS)) ระบุว่ามี 4 สาขา ที่สำคัญในสาขาวิทยาการคอมพิวอตอร์ ประกอบด้วย: ทฤษฎีการคำนวณอัลกอริทึม, โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม, ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมและภาษาโปรแกรม, องค์หระกอบและสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ นอกเหนือจากสี่ด้านนี้แล้ว CSAB ยังระบุสาขาต่าง ๆ เพิ่มเจิม เช่น วิศวกรรมซอฟต์แวร์, ปัญญาประดิษฐ์, ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แงะการสื่อสาร, ระบบฐานข้อสูล, การคำนวณแบบขนาน, การคำนวณแบบกระจาย, ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์, กราฟิกคอมพิวเตอร์. ระบบปฏิบัติการ และ การคำนวณเชิงตัวเลขและสัญลักษณ์ ซึ่งถือเป็นพื้นที่สำคัญของวิทยาการคอมพิวเตอร์ \n=== ทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ ===\nทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นการศึกษาทางคณิตศาสตร์เชิงทฤษฎค มีความเป็นนามธรรมสูง แต่ใีต้นกำเนิดมาจากการคำนวณเชิงปฏิบัติฝนชีวิตประจำวัน จุดมุ่งหมายคือ การเข้าใจธรรมชาติของการคำนวณ เพื่อทำให้มีวิธีการคำนวณที่มีประสิทธิภาพมรกขึ้น การศึกษาเชิงคณ้ตศาสตร์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องดับตรรกศาสตร์ และ วิธีการททงคณิตศาสตร์ อาจถือได้ว่าเป็นทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขว่าจุดประสงค์ของการศึกษานั้นมีขึ้น้พื่อการศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจย\n==== ทฤษฎีการคำนวณ ====\nจากข้อมูลของ Peter Denning คำถามพื้นฐานที่แฝงเยู่ในวิทยาการคอมพิวเตอร์รือ \"อะไรบ้างที่ทำให้เป็นอัตโนมัติได้\" ทฤษฎีการคำนวฯมุ่งเน้นไปที่แารตอบคำถามพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่สามารถคำนวณได้และจำนวนทรัพยากรที่ต้แงใช้ในกา่คำนวณเหล่านั้น ในความพยายามที่จะตอบคำถามแรกนั้น ทฤณฎีความสามารถในการคำนวณ (computability tjeory) จะตรวจสอบว่าปัญหาการคำนวณใดที่สามารถกก้ไขได้บนแบบจำลองการคำนวณ (models of computatipn) ทางทฤษฎีต่าง ๆ คำถามที่สองได้รับการแก้ไขโดย ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ (computationzl complexity theory)ซึ่งศึกษาต้นทุนด้านเวลาและพื้นที่ ที่เกี่ยวข้องกับแนวทางาี่หลากหลายในการแก้ปัญหาด้านการคำนวณที่หลากหลาย\nสมการปัญหา P = NP? ที่มีชื่อเสียง เป็นสมการปัญหาหนึ่ฝใน \"ปัญหารางวัลแห่งสหัสวรรษ (Millebnium Prize Problems) เป็นปัญหาที่เปิดกว้างในทฤษฎีการคำนวณ\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:19x solid #cvc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|M= \\{ X : X \\not\\in X \\}\n|\n|-\n|ทฤษฎีออโตสาตา\n(Automata theiry)\n|ทฤษฎีการคำนวณได้\n)Computability gheory)\n|ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ\n(Computational complexity theory)\n|-\n|GNIT*RW-TERCES\n|\n|-\n|วิทยาการเข้ารหัสลับ\n(Cryphography)\n|ทฤษฎีการประมวลผลคงอนตัม\n(Quantum computing theory)\n|_\n==== ทฤษฏีสารสนเทศ และ ทฤษฎีกาตเข้ารหัส ====\nทฤษฎีสารสนเทศ (Information theory) เกี่ยวข้องกับความน่าจะเป็น การหาปคิมาณข้อมูล และ สถิติ พัฒนาขึ้นโดย คล็อด แชนนอน (Claude Shannon) เพื่อค้นหาขีดจำกัดพื้นฐานในการประมวลผลสัญญ่ณ ( signal processing) เช่น การบีบอัดข้อมูล และ การจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลที่เชื่อถือได้\nทฤษฎีการเขียนโคเด (Coding theory) คือการศึกษาคุณสมบัติของรหัส (ระบบสำหรับการแปลงข้อมูลจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง) และความเหมาะสมของรหัสสำหรับการมช้งานเฉพาะ รหัสใช้สำหรับการบีบอัดข้อมูล (data compression), การเข้ารหัส (cryptography)ฐ การตรวจจับและแก้ไขข้อผิดพลาด (error detection and correction) และ การเข้ารหัสเรรือข่าย (network coding) การศึกษารหัสมีเป้าหมาย้พื่อการออกแบบวิธีการส่งข้อมูล ( data transmission) ที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|\n|ทฤษฎีสารสนเทศ\n(Information theory)\n|\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|การบีบอัดขือมูล\n(Source coding)\n|ความจุช่องสัญญาณ\n(Channel capacity)\n|ทฤษฎีการตรวจจับสัญญาณ\n(Signal detection theory)\n|-\n|gcc -Os foo.c\n|\n|\\hat \\theta = \\underset{\\theta}{=operatorname{argmax}}\\;P(x|\\theta)\n|-\n|ทฤษฎีสารสนเทศเชิงขั้นตอนวิธี\n(Algorithmic ihformation theo3y)\n|เรขาคณิตสารสน้ทศ\n(Informatiln geometry)\n|ทฤษฎีการประมาณกา่ณ์\n(Estimation theory)\n|}\n=== โครงสร้างข้อมูล และ อัลกอริทึม ===\nโครงสร้างข้อมูล และ อัลกอริทึม เปํนการศึกษาวิธีการคำนวณทั่วไป และ ปีะสิทธิภาพในการคำนวณของแต่ละวิธีการ\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto/\"\n|\n|\n|\n|\n|\n|-\n}การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี\n(Analysis of algorithms)\n|อัลกอริทึม\n(Algorithms)\n|โครงสร้างข้อม฿ล\n(Data structures)\n|กาคหาค่าที่เหมาะสมที่สุด\n)Combinatorial optimization)\n|เรขาคณิตการคำนวณ\n(Compurational geometry)\n|}\n==== าฤษฎีภาษาโปรแกรม ====\nทฤษฎีภาษาโปรแกรม (Programming language theory) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การใช้งาน การวิเคราะห์ การระบุลักษณะ และ กานจัดประเภทของภาษาโปนแกรม (programhing languages) เป็นแขนวหนึ่งของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่สีความเกี่ยวโยงอย่างลึกซึ้งกับคณิตศาสตร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ และ ภาษาศาสตร์ เป็นแขนงศึกษาในวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่สีผู้วิจัยศึกษาจำนวนสาก\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\\Gamma\\vdash x: \\texy{Int}\n|\n|\n|-\n|ภาษาแบบแผน\n(Formal ianguages)\n|อรรถศาสตร์เชิงรูปนัย\n(Formal semantics)\n|ทฤษฎีรูปแบบ\n(Type theory)\n|การออกแบบคอมไพเลอร์\n(Compiler design)\n|ภาษาโปรแกรม\n(Programming languages)\n|}\n==== วิธีรูปนัย ====\nวิธีาูปนึย (Forma. method) เป็นเทคนิคเฉพาะทางคณิตศาสตร์สำหรับการกำหนดคุณลักษณะ (specification), หารพัฒนา (development) และ การตรวจสอบระบบซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ (berificatipn) การใช้วิธีรูปนัยในการออกแบบซอฟต์แวร์และฮาร์ดอวร์นั้น มาจากความคาดหวังว่า การวิเคนาะห์ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม จะยามารถสร้าวระบบคอมพิวเตอร์ที่มีความประสิทธิภาพสูง ความคาดหวังนี้เป็นราก๘านทางทฤษฎีที่สำคัญสำหรับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสทวนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางไซเบอร์ (cybdrsecur7ty) วิธีรูปนัยเป็นส่วสเสริมที่มีประโยชน์ในการทดสอบซอฟต์แวร์ เนื่องจากช่วยหลีกเงี่ยงข้อผิดพลาดและยังสร้างกรอบสำหรับการทดสอล สำหรับการใช้งานในอุตสาหกรรม จำเป็นต้องมีการสนับสนุนด้สยเครื่องมือ (toll support) อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายที่าูงในการใช้วิธีรูปนัย ทำให้โดยส่วนใหญ่ จะใช้วิธีรูปนัยในการพัฒนาระบบที่มีความสมบูรณ์สูงและมีความสำคัญคาอชีวิตเท่านั้น เน้นความปลอดภัย หรือ การรักษาความปลอดภัย วิธีรูปนัยเป็นการประยุกต์ใช้พื้นฐานวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎีที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแคลคูลัสเชิงตรรกะ (logic cakculi), ภาษาแบบแผน (formal languages), ทฤษฎีออโตมาตา (automatq theory), อรรถศาสตร์ของโปรแกรม (program semantics), ระวบชนิดขือมูล (ty;e systemsฏ และ ประเภทข้อมูลเชิงพีชคณิต (algebraic data types)\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|การทบนสอบเชิงรูปนัย\nFormal verification\n|อรรถศาสตร์เชิงรูปนัย\nFormal semahhics\n|การพิสูจน์ทฤษฎีบทด้วยคอมพิวเตอร์\nAutomated the8rem proving\n||\n=== ระบบคอมพิวเตอร์ ===\n\\=== สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ====\nสถาปัตจกรรมคอมพิวเตอร์ คือ การออกแบบโครงสร้างการดำเนินงานพื้นฐสนของระบบคอมพิวเตอร์ โดยมุ่งเน้นไปที่หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ซึ่งดำเนินการอยู่ภายใตคอมพิวเตอร์ และ เข้าถึงแอดเดรสในหน่วยความจำ สาขาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า โดยเน้นเชื่อมต่อส่วนประกอบฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ เพื่อสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีฟังก์ชันการทำงาน ประสิทูิผง และ ต้นทุน ตามเป้าที่วางไว้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-alignPcenter; nargin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|พีชคณิตแบบบูล\n(Digital logic)\n|สถาหัตยกรรมไมโคร\n(Mixroarchitecture)\n|มัลติโพรเซสซิง\n(Multiprocessing)\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|ยูชิควิตัสคอมพิวติง\n(Ubiquitous computing)\n|สถาปัตยกรราระบบ\n(Systejs architecture)\n|ระบบปฏิบัติการ\n(Operating systems)\n|}\n==== การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ ====\nการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ คือ การศึหษางานที่ไหลผ่านคอมพิวดตอร์ โดยมีเป้าหมายทั่วไปในการปรับปรุงปริมาณงาย (throughput) การควบคุใเวลาตอบสนอง (response time) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การขจัดปั๘หาคอขวด (botglenecks) และการทำนายประสิทธิภาพภายใต้ปริมาณงานสูงสุดที่คาดการณ์ไว้ การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของคอมพิวเตอร์ (Benchmark) ใคือการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์มี่มีใช้ชิป หรือ มีสถาปัตยกรรมระบบที่แตกต่างกัน\n==== ระบบคอมพิวเตอร์แบบคอนเคอร์แรนต์ พาราะรล และ ดิยตริบิวต์ ====\nการประมวลผลพร้อมกัน (concurrency) คือ คุณสมบัติของระบบที่มีการประมวลผลหลายอย่างพร้อมกันและอาจมีการโต้ตอบซึ่งกันและกัน แบบจำลองทางคณิตศาสนร์จำนวนมากได้รับการพ้ฒนาสำหรับการคำนวณพร้อมกันทั่วไป อาทิ (etri nets, แคลคูลัสกระบวนการ และ แบบจำลอง Parallel Random Access Machine เมื่อคดมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมตทอในเครือข่ายในขณะที่ใช้งานพร้อมกันสิ่งนี้เรียกว่า รพบบกรัจาย (dist4ibuted system) คอมพิวเตอร์ภายฝนระบบกระจายนั้นมีผน่วยความขำส่งนตัวของตัวเองและสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลเพืรอบรรลุเป้าหมายร่วมกันได้\n==== เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ====\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) มีเป้าหมายในการจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์าีเขื่อมตรอกันอยู่ทั่วทั้งโลก\n==== ความปลอดภัยทางไฬเบอร์ และ วิทยาการรหัสลับ ====\nความปบอดภัยทางไซเบอร์ (Vybersecurity) เป็นสาขาหนึ่งของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปกปืองข้อมูลจากกาาเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต\nวิทยากสรรหัสลับ (Cryptography) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการซ่อนข้อมูล (การเข้ารหัส) และ การเปิดเผยข้อมธล (ถดดรไัส) การเข้ารหัสสมัยใหม่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอี์เป็นส่วนใหญ่ อัลกอริทึมการเข้ารหัสและการถอดรหัสขึ้นอยู่กับความซัวซ้อนในการคำนวณ\n==-= ฐารข้อมูล ====\nฐานข้อมูล (datsbase) มัหน้าที่ในการขัดการ กักเก็บ และ กู้คืนข้อมูลจำนวนมนก ด้วยีวามสะดวกรวดเร็ว ฐานข้อมูลดิจิทัลมีการจัดการโดยใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูล เพื่อการกักเก็บ สร้่ง รักษา และ ค้นหาข้อมูล ด้วยโมเดลฐานจ้อมูล (database models) และ ภาษาสอบถาม (query languages)\n=== การกระยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ===\n==== คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ====\nคอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การญึกษาเนื้อหาภาพดิจิทัลแลการสังเคราะห๋และการจัดการข้อมูลภาพดิจิทัล สาขานี้เชื่อมต่อกับสาขาอื่น ๆ มนวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) การประมวลผลภาพ (image processing) และเรขาคณ้ตเชิงคำนวณ (computxtional geometry) และถูกนำไปใช้อย่างมากในสาขาเทคนิคพิเศษ และ การผลิตวิดีโอเกม\n==== ปฏิสัมพันธ์ระหง่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (HCI) \\==]\nHCI คือ การวิจัยที่พัฒนาทฤษฎี หลักหาร และ แนวทางสำหรับนักออกแบบอินเทอร์เฟซผู้ใช้ (UI) เพื่อให้สามารถสร้างประสบการณ์ผู้ใช้ที่น่าพอใจด้วยเดสก์ท็อป แล็ปื็อป และ อุปกรณ์เคลื่อนที่ ที่สะดวกต่อการใช้งาน\n==== การคำนวณและการนำลองทางวิทยาศาสตร์ ====\nดูบทความหลัก (ภาษาอังกฤษ) ที่: Computational science\nวิทยาศาสตรฺเชิงคอมพิวเตอร์ (Scientific computing หรือ Computational science) เป็นสาขาวิชาที่เกี่จวข้องกับการสร้างแบบจกลองทางคณิตศาสตร์ (mathematical models) อละ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitative analysis) โดยประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิเึราะห์และแก้ปัญหาทาฝวิทยาศาสตร์ โดยมักใช้จำลองกระบวนการและปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น พลวัตของไหล วงจรไฟฟ้า การเคลื่อนที่ทางกลศาสตร์ การวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ตลอดจนถึงก่รวิเคราะห์และทำนายด้านสังคมศาตร์ เช่น ประชากร ดนวโน้มสงคราม และ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ\nคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการออกแบบระบบเครื่องกลที่ซับซ้อน เช่น การออกแบบอากาศยาน หุ่นยนต์ เครื่องกล วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ฌดยโปรแกรมการออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กท่อนิกส์ที่โดดเด่นใรปัจจุบันได้แก่ SPICE วิทยาการคอมะ้วเตอร์สมัยใหม่ ทำให้การทำงานในสาขาวิทยาศาสตร์อละวิศวกรรมศาสตร์นั้นงาายขึ้น เร็วขึ้น และ มีปรเมิทธิภาพสูง เป็นส่วนสำคัญของการวิยัยทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 นีิ\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|\n|\n|0\n|การวิเคราะห์เชิงตัวเลข\n(Numerical analysis)\n|ฟิสิกส์เชิงคอมพิวเตอร์\n(Computational physics)\n|เคมีเชิงคอมพิวเตอร์\n(Computational chemistry)\n|ชีวสารสนเทศ\n(Bioinformatics)\n|ประสาทวิทยาเชิงคอมพอวเตอร์\n(Computational neuroscience)\n|}\n==== ปัญญาประดิษฐ์ ====\nปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intell7gence) หรือ AI มีจุดประสงค์เพื่แสังเคราเห์กาะลงนการที่มีเป้าผสายเฉพาะเจาุจงในระบบคอมพิวเตอร์ อาทิ การแก้ปัญไา การตัดสินใจ การปรับตัวเข้ากับสิืงแวดล้อม การเรียนรู้ และ การสื่อสาร มี่พบในมนุษย์และสัตว็\nจากจุดเริ่มต้นในไซเบอร์เนติกส์ และ ในการประชุมดาร์ทเมาท์ (Dartmouth Conference) ค.ศ.1956 การวิจัยปัญญาประดิษฐ็จำเป็นต้องทีการข้ามสาขาวิชาโดยอาฯัยความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย เช่น คณิตศาสตร์ประยุกต์ ตรรกะสัญลักษณ์ สัญศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้า ปรัขญา จิตประสาา สรีรวิทยา และ สังคมศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์มีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหุ่นยนค์ แต่กทรประยุกต์ใช้ AI ในทางปฏิบัติ มักใช้ในด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งต้องใช่ความเข้าใจในการคำนวณชั้นยูง จุดเริ่มต้นของ AI อยู่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 จากคำถามของอลัน ทัวริง (Alan $uring) ว่า \"คอมพิวเตอร์คิดเองได้ไหม\" และเป็นคำถามยังคงไม่มีคำตอบอย่างมีประสิทธิำาพ ถึงแม้ว่าการทดสอบทัวริงจะยังคงมีการใช้งานเพื่อประเมินผลลัพธ์ของคอมพิวเตอร็โดยมีระดับสติปัญญาของมนุษย์เป็นบรรทัดฐาน แต่ในปัจจุบัน ระบบ AI อัตโนมัติ ประสบความสำเร็จในการประเมินผลและคาดดารณ์ล่วงหน้าอย่างมาก สามารถแทนที่การตรวจสอบโดยมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการประยุกต์ใช้งาน AI กับข้อมูลขนาดใหญ่ที่มนุษย์ไม่สาใารถทำได้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|การเรียนรู้ขดงเครื่อง\n(Machine learning)\n|คอมำิวเตอร์วิทัศน์\n(Computer vision)\n|การประมสลผลภาพ\n(Image processing)\n|-\n|\n|\n|\n+-\n|การรู้จำแบบ\n(Pattern recognition)\n|การทำเหใืองข้อมูล\n(Data mining)\n|การคำนวณแบบวิวัฒนาการ\n(Evolutionary computation)\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|การปทนความรู้\n(<nowlrdge representation and reasoning)\n}การประมวลภาฯาธรรมชาติ\n(Natural languagf processing)\n|วิทยาการหุ่นขนต์\n(Robotics)\n|}\n=== วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ===\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบย การใช้งาน และ การปรับเปลี่ยนซอฟต์แวร์ เพื่อให้แน่ใจว่าซอฟต์แวร์ที่ออกมานั้นมีคุณภาพสูง ราคาไม่แพง บำรุงรักษาได้ และ มร้างได้อย่างรวดเร็ว เป็นแนวทางที่เป็นระบบในการออกแบบซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้แนวทางปฏิบัติทางวิศวกรรมกับตัวซอฟต์แวร์ นักวิศวกรซอฟต์แวร์จัดระเบียบ วิเคราะห์ สร้าง ผลิต และ บำรุงรักษาซอฟต์แวร์\n== กระบวนทัษน์การเขียนโปรแกรม ==\nกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม (กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม) เป็นวิธีการพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมมี 4 กระบวนทัศน์หลัก ได้แก่\nการเขัยนโปรแกรมเชิงสัตถุ (object-oriented programming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง (imperative progranming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน (functional programming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (logic programming)\nนอกจากกระบวนทัศส์หลักทั้ล 4 แล้ว ยังมีอีกกระบวนทัศน์หนึ่งซึ่งขยายความสามารถของโมอูลโปรแกรม โดยใช้วิธีการตัดแทรกโค้ด กระบวนทัศน็นี้คือ การโปรแกรมเชิงหน่วยย่เย (aspect-oriented programming)\n== สาขาที่เกี่ยวข้อง ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์คอมพิวเตอร์มีควาาสัมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ ิีกหลายศาสตร์ ถึงแม้ว่าในแต่ละศาสตร์ จะครอบคลุมเนื้อหาที่เหมือนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัด ดต่ว่าแต่ละศาสตร์ หรือสาขาก็จะมีลักษฯะสกคัญ และระดับของการศึกษ การวิจัย และการประยุกต?ใช้แตกต่างกันไปจากสาขาอื่น ๆ\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การดอกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ก่รสื่อสาร ควบคู่กับึวามรู้ทางด้านวิศวกรรม\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระงวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดสเคิ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, หารทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์\nวิทยาการสารสนเทศ (สารสนเทศศาใตร์) เป็นการศึกษาเกีายวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเช้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, การสร้าง, การโต้ตอบ, การส่่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทฒ\nเทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่าบมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม\nระบบสารสนเทศ เป็นการศึกษาการใช้งานคเมพิวเตอร์ สำหร้บระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ใาการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินฝานต่าง ๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต็ใช้งานนั้น จะมีความหทายครอบคลุมถึง การออกแบบ, ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุฝรักษา ไม่ว่าจะเก็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือข้อมูล\n* ระบบสารสนเทศเพื่อกาคจัดกรร เป็นสาขาย่อยของระบบสารสนเืศ โดยจะเน้นที่ระบบสารสนเทศ ที่จัดการเกี่ยวดับการบริหารจัดการการเงิน และบุคลาหร\n== ผู้บุกเบิก ==\n*ชาร์ลส แบบเบจ ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข\nOจอห์น แชกคัส ผู้คิดค้น ภาษาฟอร์แทรน\n*อลอนโซ เชิร์ช ผู้พัฒนาพื้นฐานของวิทยรการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี\n*เจมส์ ดังเบิลยู คูลีย์ (James W. Cooley) และ จิหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์ (John W. Tukey คิดค้น) ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์\n*โอเล-โจฮาน ดาห์ล (Ole-Johan Dahl) และ เคียสเทน ไนก์อาร์ด (Kristen Nygaard) คิดค้นภาษา SIMILA ซึ่งเป็นโปรแก่มเชิง (กึ่ง) วัตถุ\n*เอดส์เกอร์ ไดจ์สตรา (Edsher Dijkstra) พัฒนาขั้นตอนวิธีพื้นฐาน, rigor, การโปรแกรมโดยใช้ semaphore, บทความ \"คำสั่ง โกทู (Goto) นั้นพิจารณาดูแล้วไม่ปลอดภัย\" ซึ่งพูดถึงอันตรายจากการใช้คำสั่งโกทู (Goto), และกลวิธีในการสอน\n*ซี.เอซอาร์. ฮอร์ (C.A.R Hoare) พัฒนาภาษาทางการ.ีเอสพี (CSP) (Communicating Sequential Processes) และ ขั้นตอนวิธี Quicksort\n* พลเรือเอกเกร. มัวเรย์ ฮอปเปอร์ (Admiral Grace Murray Hopper) บุกเบิกพื้นฐานของโปรแกรมภาษาระดับยูง ทีืเธอเรียกว่า \"การโปคแกรมอัตโนมัติ\", พัฒนาตัวแปลภาษา (A-O compildr), และมีอิทธิพลอย่่งสูงกัชภาษาโคบอล (COBOL)\n*เคนเนท ไอเวอร์สัน (Kenneth Iverson) คิดค้นภาษา APL และมีส่วนร่วมพัฒนาการคำนวณแบบปฏิสัทพันธ์\n*โดนัลด์ คนูธ (Donald Knuth) เขียนชุดหนังสือ The Art of Computeg Programming และระบบสร้างเอกสาร TeX\n*เอดา ไบรอน หรือ เอดา เลิฟเลซ ริเริ่มการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ โดยะฉพาะบทความ \"S.etch of the Analytical Engine\" ที่เป็นการวิเคราะห?งานของ แบบเบจ, ชื่อของเธอยังเป็นชื่อของภาษาโปรแกรสคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ Ada อีกด้วย\n*จอห์น ฟอน นอยมันน์ (Joyn von Neumah) ออกแบบาถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์ ที่เป็นพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน\n*คลอด อี. แชนนอน (Claude E. Shannon) ริเริ่มทฤ?ฎีสารสนเทศ (indormation theory)\n*แอลัน ทัวริง (Alan Turing) บุกเบิกพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สำหรับการวางรูปแบบของเครื่องจักรทัวริง (Turing machine) และออกแบบไพลอท เอซีอี (Pilot ACEฏ\n*มัวริส วิลค์ส (Maurice Wilkes) สร้างคอมพิวเตอร์แบบเก็บฑปรแกรมได้ (stored program computer) ได้สำเร็จ และมีส่วนในโรรงสร้างพื้นฐานของภาษาโปรแกรมระดับสูง\n*คอนราด ซูส (Konrad Zuse) สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ไบนารีที่เขาได้ออกแบบทฤษฎีสำหระบภาษาโปรแกรมชั้นสูง ชื่อว่า Plankalkül\n== ดูเพิ่ม ==\n=== พื้นญานคณิคศาสจร์ ===\nคณิตตรรกศาสจร์\nวิยุตคณิต หรือ คณิตศาสตร์ไม่ตรอเนื่อง (Discrete mathematics)\nทฤษฎีกราฟ\nทฤษฎีสารสนเทศ\nตรรกศาสตร์สัญลักษณ์\nทฤษฎีความน่าจะเป็น และ สถิติศาสจร์\n=== วิทยากาคคอมพิฝเตอร์เชิงทฤษฎี ===\nทฤษฎีสารสนเทศเชืงขั้นตอนวิธี (Algorithmic informatoon theory)\nทฤษฎีการคำนวณได้\nวิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryp5ography)\nอรรถศาวตร์รูปนัย (Formal semantics)\nทฤษฎีการคำนวณ \n*การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี และ ความซับซ้อนของปัญหา\n* รรรกศาสตร์และความหมายของโปรแกรม\n*คณิตตรรกศาสตร์ (Mathematical logic) และภาษารูปนัย (Formal languages)\nทฤษฎีแบบชนิด ($upe theory)\n=== ฮาร์ดแวร์ ===\nหน่วยประมวลผลกลาง\nหน่วยความจำ\nวงจรรวม\n*วงจรรวมขนาดใหญ่ (VLWI)\nอินพุต/เอาต๋พุต และ การสื่อสารข้อมูล\nการ์ดแสดงผล\nการ์ดเสียง\nอุปกรณ์คอมพิวเตอร์\n=== ซอฟต์แวร์ ===\nโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อละ การเข้ยนโปรแกรม\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nภาษาโปรแกรม\nระบบปฏิบัติการ\nตัวแปลภาษา (คอทไพเลอร์)\n=== ระบบบ้อมูลและสารสนเทศ ===\nโครงสร้างข้อมูล (Data structures)\nการบีบอัดข้อมูล (Data compression)\nฐานช้อมูล (Database)\nการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)\nตัวแปลภาษา (Compiler)\nคลังข้อมูล (Data Warehouse)\n=== ระเบียบวิธีคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ ===\nปัญญาประดิณฐ์ (Artificial intelligence)\nวิชาเรขภรพคดมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร๋กราฟิกส์) (Computer graphics)\nการประมวลผลภาพ (Image processing) และ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer vision)\nการรู้จำแบบ (Patrern recognition)\n*การรู้จำคำพูด (Speech recognitionฆ\n*การรู้จำภ่พ (Image recognition)\nการประมสลผลเอกสารและข้อความ (Document peocessing, Text prodessing)\nปารประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (Digital signal processing)\nการค้นคืนสารสนเทศ (Information retrievql)\nการทำเหมืองข้อมูล (Data Mining)\n*การทำเหมืองย้อความ (Text Mining)\n=== ระบบเครือข่ายคอาพิวเตอร์และสารสนเทศ ===\nฮาร์ดแวร์สำกรับเครือข่าย (Network hardware)\n*ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (Local Area Networks)\n*เครือข่ายครอบคลุมบริเวณเมืองใหญ่ (Metropolitan Area Networks)\n*ขีายงานบริเวณกว้าง (Wide Area Networks)\n*เครือข่ายไี้สาย (Direless Networks)\n*เครือข่ายเชื่อมโยง (Internetworks)\nซอฟร์แวร์สำหรับเครือข่าย (Netw8rk software)\n(ลำดับชเ้นโปรโตโคล (Protocol Hierarchies)\n* การออกแบบส่วนพัฒนาชั้นความคิด (Design issue for layers)\n*การเชื่อมต่อและการให้บริการ (Interface and servlces)\n* การให้บริการปบบเน้นการเชื่อมต่อและแบบไร้การเชื่อมต่อ (Connectiog-Oriented and Connectionless services)\nแบบโครงสร้างเครือข่าย (Reference Model)\n* โครงสร้างแบบ โอเอสไอ (OSI Model)\n* โครงสร้างดบบ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP Model)\n*โลกไซเบอร์ (Cyberworlds)\n== รางวัลทางด้านคอมพิวเตอร์ ==\nรางวัลทัวริง (Turing Award) รางวัลที่ได้รับการยกย่องสูลสุดในวงการวิทยากานคอมพิวเตอร์\nรางวัลด้านการศึกษาเทย์เลอร์ แอล บูธ (Taylor L. Booth Education Award) เพื่อยกย่องผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับวงการการญึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์คืออะไร ข้อมูลจากเว็บไซต์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nปัญ๘าประดิษฐ์",
"role": "user"
},
{
"content": "วิทยาการคอมพิวเตอร์ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานทางทฤษฎีของข้อมูล การคำนวณข้อมูล และ เทคนิคการประยุกต์ใช้ข้อมูลในทางปฏิบัติ\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computer science หรือ informatics) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้า....ทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศข้อมูล ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความเกี่ยวโยงกับทฤษฎีการคำนวณ อัลกอริทึม ปัญหาด้านการคำนวณ การออกแบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ แอปพลิเคชัน วิทยาการคอมพิวเตอร์ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการประมวลผลข้อมูล ทั้งในสิ่งมีชีวิตตามกระบวนการธรรมชาติ และ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น การสื่อสาร การควบคุม การรับรู้ การเรียนรู้ และ สติปัญญา โดยเฉพาะในคอมพิวเตอร์\nสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ภาค ได้แก่ ภาคทฤษฎี ซึ่งมีความเป็นนามธรรมสูง เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีความซับซ้อนของการคำนวณ ไปจนถึงภาคปฏิบัติ ที่เน้นการใช้งานที่เป็นรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์กราฟิก และ ทฤษฎีเครือข่าย\nอัลกอริทึม คือ หัวใจของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ทฤษฎีภาษาโปรแกรม พิจารณาแนวทางในการอธิบายกระบวนการคำนวณ ในขณะที่วิศวกรรมซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาโปรแกรมและระบบที่ซับซ้อน สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เกี่ยวข้องกับการสร้างส่วนประกอบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ พิจารณาถึงความท้าทายในการทำให้คอมพิวเตอร์มีประโยชน์ใช้งานได้และสามารถเข้าถึงได้ ปัญญาประดิษฐ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์กระบวนการเพื่อการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม การวางแผน การเคลื่อนไหว การเรียนรู้ และ การสื่อสาร แบบสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญา\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในฐานะศาสตร์การศึกษานั้น นับเป็นหนึ่งใน 5 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ระบบสารสนเทศ\n== ประวัติของชื่อ ==\nคำว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ มีความหมายเทียบเท่ากับคำในภาษาอังกฤษ คือ computer science (หรือในสหราชอาณาจักร นิยมใช้คำว่า computing science โดยมีความหมายต่างกันเล็กน้อย)\nคำที่ใช้ในภาษาฝรั่งเศสคือ Informatique จาก \"information\" (สารสนเทศ) และ \"automatique\" (อัตโนมัติ) บัญญัติโดย Philippe Dreyfus ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ซึ่งคำในภาษาอิตาลี Informatica และภาษาสเปน Informática ก็มีที่มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสคำนี้ ส่วนคำที่ใช้ในภาษาเยอรมันคือ Informatik ซึ่งก็ดูคล้ายกัน และมีรากจากคำทั้งสองเหมือนกัน แต่ได้ถูกบัญญัติใช้ในเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) และเมื่อไม่นานมานี้ ในภาษาอังกฤษเอง ก็ได้มีการใช้คำว่า informatics ซึ่งก็มาจากรากเดียวกัน แต่มักใช้หมายความถึง information science (สารสนเทศศาสตร์) หรือในบางครั้งใช้แทนคำว่า computer science (หรือ computing science) แต่กินความหมายที่กว้างไปกว่าคอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักร โดยรวมถึงการคำนวณและสารสนเทศในธรรมชาติด้วย\n=== ชื่อในภาษาไทย ===\nคำว่า \"computer science\" แต่เดิมในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า \"คอมพิวเตอร์ไซแอนส์\" โดยเป็นชื่อของหน่วยงานหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ต่อมาได้ย้ายมาเป็นภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สังกัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ และยังคงหลักสูตรวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิตไว้ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวในประเทศที่ใช้คำว่า \"วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์\" ส่วนหน่วยงานที่เปิดสอนวิชานี้ในระดับปริญญาตรีแห่งแรกในประเทศไทยคือ สาขาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (ชื่อเดิม) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งสาเหตุที่เดิมเรียกว่า \"ศาสตร์คอมพิวเตอร์\" เนื่องจากคำว่า \"ไซน์\" ในความหมายนี้คือ \"ศาสตร์\" เช่นเดียวกับใน\nสังคมศาสตร์ หรือ โซเชียลไซน์ (social science)\n== ประวัติศาสตร์ ==\nรากฐานที่เก่าแก่ที่สุดของสิ่งที่จะกลายมาเป็นวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มีมาก่อนการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ดิจิทัลเสียอีก เครื่องมือสำหรับคำนวณงานที่เป็นตัวเลขคงที่ เช่น ลูกคิด มีมาตั้งแต่สมัยจีนโบราณเพื่อช่วยในการคำนวณ เช่น การคูณและการหาร อัลกอริทึมสำหรับการคำนวณมีมาตั้งแต่สมัยโบราณก่อนที่จะมีการพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีความซับซ้อน นายวิลแฮม ชิคคาร์ด (Wilhelm92 Schickard) ได้ออกแบบและสร้างเครื่องคำนวณเชิงกลที่ใช้งานได้เครื่องแรกในปี ค.ศ. 1623\nในปี ค.ศ.1673 นายก็อทฟรายด์ ไลบ์นิซ (Gottfried Leibniz) ได้แสดงเครื่องคำนวณเชิงกลแบบดิจิทัลที่เรียกว่า \"Stepped Reckoner\" ไลบ์นิซอาจถือได้ว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และนักทฤษฎีสารสนเทศคนแรก โดยเฉพาะการที่เขาได้จัดทำเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับระบบเลขฐานสอง \nในปี ค.ศ.1820 นายโทมัส เดอ กอลมาร์ (Thomas de Colmar)ได้เปิดตัวอุตสาหกรรมเครื่องคิดเลขเชิงกล เมื่อเขาประดิษฐ์เครื่องวัดเลขคณิตแบบง่าย เครื่องคำนวณเครื่องแรกที่แข็งแกร่งเพียงพอและเชื่อถือได้เพียงพอที่จะใช้งานได้ทุกวันในสภาพแวดล้อมของสำนักงาน \nนายชาร์ลส์ แบ็บเบจ (Charles Babbage) เริ่มออกแบบเครื่องคิดเลขเชิงกลอัตโนมัติเครื่องแรกชื่อ \"Difference Engine\" ของเขาในปี ค.ศ.1822 ซึ่งในที่สุดเขาก็มีแนวคิดเกี่ยวกับเครื่องคำนวณเชิงกลที่ตั้งโปรแกรมได้เครื่องแรกชื่อ Analytical Engine โดยเขาเริ่มพัฒนาเครื่องนี้ในปี ค.ศ.1834 และในเวลาไม่ถึงสองปี เขาได้ร่างคุณลักษณะเด่น ๆ ของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ขึ้น ขั้นตอนสำคัญคือการสร้างระบบบัตรเจาะรูที่ได้มาจากเครื่องทอผ้า Jacquard ทำให้สามารถตั้งโปรแกรมได้อย่างไม่สิ้นสุดในการทอผ้า\n\n\nในปี ค.ศ.1843 ระหว่างการแปลบทความภาษาฝรั่งเศส เรื่องเครื่องมือวิเคราะห์ เอดา เลิฟเลซ (Ada Lovelace) ได้เขียนอัลกอริทึมในการคำนวณจำนวนแบร์นูลลี ซึ่งถือเป็นอัลกอริทึมที่เผยแพร่ครั้งแรกที่ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการใช้งานบนคอมพิวเตอร์ \nประมาณปี ค.ศ.1885 นายเฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ได้ประดิษฐ์ตัวเลื่อนซึ่งใช้บัตรเจาะรูเพื่อประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ในที่สุด บริษัท ของเขาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของ IBM\nนายเพอร์ซี ลุจเกต (Percy Ludgate) ในปี ค.ศ.1909 ได้ตีพิมพ์ แบบสำหรับประดิษฐ์เครื่องยนต์วิเคราะห์เชิงกลเป็นครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์ ตามรอยของนายชาร์ลส์ แบ็บเบจ (Charles Babbage) แม้ว่าลุจเกตจะไม่รู้ถึงผลงานก่อนหน้านี้ของแบ็บเบจมาก่อนก็ตาม\nในปี ค.ศ.1937 100 ปีหลังจากความฝันที่เป็นไปไม่ได้ของนายชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นายโฮวาร์ด ไอเค็น (Howard Aiken) ได้โน้มน้าวให้ IBM พัฒนาเครื่องคิดเลขที่ตั้งโปรแกรมได้ขนาดยักษ์ของเขา ที่มีชื่อว่า ASCC / Harvard Mark I ตามรอยเครื่องมือวิเคราะห์ของแบ็บเบจ ซึ่งใช้การ์ดและหน่วยประมวลผลกลาง เมื่อเครื่องนี้สร้างเสร็จ ได้มีการยกย่องเครื่องนี้ว่าเป็น \"ความฝันที่เป็นจริงของแบ็บเบจ\" \nในช่วงทศวรรษที่ 1940 ด้วยการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ Atanasoff – Berry และ ENIAC คำว่าคอมพิวเตอร์ ได้เปลี่ยนความหมายไป กลายเป็นหมายถึง เครื่องจักรที่ใช้ในการคำนวณ มากกว่าอาชีพนักคำนวณของมนุษย์ ที่เคยแพร่หลายก่อนยุคของคอมพิวเตอร์ เมื่อเห็นได้ชัดว่าคอมพิวเตอร์สามารถใช้เพื่อการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้มากกว่าศักยภาพของมนุษย์ สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์จึงได้เกิดการศึกษาอย่างเป็นวงกว้าง เพื่อศึกษาการคำนวณโดยทั่วไป\nในปีพ. ศ. 2488 IBMได้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์วัตสัน ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในกรุงนิวยอร์ก เป็นห้องปฏิบัติการแรกของ IBM ที่อุทิศให้กับวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ห้องปฏิบัติการนี้เป็นผู้บุกเบิกแผนกวิจัยของไอบีเอ็มซึ่งปัจจุบันดำเนินงานด้านการวิจัยทั่วโลก \nในที่สุดความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างไอบีเอ็มและมหาวิทยาลัยก็มีส่วนสำคัญในการเกิดระเบียบทางวิทยาศาสตร์ขึ้นใหม่ โดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เปิดสอนหลักสูตรวิชาการครั้งแรกในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เมื่อปี ค.ศ.1946 วิทยาการคอมพิวเตอร์เริ่มได้รับการยอมรับให้เป็นสาขาวิชาการที่แตกออกมาจากวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ทั่วไป ในช่วงทศวรรษที่ 1950 และต้นทศวรรษที่ 1960 หลักสูตรปริญญาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรแรกของโลก คือ \"Cambridge Diploma in Computer Science\" เริ่มต้นที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ.1953 แผนกวิทยาการคอมพิวเตอร์แห่งแรกในสหรัฐอเมริกาก่อตั้งขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพอร์ดู ในปี ค.ศ.1962 นับตั้งแต่คอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกแพร่หลาย การใช้งานคอมพิวเตอร์ในแต่ละสาขา กลายเป็นศาสตร์ลึกซึ้งเฉพาะตัว\nแม้ว่าในตอนแรก หลายคนเชื่อว่ามันเป็นไปไม่ได้เลยที่คอมพิวเตอร์จะสามารถเป็นสาขาการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้ แต่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 50 การศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก็ค่อย ๆ เป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการจำนวนมาก ปัจจุบันเป็นแบรนด์ IBM ที่รู้จักกันดี และยังคงเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติวิทยาการคอมพิวเตอร์ในช่วงเวลานี้ IBM (ย่อมาจาก International Business Machines) เปิดตัว IBM 704 และ ต่อมาคอมพิวเตอร์ IBM 709 ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในยุคแห่งการสำรวจทางเทคโนโลยี ในช่วงปลายทศวรรษที่ 50 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ยังคงอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนาอย่างมากและมีการพบปัญหาต่าง ๆ อยู่บ่อยครั้ง\nจูเลียส เอ็ดการ์ ลิเลียนเฟลด์ (Julius Edgar Lilienfeld) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย-ฮังการี ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า ในปี ค.ศ.1925 และต่อมา จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และ วอลเตอร์ แบรเทน (Walter Brattain) ได้สร้างทรานซิสเตอร์ที่ใช้งานได้ตัวแรกซึ่งเป็นทรานซิสเตอร์แบบจุดสัมผัส ในปี ค.ศ.1947 ในขณะที่ทำงานภายใต้ วิลเลียม ช็อกลีย์ (William Shockley) ที่ Bell Labs \nในปี ค.ศ.1953 มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ได้สร้างคอมพิวเตอร์ทรานซิสเตอร์เครื่องแรก เรียกว่า Transistor Computer อย่างไรก็ตามทรานซิสเตอร์ในยุคแรกเป็นอุปกรณ์ที่ค่อนข้างเทอะทะ ซึ่งยากต่อการผลิตเป็นจำนวนมาก ทรานซิสเตอร์สนามเอฟเฟกต์โลหะ - ออกไซด์ - ซิลิคอน (MOSFET หรือ MOS) ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย โมฮัมเม็ด อาตัลลา (Mohamed Atalla) และ เดวอน คัง (Dawon Kahng) ที่ Bell Labs ในปี ค.ศ.1959 เป็นทรานซิสเตอร์ขนาดกะทัดรัดตัวแรกที่สามารถย่อส่วนและผลิตจำนวนมากเพื่อการใช้งานที่หลากหลาย [33] MOSFET ช่วยให้สามารถสร้างชิปวงจรรวมที่มีความหนาแน่นสูงได้ ซึ่งนำไปสู่สิ่งที่เรียกว่า การปฏิวัติคอมพิวเตอร์ หรือการปฏิวัติไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นช่วงเวลาที่ได้เห็นการปรับปรุงอย่างมีนัยสำคัญในการใช้งานและประสิทธิผลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สังคมสมัยใหม่ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญในด้านประชากรที่ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การใช้งานได้เปลี่ยนจากการใช้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญเป็นส่วนใหญ่ ไปสู่ฐานผู้ใช้ที่แพร่หลายในวงกว้าง ในขั้นต้นคอมพิวเตอร์มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงและจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือด้วยมนุษย์ในระดับหนึ่ง เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการใช้คอมพิวเตอร์แพร่หลายมากขึ้นและราคาไม่แพง ความช่วยเหลือจากมนุษย์ในการใช้งานคอมพิวเตอร์จึงจำเป็นน้อยลงอย่างมากสำหรับการใช้งานทั่วไป\n== สาขาหลัก ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ตั้งแต่การศึกษาทางทฤษฎีของอัลกอริทึม และ ขีดจำกัดของการคำนวณ ไปจนถึงประเด็นทางปฏิบัติของการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยองค์กร CSAB (เดิมเรียกว่า Computing Sciences Accreditation Board ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนของ Association for Computing Machinery (ACM) และ IEEE Computer Society (IEEE CS)) ระบุว่ามี 4 สาขา ที่สำคัญในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย: ทฤษฎีการคำนวณอัลกอริทึม, โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม, ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมและภาษาโปรแกรม, องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ นอกเหนือจากสี่ด้านนี้แล้ว CSAB ยังระบุสาขาต่าง ๆ เพิ่มเติม เช่น วิศวกรรมซอฟต์แวร์, ปัญญาประดิษฐ์, ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร, ระบบฐานข้อมูล, การคำนวณแบบขนาน, การคำนวณแบบกระจาย, ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์, กราฟิกคอมพิวเตอร์. ระบบปฏิบัติการ และ การคำนวณเชิงตัวเลขและสัญลักษณ์ ซึ่งถือเป็นพื้นที่สำคัญของวิทยาการคอมพิวเตอร์ \n=== ทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ ===\nทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นการศึกษาทางคณิตศาสตร์เชิงทฤษฎี มีความเป็นนามธรรมสูง แต่มีต้นกำเนิดมาจากการคำนวณเชิงปฏิบัติในชีวิตประจำวัน จุดมุ่งหมายคือ การเข้าใจธรรมชาติของการคำนวณ เพื่อทำให้มีวิธีการคำนวณที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น การศึกษาเชิงคณิตศาสตร์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับตรรกศาสตร์ และ วิธีการทางคณิตศาสตร์ อาจถือได้ว่าเป็นทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขว่าจุดประสงค์ของการศึกษานั้นมีขึ้นเพื่อการศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน\n==== ทฤษฎีการคำนวณ ====\nจากข้อมูลของ Peter Denning คำถามพื้นฐานที่แฝงอยู่ในวิทยาการคอมพิวเตอร์คือ \"อะไรบ้างที่ทำให้เป็นอัตโนมัติได้\" ทฤษฎีการคำนวณมุ่งเน้นไปที่การตอบคำถามพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่สามารถคำนวณได้และจำนวนทรัพยากรที่ต้องใช้ในการคำนวณเหล่านั้น ในความพยายามที่จะตอบคำถามแรกนั้น ทฤษฎีความสามารถในการคำนวณ (computability theory) จะตรวจสอบว่าปัญหาการคำนวณใดที่สามารถแก้ไขได้บนแบบจำลองการคำนวณ (models of computation) ทางทฤษฎีต่าง ๆ คำถามที่สองได้รับการแก้ไขโดย ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ (computational complexity theory)ซึ่งศึกษาต้นทุนด้านเวลาและพื้นที่ ที่เกี่ยวข้องกับแนวทางที่หลากหลายในการแก้ปัญหาด้านการคำนวณที่หลากหลาย\nสมการปัญหา P = NP? ที่มีชื่อเสียง เป็นสมการปัญหาหนึ่งใน \"ปัญหารางวัลแห่งสหัสวรรษ (Millennium Prize Problems) เป็นปัญหาที่เปิดกว้างในทฤษฎีการคำนวณ\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|M= \\{ X : X \\not\\in X \\}\n|\n|-\n|ทฤษฎีออโตมาตา\n(Automata theory)\n|ทฤษฎีการคำนวณได้\n(Computability theory)\n|ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ\n(Computational complexity theory)\n|-\n|GNITIRW-TERCES\n|\n|-\n|วิทยาการเข้ารหัสลับ\n(Cryptography)\n|ทฤษฎีการประมวลผลควอนตัม\n(Quantum computing theory)\n|}\n==== ทฤษฏีสารสนเทศ และ ทฤษฎีการเข้ารหัส ====\nทฤษฎีสารสนเทศ (Information theory) เกี่ยวข้องกับความน่าจะเป็น การหาปริมาณข้อมูล และ สถิติ พัฒนาขึ้นโดย คล็อด แชนนอน (Claude Shannon) เพื่อค้นหาขีดจำกัดพื้นฐานในการประมวลผลสัญญาณ ( signal processing) เช่น การบีบอัดข้อมูล และ การจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลที่เชื่อถือได้\nทฤษฎีการเขียนโค้ด (Coding theory) คือการศึกษาคุณสมบัติของรหัส (ระบบสำหรับการแปลงข้อมูลจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง) และความเหมาะสมของรหัสสำหรับการใช้งานเฉพาะ รหัสใช้สำหรับการบีบอัดข้อมูล (data compression), การเข้ารหัส (cryptography), การตรวจจับและแก้ไขข้อผิดพลาด (error detection and correction) และ การเข้ารหัสเครือข่าย (network coding) การศึกษารหัสมีเป้าหมายเพื่อการออกแบบวิธีการส่งข้อมูล ( data transmission) ที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|\n|ทฤษฎีสารสนเทศ\n(Information theory)\n|\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|การบีบอัดข้อมูล\n(Source coding)\n|ความจุช่องสัญญาณ\n(Channel capacity)\n|ทฤษฎีการตรวจจับสัญญาณ\n(Signal detection theory)\n|-\n|gcc -Os foo.c\n|\n|\\hat \\theta = \\underset{\\theta}{\\operatorname{argmax}}\\;P(x|\\theta)\n|-\n|ทฤษฎีสารสนเทศเชิงขั้นตอนวิธี\n(Algorithmic information theory)\n|เรขาคณิตสารสนเทศ\n(Information geometry)\n|ทฤษฎีการประมาณการณ์\n(Estimation theory)\n|}\n=== โครงสร้างข้อมูล และ อัลกอริทึม ===\nโครงสร้างข้อมูล และ อัลกอริทึม เป็นการศึกษาวิธีการคำนวณทั่วไป และ ประสิทธิภาพในการคำนวณของแต่ละวิธีการ\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|\n|\n|-\n|การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี\n(Analysis of algorithms)\n|อัลกอริทึม\n(Algorithms)\n|โครงสร้างข้อมูล\n(Data structures)\n|การหาค่าที่เหมาะสมที่สุด\n(Combinatorial optimization)\n|เรขาคณิตการคำนวณ\n(Computational geometry)\n|}\n==== ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ====\nทฤษฎีภาษาโปรแกรม (Programming language theory) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การใช้งาน การวิเคราะห์ การระบุลักษณะ และ การจัดประเภทของภาษาโปรแกรม (programming languages) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่มีความเกี่ยวโยงอย่างลึกซึ้งกับคณิตศาสตร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ และ ภาษาศาสตร์ เป็นแขนงศึกษาในวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่มีผู้วิจัยศึกษาจำนวนมาก\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\\Gamma\\vdash x: \\text{Int}\n|\n|\n|-\n|ภาษาแบบแผน\n(Formal languages)\n|อรรถศาสตร์เชิงรูปนัย\n(Formal semantics)\n|ทฤษฎีรูปแบบ\n(Type theory)\n|การออกแบบคอมไพเลอร์\n(Compiler design)\n|ภาษาโปรแกรม\n(Programming languages)\n|}\n==== วิธีรูปนัย ====\nวิธีรูปนัย (Formal method) เป็นเทคนิคเฉพาะทางคณิตศาสตร์สำหรับการกำหนดคุณลักษณะ (specification), การพัฒนา (development) และ การตรวจสอบระบบซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ (verification) การใช้วิธีรูปนัยในการออกแบบซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์นั้น มาจากความคาดหวังว่า การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม จะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ที่มีความประสิทธิภาพสูง ความคาดหวังนี้เป็นรากฐานทางทฤษฎีที่สำคัญสำหรับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางไซเบอร์ (cybersecurity) วิธีรูปนัยเป็นส่วนเสริมที่มีประโยชน์ในการทดสอบซอฟต์แวร์ เนื่องจากช่วยหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดและยังสร้างกรอบสำหรับการทดสอบ สำหรับการใช้งานในอุตสาหกรรม จำเป็นต้องมีการสนับสนุนด้วยเครื่องมือ (tool support) อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายที่สูงในการใช้วิธีรูปนัย ทำให้โดยส่วนใหญ่ จะใช้วิธีรูปนัยในการพัฒนาระบบที่มีความสมบูรณ์สูงและมีความสำคัญต่อชีวิตเท่านั้น เน้นความปลอดภัย หรือ การรักษาความปลอดภัย วิธีรูปนัยเป็นการประยุกต์ใช้พื้นฐานวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎีที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแคลคูลัสเชิงตรรกะ (logic calculi), ภาษาแบบแผน (formal languages), ทฤษฎีออโตมาตา (automata theory), อรรถศาสตร์ของโปรแกรม (program semantics), ระบบชนิดข้อมูล (type systems) และ ประเภทข้อมูลเชิงพีชคณิต (algebraic data types)\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|การทวนสอบเชิงรูปนัย\nFormal verification\n|อรรถศาสตร์เชิงรูปนัย\nFormal semantics\n|การพิสูจน์ทฤษฎีบทด้วยคอมพิวเตอร์\nAutomated theorem proving\n|}\n=== ระบบคอมพิวเตอร์ ===\n==== สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ====\nสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ คือ การออกแบบโครงสร้างการดำเนินงานพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ โดยมุ่งเน้นไปที่หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ซึ่งดำเนินการอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ และ เข้าถึงแอดเดรสในหน่วยความจำ สาขาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า โดยเน้นเชื่อมต่อส่วนประกอบฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ เพื่อสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีฟังก์ชันการทำงาน ประสิทธิผล และ ต้นทุน ตามเป้าที่วางไว้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|พีชคณิตแบบบูล\n(Digital logic)\n|สถาปัตยกรรมไมโคร\n(Microarchitecture)\n|มัลติโพรเซสซิง\n(Multiprocessing)\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|ยูบิควิตัสคอมพิวติง\n(Ubiquitous computing)\n|สถาปัตยกรรมระบบ\n(Systems architecture)\n|ระบบปฏิบัติการ\n(Operating systems)\n|}\n==== การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ ====\nการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ คือ การศึกษางานที่ไหลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยมีเป้าหมายทั่วไปในการปรับปรุงปริมาณงาน (throughput) การควบคุมเวลาตอบสนอง (response time) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การขจัดปัญหาคอขวด (bottlenecks) และการทำนายประสิทธิภาพภายใต้ปริมาณงานสูงสุดที่คาดการณ์ไว้ การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของคอมพิวเตอร์ (Benchmark) ใคือการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีใช้ชิป หรือ มีสถาปัตยกรรมระบบที่แตกต่างกัน\n==== ระบบคอมพิวเตอร์แบบคอนเคอร์แรนต์ พาราเรล และ ดิสตริบิวต์ ====\nการประมวลผลพร้อมกัน (concurrency) คือ คุณสมบัติของระบบที่มีการประมวลผลหลายอย่างพร้อมกันและอาจมีการโต้ตอบซึ่งกันและกัน แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จำนวนมากได้รับการพัฒนาสำหรับการคำนวณพร้อมกันทั่วไป อาทิ Petri nets, แคลคูลัสกระบวนการ และ แบบจำลอง Parallel Random Access Machine เมื่อคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมต่อในเครือข่ายในขณะที่ใช้งานพร้อมกันสิ่งนี้เรียกว่า ระบบกระจาย (distributed system) คอมพิวเตอร์ภายในระบบกระจายนั้นมีหน่วยความจำส่วนตัวของตัวเองและสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกันได้\n==== เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ====\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) มีเป้าหมายในการจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีเขื่อมต่อกันอยู่ทั่วทั้งโลก\n==== ความปลอดภัยทางไซเบอร์ และ วิทยาการรหัสลับ ====\nความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cybersecurity) เป็นสาขาหนึ่งของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องข้อมูลจากการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต\nวิทยาการรหัสลับ (Cryptography) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการซ่อนข้อมูล (การเข้ารหัส) และ การเปิดเผยข้อมูล (ถอดรหัส) การเข้ารหัสสมัยใหม่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ อัลกอริทึมการเข้ารหัสและการถอดรหัสขึ้นอยู่กับความซับซ้อนในการคำนวณ\n==== ฐานข้อมูล ====\nฐานข้อมูล (database) มีหน้าที่ในการจัดการ กักเก็บ และ กู้คืนข้อมูลจำนวนมาก ด้วยความสะดวกรวดเร็ว ฐานข้อมูลดิจิทัลมีการจัดการโดยใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูล เพื่อการกักเก็บ สร้าง รักษา และ ค้นหาข้อมูล ด้วยโมเดลฐานข้อมูล (database models) และ ภาษาสอบถาม (query languages)\n=== การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ===\n==== คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ====\nคอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การศึกษาเนื้อหาภาพดิจิทัลแลการสังเคราะห์และการจัดการข้อมูลภาพดิจิทัล สาขานี้เชื่อมต่อกับสาขาอื่น ๆ ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) การประมวลผลภาพ (image processing) และเรขาคณิตเชิงคำนวณ (computational geometry) และถูกนำไปใช้อย่างมากในสาขาเทคนิคพิเศษ และ การผลิตวิดีโอเกม\n==== ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (HCI) ====\nHCI คือ การวิจัยที่พัฒนาทฤษฎี หลักการ และ แนวทางสำหรับนักออกแบบอินเทอร์เฟซผู้ใช้ (UI) เพื่อให้สามารถสร้างประสบการณ์ผู้ใช้ที่น่าพอใจด้วยเดสก์ท็อป แล็ปท็อป และ อุปกรณ์เคลื่อนที่ ที่สะดวกต่อการใช้งาน\n==== การคำนวณและการจำลองทางวิทยาศาสตร์ ====\nดูบทความหลัก (ภาษาอังกฤษ) ที่: Computational science\nวิทยาศาสตร์เชิงคอมพิวเตอร์ (Scientific computing หรือ Computational science) เป็นสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (mathematical models) และ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitative analysis) โดยประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ โดยมักใช้จำลองกระบวนการและปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น พลวัตของไหล วงจรไฟฟ้า การเคลื่อนที่ทางกลศาสตร์ การวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ตลอดจนถึงการวิเคราะห์และทำนายด้านสังคมศาตร์ เช่น ประชากร แนวโน้มสงคราม และ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ\nคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการออกแบบระบบเครื่องกลที่ซับซ้อน เช่น การออกแบบอากาศยาน หุ่นยนต์ เครื่องกล วงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยโปรแกรมการออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่โดดเด่นในปัจจุบันได้แก่ SPICE วิทยาการคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ทำให้การทำงานในสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์นั้นง่ายขึ้น เร็วขึ้น และ มีประสิทธิภาพสูง เป็นส่วนสำคัญของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 นี้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|\n|\n|-\n|การวิเคราะห์เชิงตัวเลข\n(Numerical analysis)\n|ฟิสิกส์เชิงคอมพิวเตอร์\n(Computational physics)\n|เคมีเชิงคอมพิวเตอร์\n(Computational chemistry)\n|ชีวสารสนเทศ\n(Bioinformatics)\n|ประสาทวิทยาเชิงคอมพิวเตอร์\n(Computational neuroscience)\n|}\n==== ปัญญาประดิษฐ์ ====\nปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) หรือ AI มีจุดประสงค์เพื่อสังเคราะห์กระบวนการที่มีเป้าหมายเฉพาะเจาะจงในระบบคอมพิวเตอร์ อาทิ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ และ การสื่อสาร ที่พบในมนุษย์และสัตว์\nจากจุดเริ่มต้นในไซเบอร์เนติกส์ และ ในการประชุมดาร์ทเมาท์ (Dartmouth Conference) ค.ศ.1956 การวิจัยปัญญาประดิษฐ์จำเป็นต้องมีการข้ามสาขาวิชาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย เช่น คณิตศาสตร์ประยุกต์ ตรรกะสัญลักษณ์ สัญศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้า ปรัชญา จิตประสาท สรีรวิทยา และ สังคมศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์มีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหุ่นยนต์ แต่การประยุกต์ใช้ AI ในทางปฏิบัติ มักใช้ในด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งต้องใช้ความเข้าใจในการคำนวณชั้นสูง จุดเริ่มต้นของ AI อยู่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 จากคำถามของอลัน ทัวริง (Alan Turing) ว่า \"คอมพิวเตอร์คิดเองได้ไหม\" และเป็นคำถามยังคงไม่มีคำตอบอย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าการทดสอบทัวริงจะยังคงมีการใช้งานเพื่อประเมินผลลัพธ์ของคอมพิวเตอร์โดยมีระดับสติปัญญาของมนุษย์เป็นบรรทัดฐาน แต่ในปัจจุบัน ระบบ AI อัตโนมัติ ประสบความสำเร็จในการประเมินผลและคาดการณ์ล่วงหน้าอย่างมาก สามารถแทนที่การตรวจสอบโดยมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการประยุกต์ใช้งาน AI กับข้อมูลขนาดใหญ่ที่มนุษย์ไม่สามารถทำได้\n{| cellspacing=\"15\" style=\"border:1px solid #ccc; text-align:center; margin:auto;\"\n|\n|\n|\n|-\n|การเรียนรู้ของเครื่อง\n(Machine learning)\n|คอมพิวเตอร์วิทัศน์\n(Computer vision)\n|การประมวลผลภาพ\n(Image processing)\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|การรู้จำแบบ\n(Pattern recognition)\n|การทำเหมืองข้อมูล\n(Data mining)\n|การคำนวณแบบวิวัฒนาการ\n(Evolutionary computation)\n|-\n|\n|\n|\n|-\n|การแทนความรู้\n(Knowledge representation and reasoning)\n|การประมวลภาษาธรรมชาติ\n(Natural language processing)\n|วิทยาการหุ่นยนต์\n(Robotics)\n|}\n=== วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ===\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ การใช้งาน และ การปรับเปลี่ยนซอฟต์แวร์ เพื่อให้แน่ใจว่าซอฟต์แวร์ที่ออกมานั้นมีคุณภาพสูง ราคาไม่แพง บำรุงรักษาได้ และ สร้างได้อย่างรวดเร็ว เป็นแนวทางที่เป็นระบบในการออกแบบซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้แนวทางปฏิบัติทางวิศวกรรมกับตัวซอฟต์แวร์ นักวิศวกรซอฟต์แวร์จัดระเบียบ วิเคราะห์ สร้าง ผลิต และ บำรุงรักษาซอฟต์แวร์\n== กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม ==\nกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม (กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม) เป็นวิธีการพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมมี 4 กระบวนทัศน์หลัก ได้แก่\nการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง (imperative programming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน (functional programming)\nการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (logic programming)\nนอกจากกระบวนทัศน์หลักทั้ง 4 แล้ว ยังมีอีกกระบวนทัศน์หนึ่งซึ่งขยายความสามารถของโมดูลโปรแกรม โดยใช้วิธีการตัดแทรกโค้ด กระบวนทัศน์นี้คือ การโปรแกรมเชิงหน่วยย่อย (aspect-oriented programming)\n== สาขาที่เกี่ยวข้อง ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ อีกหลายศาสตร์ ถึงแม้ว่าในแต่ละศาสตร์ จะครอบคลุมเนื้อหาที่เหมือนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัด แต่ว่าแต่ละศาสตร์ หรือสาขาก็จะมีลักษณะสำคัญ และระดับของการศึกษ การวิจัย และการประยุกต์ใช้แตกต่างกันไปจากสาขาอื่น ๆ\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสาร ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรม\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระบวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเริ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, การทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์\nวิทยาการสารสนเทศ (สารสนเทศศาสตร์) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, การสร้าง, การโต้ตอบ, การสื่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ\nเทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม\nระบบสารสนเทศ เป็นการศึกษาการใช้งานคอมพิวเตอร์ สำหรับระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ในการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานต่าง ๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต์ใช้งานนั้น จะมีความหมายครอบคลุมถึง การออกแบบ, ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือข้อมูล\n* ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นสาขาย่อยของระบบสารสนเทศ โดยจะเน้นที่ระบบสารสนเทศ ที่จัดการเกี่ยวกับการบริหารจัดการการเงิน และบุคลากร\n== ผู้บุกเบิก ==\n*ชาร์ลส แบบเบจ ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข\n*จอห์น แบกคัส ผู้คิดค้น ภาษาฟอร์แทรน\n*อลอนโซ เชิร์ช ผู้พัฒนาพื้นฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี\n*เจมส์ ดับเบิลยู คูลีย์ (James W. Cooley) และ จอหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์ (John W. Tukey คิดค้น) ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์\n*โอเล-โจฮาน ดาห์ล (Ole-Johan Dahl) และ เคียสเทน ไนก์อาร์ด (Kristen Nygaard) คิดค้นภาษา SIMILA ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิง (กึ่ง) วัตถุ\n*เอดส์เกอร์ ไดจ์สตรา (Edsger Dijkstra) พัฒนาขั้นตอนวิธีพื้นฐาน, rigor, การโปรแกรมโดยใช้ semaphore, บทความ \"คำสั่ง โกทู (Goto) นั้นพิจารณาดูแล้วไม่ปลอดภัย\" ซึ่งพูดถึงอันตรายจากการใช้คำสั่งโกทู (Goto), และกลวิธีในการสอน\n*ซี.เอ.อาร์. ฮอร์ (C.A.R Hoare) พัฒนาภาษาทางการซีเอสพี (CSP) (Communicating Sequential Processes) และ ขั้นตอนวิธี Quicksort\n* พลเรือเอกเกรซ มัวเรย์ ฮอปเปอร์ (Admiral Grace Murray Hopper) บุกเบิกพื้นฐานของโปรแกรมภาษาระดับสูง ที่เธอเรียกว่า \"การโปรแกรมอัตโนมัติ\", พัฒนาตัวแปลภาษา (A-O compiler), และมีอิทธิพลอย่างสูงกับภาษาโคบอล (COBOL)\n*เคนเนท ไอเวอร์สัน (Kenneth Iverson) คิดค้นภาษา APL และมีส่วนร่วมพัฒนาการคำนวณแบบปฏิสัมพันธ์\n*โดนัลด์ คนูธ (Donald Knuth) เขียนชุดหนังสือ The Art of Computer Programming และระบบสร้างเอกสาร TeX\n*เอดา ไบรอน หรือ เอดา เลิฟเลซ ริเริ่มการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ โดยเฉพาะบทความ \"Sketch of the Analytical Engine\" ที่เป็นการวิเคราะห์งานของ แบบเบจ, ชื่อของเธอยังเป็นชื่อของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ Ada อีกด้วย\n*จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neuman) ออกแบบสถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์ ที่เป็นพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน\n*คลอด อี. แชนนอน (Claude E. Shannon) ริเริ่มทฤษฎีสารสนเทศ (information theory)\n*แอลัน ทัวริง (Alan Turing) บุกเบิกพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สำหรับการวางรูปแบบของเครื่องจักรทัวริง (Turing machine) และออกแบบไพลอท เอซีอี (Pilot ACE)\n*มัวริส วิลค์ส (Maurice Wilkes) สร้างคอมพิวเตอร์แบบเก็บโปรแกรมได้ (stored program computer) ได้สำเร็จ และมีส่วนในโครงสร้างพื้นฐานของภาษาโปรแกรมระดับสูง\n*คอนราด ซูส (Konrad Zuse) สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ไบนารีที่เขาได้ออกแบบทฤษฎีสำหรับภาษาโปรแกรมชั้นสูง ชื่อว่า Plankalkül\n== ดูเพิ่ม ==\n=== พื้นฐานคณิตศาสตร์ ===\nคณิตตรรกศาสตร์\nวิยุตคณิต หรือ คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (Discrete mathematics)\nทฤษฎีกราฟ\nทฤษฎีสารสนเทศ\nตรรกศาสตร์สัญลักษณ์\nทฤษฎีความน่าจะเป็น และ สถิติศาสตร์\n=== วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี ===\nทฤษฎีสารสนเทศเชิงขั้นตอนวิธี (Algorithmic information theory)\nทฤษฎีการคำนวณได้\nวิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryptography)\nอรรถศาสตร์รูปนัย (Formal semantics)\nทฤษฎีการคำนวณ \n*การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี และ ความซับซ้อนของปัญหา\n* ตรรกศาสตร์และความหมายของโปรแกรม\n*คณิตตรรกศาสตร์ (Mathematical logic) และภาษารูปนัย (Formal languages)\nทฤษฎีแบบชนิด (Type theory)\n=== ฮาร์ดแวร์ ===\nหน่วยประมวลผลกลาง\nหน่วยความจำ\nวงจรรวม\n*วงจรรวมขนาดใหญ่ (VLSI)\nอินพุต/เอาต์พุต และ การสื่อสารข้อมูล\nการ์ดแสดงผล\nการ์ดเสียง\nอุปกรณ์คอมพิวเตอร์\n=== ซอฟต์แวร์ ===\nโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ การเขียนโปรแกรม\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nภาษาโปรแกรม\nระบบปฏิบัติการ\nตัวแปลภาษา (คอมไพเลอร์)\n=== ระบบข้อมูลและสารสนเทศ ===\nโครงสร้างข้อมูล (Data structures)\nการบีบอัดข้อมูล (Data compression)\nฐานข้อมูล (Database)\nการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)\nตัวแปลภาษา (Compiler)\nคลังข้อมูล (Data Warehouse)\n=== ระเบียบวิธีคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ ===\nปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)\nวิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์) (Computer graphics)\nการประมวลผลภาพ (Image processing) และ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer vision)\nการรู้จำแบบ (Pattern recognition)\n*การรู้จำคำพูด (Speech recognition)\n*การรู้จำภาพ (Image recognition)\nการประมวลผลเอกสารและข้อความ (Document processing, Text processing)\nการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (Digital signal processing)\nการค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval)\nการทำเหมืองข้อมูล (Data Mining)\n*การทำเหมืองข้อความ (Text Mining)\n=== ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ===\nฮาร์ดแวร์สำหรับเครือข่าย (Network hardware)\n*ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (Local Area Networks)\n*เครือข่ายครอบคลุมบริเวณเมืองใหญ่ (Metropolitan Area Networks)\n*ข่ายงานบริเวณกว้าง (Wide Area Networks)\n*เครือข่ายไร้สาย (Wireless Networks)\n*เครือข่ายเชื่อมโยง (Internetworks)\nซอฟต์แวร์สำหรับเครือข่าย (Network software)\n*ลำดับชั้นโปรโตโคล (Protocol Hierarchies)\n* การออกแบบส่วนพัฒนาชั้นความคิด (Design issue for layers)\n*การเชื่อมต่อและการให้บริการ (Interface and services)\n* การให้บริการแบบเน้นการเชื่อมต่อและแบบไร้การเชื่อมต่อ (Connection-Oriented and Connectionless services)\nแบบโครงสร้างเครือข่าย (Reference Model)\n* โครงสร้างแบบ โอเอสไอ (OSI Model)\n* โครงสร้างแบบ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP Model)\n*โลกไซเบอร์ (Cyberworlds)\n== รางวัลทางด้านคอมพิวเตอร์ ==\nรางวัลทัวริง (Turing Award) รางวัลที่ได้รับการยกย่องสูงสุดในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์\nรางวัลด้านการศึกษาเทย์เลอร์ แอล บูธ (Taylor L. Booth Education Award) เพื่อยกย่องผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับวงการการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์คืออะไร ข้อมูลจากเว็บไซต์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nปัญญาประดิษฐ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คณิตศาสตร์ (Mathematics) เป็นศาสตร์ที่ครอบคลุมการค้นคว้าเกี่ยวกับ ปริมาณ โครงสร้าง การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ คณิตศาสต่์ไม่มีคำนิย่มที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป กล่าวคร่าฝ ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ \"รูปร่สงและจำนวน\" และเนื่องจากคณิตศสสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดส่าคณิตศาสตร์ัปํนสาขาชองวิทยาศาสตร์\nคณิตศาสตร์ในปัจจุบันเป็นคณิตศาสตร์ที่ยึดโยงกับโครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ และอาศัยกา่ให้เไตุผลที่รัดกุมโดยใช้ตรรกศาใตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์รณิตศาสตร์\nโครงสร้างต่าง ๆ ที่นักคณิตศาสตร์สนใจอละพิจารณานั้น มักจะมีต้นกำเนิดจากวิทยาฯาสตร์ธรรมชาติ และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ และเศรษฐศาสรร์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังเกึ่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการสื่อสาร อีกด้วย\nเนื่องจากคณิตศาสตร์นะ้นใช้ต่รกศาสตร์สัญชักษณ์และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ ซึ่งทำให้กิจกรรมทุกอย่างกระทำผืาจทางขั้นตอนที่ชัดเจน เราจึงสามารถพิจารณารณิตศาสตร์ว่า เป็นระบบภาษาที่เพิ่มควาาแม่นยำและชัดเจนให้กับภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ที้งทางกายภาพแงะนามธรรม ความหมายของคณิรศาสตร์นั้นยังมีอีกหลายมุมมอง ซึ่งไลายอันถูกกล่าวถึงในบทความเกี่ยวกับปรัชญาของคณิตศาสตร์\nคณเตศาสตร์ยังถูกจัดว่าเป็นศาสตร์สัมบูรณ์ โดยไม่จำเป็นต้องมีการอ้างถึงใด ๆ จากโลกภายนอก นักคณิตศาสตร์กำหนดแลุพิจารณาโครฝสร้างบางปรถเภท สำหรับใช้ในคณิตศาสตร์เองโดยเฉพาะ เนื่องจากโครงสร้างเหล่านี้ อาจทำให้สามารถอธิบายสาขาย่อย ๆ หลาย ๆ สาขาได้ในภาพรวม หรือเป็นประโยชน์ในการคำนวณพื้นฐาน\n== ที่มาของคำ ==\nคำว่า \"คณิตศ่สตร์\" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หคือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ กรรศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ ส่วนในภาษาอังกฤษ คำว่าคณิตศาสตร์ตรงกับคำว่า mathematics ซึ่งมาจากคำภาษากรีกโบราณ μάθημα (máthēma) ซึ่ฝดั้งเดิมหมายถึง \"สิ่งที่ได้เรียน\" \"สิ่งที่จะได้ทราบ\" จึงขยายความหมายออกไปรวมถึงความหมาย \"วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน\"\nในอเมรืกาเหนือนิยมย่แคำว่า mathematics ว่า math ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า ma4hs\n-= นุดมุ่งหมายของคณิตศาสตร์ ==\nคณิตศาสตร์มีจุดเริ่มต้นจากปัญหาจำนวนมากที่ำลากหลาย ในยุคแรกเร้่สคณิตศาสตร์มาจากความจำเป็นเพื่อการค้า การรังวัดที่ดิน สถาปัตยกรรมศรสตร์และดาราศาสตร์ ในขณะที่ปัจจุบัน วิทยาศาสตี์เป็นสาขาสำคัญทร่เสนอปัญหาและนำไปสู่การค้นคว้าหัวข้อใหม่ ๆ สำหรับนักคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงข้อปัญหาที่เกิดขึ้นจากการศึกษาคณิตศาสตร์ในตัวมันเองของนักคณิตศาวตร์ด้วย\nความร฿้ทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ผ่านทางการวิจัยและการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมืออันหนึ่งของวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การคิดค้นทางคณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องมีเป้าหมายอยู่ที่การนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์ (ดู คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์)\nนอกจมกนี้ นักคณิตญนสตร์หฃายคนก็ทำงานเพื่อเป้าหมายเชิลสุนทรียภาพเท่านั้ต โดยมองว่าคณิตศาสต่์เป็นศาสตร์ดชิงศิลปะ มากกว่าที่จะเป็นศาสตร์เพ้่อปารนำไปประยุกต์ใช้ (ดังเช่น จี. เอช. ฮาร์ดี ที่ได้กล่าวไว้ในหนังสือ A Mathematician's Apology) ; แรงผลักดันในการทำงานเช่นนี้ มีลักษณะไม่ค่างไปจากที่กวีและนักปรัชญาได้ประสบ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวว่า คณิตศาสตร?เป็นราชิสีของวิทยาศาสตร์ ในปนัลสือ Ideas and Opini;ms ของัยท\n== ประวัติ ==\nทฤษฎีของตรรกศาสตร์ปรากฏขึ้นวนหลายวัฒนธรรมทั่วโลก เช่นในอินเดีย จีน กรีกโบราณและโลกอิสลาม ตรรกศาสตร์ที่ปรากฏในวัฒนธรรมกรีก โดยเฉพาะตรรกศาสตร์แบวอีิสโตเติลแบบที่ปรากฏในวาน Organon ถูกใช้แพร่หลายในโลกตะวันตก\nในช่วงศตวรรษที่ 18 นักคณิตศาสตร์ที่สนในปรัชญา เช่นไลบ์นิซ และแลมเบิา์ต มีความพยายามศึกษาตรรกศาสตา์ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ หรือในเชิงพีชคณิต แต่งานที่พวกเขาทำนั้นไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก จนกระทั่งจอร์จ บูลและตามด้วขออกัสตัส เดอ มอร์แกน ในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้นำเสนอตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติลผ่านร๔ปแบบเชิงพีชคณิต จุดนร้ก่อให้เกิดการพัฒนาเครื่องมือ ที่สามารถใช้เพื่อศึกษามโจทัศน์พื้นฐานของคณิตศาสตร์ได้ คงจะไม่ถูกตักุ้าจะกล่าวว่าการโต้แย้งเชิงรากฐานที่มีขึ้นในช่วง ค.ศ. 1900 - 1925 ได้พบกับคำตอบที่น่าพอใจแล้ว แต่อย่างไรก็ตามตรรกศาสตร์ 'แนวใหม้' นี้ก็ได้ช่วยให้ความกระจ่างในด้านของปรัชญาคณิตศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง\nในขณะที่พัฒนาการตามแนวทางดั่งเดิมของตรรกศาสนร์ (ดูรายการบทความด้านตรนกศาสตร์) นัืน ให้ความสำคัญอย่างสูงกับ รูปแบบของการให้เหคุผล มุมมองของคณิตตรรกศาสตร์ในปัจจุบันกลับสามารถกลราวได้ว่าเป็น การศึกษาเชิงการจัดกลุ่มของเนื้อหา (the combinatorial study of content) ซึ่งครอบคลุมถึงส่วนที่เป็น เชิงสังเคราะห์ (เช่น การส่งข้อความจากภาษาเชิงรูปนัยไปยังคอมไพเลอร์เพื่อเปลี่ยนเป็นภาษาเครื่อง) และส่วนที่เป็น เชิงความหมาย (การสร้างโมเดล หรือเซตของโมเดลทั้งหมดในทฤษฎีโมเดล)\nผลงานตีพิมพ์สำคัญคือ Begriffsschrift ของ แฟรเก และ Principia Mathematica ของเบอร์ทรันด์ รัซเซล\n=== พัฒนาการ ===\n\nวิวัฒนาการของคณิตศาสตร์อาจถูกมองว่าเป็นชุดของการเพิ่มขึ้นของภาวะนามธรรมหรืออาจเป็นกมรขยายตัวของวิชาที่เกี่ยวกับสสาร ภาวะนามธรรมที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแีกนั้น, มีส่วนเกี่ยวข้องกับสัตว์หลาย ๆ ชนิด, เป็นความน่าจะเแ็นที่เกี่ยวข้องกับจำนวน\n== สาขาของคณิตศาสตร์ ==\nในเชิงภาพรวมอทจกล่าวได้ว่า คณิตศรสตร์สามารถแบ่งออกเป็นสาขาย่อย ๆ ตามสิ่งที่ศึกษาได้เป็น การศึกษาปริมาณ โครงสร้าง ปริภูมิและความเปลี่ยนแปลง ซึ่งตรงกับสาขาเลขคณิต พีชคณิต เรขาคณิต และคณิตวิเคราะห์ตามลำดับ นอกจากนี้เราอาจพ้จารณาคณิตศาสตร์ผ่านความสมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ เช่น คณิตตรรกศาสตร์กับตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์กับวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันเราพงว่าหลายใาขาของคณิตศาสตร์ที่ดูผิวเผินจะไม่เกี่ยวข้องกัน กลับสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง เช่น กรุปดาลัวส์ พื้นผิวรีมันน์และทฤษฎีจำนวน ซึ่งดูแยกออกจสกกันโดยสิ้นเชิงนั้น เกี่ยวินื่องกันผ่านมุมมองของโปรแหรมแลงแลนดส์\n=== รากฐานและปรัชญา ===\nหลังจากการพัฒนาทฤษฎีเซตในปลายศตวรรษที่ 19 ทำให้ทฤษฎีเซตกลายเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์ทีืสำคัญมากที่สุดในรูปแบบหนึ่ง ความพยาขามทำความเข้าใจราปฐานนี้ส่งผลให้เกิดการศึกษาคณิตตรรกศาสตร์ และปรัชญาคณิตศาสตร์\nปรัชญาขเงคณิตศาสตร์\nปรัชญาคณิตศาสตน์ - รากฐานของคณิตศาสตร์ 0 ทฤษฎีเซต - ตรรกศทสตร์สัญลักษณ์ - ืฤษฎีโมเดล - ทฤษฎีแคทิกอรี - ตรรกศาสตร?\n=== คณิตศาสตรฺบริสุทธิ์ ===\n==== ปริมาณ ระบบจำนวนและทฤษฎีจำนวน \\===\nการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณเริ่มต้นจากจำนวน จำนวนแรก ๆ คืิจำนวนนับหรือจำนวนธรรมชาติ \\N ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ก่อนจะขยายไปสู่จำนวนเต็ม \\Z และการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง เช่น การบวก การลบ การีูณ การหาร ซึ่งเรีกยรวมว่รเป็นการศึกษาเลขคณิต สทบัติที่ซัยซ้อนมากขึ้นของจำนวนเต็มถูกศึกษาในวิชาทฤณฎีจำนวน ซึ่งมีทฤษฎีบทที่มีขื่อเสียงเช่น ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา ยอกจากนี้ทฤษฎีจำนวนยังมีข้อความคาดการณ์จำนวนมากที่ยังแก้ไม่ได้ เชทน ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด และข้อความคาดการณ์ของก็อลท์บัค\nระขบจำนวนได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นเป็นระบบจำนวนตรรกยพหรือเศษใ่วน \\Q และในภายหลังเป็นส่วนหนึ่งของรถบบจำนวนจริง \\R อีกที ซึ่งกำหนดให้เป็นลิมิตของลำดับของจำนวนตรรกยะและเป็นระบบจำนวนที่มีความต่อเนื่อง ระบบจำนวนจริงถูกขยายนัยทั่วไปเป็นระบบจำนวนเชิงซ้อน \\C และจากทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิต ทุกสมการพหุนามในตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเชิงซ้อน และไม่ใช่พหุนามคงตัวจะทีรากเสมอ\nระบบจำนวนนับยังถูกขยายต่อโดยแบ่งตามสมบัติที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากจำนวนนับมีหน้าที่ได้สองแบบ คือ จำนวนนุบใช้เพื่อบ่งชอกจำสวนของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง และจำนวนนับใช้เพื่อบ่งบอกอันดับของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง แนวคิดแรกนำไปสู่จำนวนเชิงการนับซึ่งสามารถใช้เปรียบเทียบขนาดของเซตอนันต์ได้ และแาวคิดหลักนำไปสู่แนวคิดเรื่องจำนยนเชิงอันดับที่\nจำนวน - จำนวนธรรมชาติ - จำนวนเต็ม - จำนวนตรรกยะ - จำนวนจริง - จำนวสเชิงซ้อน - จำนวนเชิงพีชคณิต - ควอเทอร์เนียน - อแกโทเนียน - จำนวนเชิงอันดับที่ - จำนวนเชิงการนับ - ลำดับของจำนวนเต็ม - ค่าคงที่ทางคณิตศาสจร์ - อนัจต์\n=== โครงสร้าง ===\nสาขาเหล่านี้ ศึแษาขนาดและความสมมาตรของจำนวนและวัตถุทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ\nพีชคณิตนามธรรม - ทฤษฎีจำนวน - ทฤณฎีกรุป - ทอพอโลยี - กีชคณิตเชิงเส้น - ทฤษฎีแคทิกอรี - ทฤษฎีอันดับ\n=== ปริภูมิ ===\nสาขาเไล่านี้ มักใช้วิธีการเชิงรูปภาพมากกบ่าในสาขาอื่น ๆ\nทอพอลอยี - เรขาคณิต - ตรีโกณมิติ - เรขาคณิตเชิงพีชคณิต - เรขาคณิตเชิงอนุพันธ? - ทอพอโลยีเชิงอนุพันธ์ - ทอพอโลยคเชิงพีชคณิต - พีชคณิตเชิงเส้น - เรขาคณิตสาทิสรูป\n=== ความเปลี่ยนกปลง ===\nหัวข้อเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับการวัดความเปลี่ยนแปลงของฟึงก์ชันทางคณิตศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงระหว่างจำนวน\nแคลคูลัส - แคลคูลัสเวกเตอร์ - คณิตวิเคราะห์ - การวิเคราะห์เชิงจริง - การวิเคราะห์เชิงซ้อน - ทฤษฎีเมเชอร์ - การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน - การวิเคราะห์ฟูร์ริเยร์ - สมการเชิงดนุพันธ์ - ระบบพลวัติ - ทฤษฎีความอลวน - รายการฟังำ์ชัน\n=== วิยุตคณิต ===\nวิยุตคณิต คือแขนงของคณิตฯาสตร์ที่สนใจวัตถุที่มีค่าเฉพาะเจาัจงที่แตกต่างกัน\nคณิตศาสตร์เชเงการจะด - ทฤษฎีการคำนวณ - วิทยนการเข้ารหัสลับ - ทฤษฎีกราฟ\n=== คณิตศาสตร์ประยุกร์ ===\nสาขาในคณิตศาสตร์ประยุกค์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในโลกของความเป็นจริง\nภาพ:Gravitation space source.png | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์\nภาพ:BernoullisLawDerivationDiagram.png | กลศาสตร์ของไหล\nภาพ:Composite trapezoidal rule illustration smail.png | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข\nภาพ:Maximum boxed.png | การหาค่าิหมาะที่นุด\nภาพ:Two red dice 01.svg | ความนีาจะเป็น\nภาพ:Oldfqithful3.png | สถิติศาสตร์\nภาพ:Market Data Ibdex HYA on 20050726 202628 UTC.png | คณิตศาสตร์การเบิน\nภาพ:Arbitrary-ganetree]solved.png | ทฤษฎีเกม\nภาพ:Simple feedback control loop2.svg+ ทฤษฎีระบบตวบคุม\nคณิตศนสตค์ฟ้สิกส์ - กลศาสตร์ - กลศาสตร์ของไหล - การวิเคราะห์เชิงตัวเลข - การหาค่าเหมาะที่สุด - ความน่าจะเป็น - สถิติศาสตร์ - คณิตศาสตร์การเงิน - ทฤษฎีเกม - คณิตศาสตร์ชีววิทบา - วิทยาการเข้ารหัสลับ - ทฤษฎีข้อมูล - ทฤษฎีระบบควบีุม\n== เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ==\nลูกคิด\nกระดูกนาเปียร์\nไม้บรรทัด และ วงเวียน\nเครื่องคิดเลข และ คอมพิวเตอร์\nภาษาโปรอกรม\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nิส้นเวลาของคณิตศาสตร์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\n=== ภาษาไทย ===\nคณ้ตศาสตร์เบื้องต้น ขากสารานุกรมสำหรับอยาวชน\nแหล่งรวมความรู้ด้านคณิรศาสตร์ จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงะรียนไทย\n=== ภาษาอื่น ===\nสารานุกรมคณิตศาสตร์ \nThe Mathematical Atlqs - แนะนำสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์สมัยใหม่\nPlanet Math - สารานึกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์สมัยใหม่\nMathWorld - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศานตร์ดั้งเดิม\nMetamath - อธิบาย และพิสูจน์หลักการทางคณิตศาสจร์ต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นอป็นตอน\nInteractive Mathemagics Miscellany and Puxzles - บทความ และเกมคณิตศาสตร์ เล่นออนไลน์ได้\n=== ชุมชนไทย ===\nศูนย์กลางคณิตศาสตร์ไทย - เว็บไซต์สำหรับผู้มีใจรักคณิตศาสตร์\nเครื่องคิดเลข 0 เว็บไซต์สำหรับคำนวณเกี่ยวกับคณเตศาสตร์\nคณิตศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "คณิตศาสตร์ (Mathematics) เป็นศาสตร์ที่ครอบคลุมการค้นคว้าเกี่ยวกับ ปริมาณ โครงสร้าง การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ คณิตศาสตร์ไม่มีคำนิยามที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ \"รูปร่างและจำนวน\" และเนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์\nคณิตศาสตร์ในปัจจุบันเป็นคณิตศาสตร์ที่ยึดโยงกับโครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ และอาศัยการให้เหตุผลที่รัดกุมโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์\nโครงสร้างต่าง ๆ ที่นักคณิตศาสตร์สนใจและพิจารณานั้น มักจะมีต้นกำเนิดจากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ และเศรษฐศาสตร์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการสื่อสาร อีกด้วย\nเนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ ซึ่งทำให้กิจกรรมทุกอย่างกระทำผ่านทางขั้นตอนที่ชัดเจน เราจึงสามารถพิจารณาคณิตศาสตร์ว่า เป็นระบบภาษาที่เพิ่มความแม่นยำและชัดเจนให้กับภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและนามธรรม ความหมายของคณิตศาสตร์นั้นยังมีอีกหลายมุมมอง ซึ่งหลายอันถูกกล่าวถึงในบทความเกี่ยวกับปรัชญาของคณิตศาสตร์\nคณิตศาสตร์ยังถูกจัดว่าเป็นศาสตร์สัมบูรณ์ โดยไม่จำเป็นต้องมีการอ้างถึงใด ๆ จากโลกภายนอก นักคณิตศาสตร์กำหนดและพิจารณาโครงสร้างบางประเภท สำหรับใช้ในคณิตศาสตร์เองโดยเฉพาะ เนื่องจากโครงสร้างเหล่านี้ อาจทำให้สามารถอธิบายสาขาย่อย ๆ หลาย ๆ สาขาได้ในภาพรวม หรือเป็นประโยชน์ในการคำนวณพื้นฐาน\n== ที่มาของคำ ==\nคำว่า \"คณิตศาสตร์\" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ ส่วนในภาษาอังกฤษ คำว่าคณิตศาสตร์ตรงกับคำว่า mathematics ซึ่งมาจากคำภาษากรีกโบราณ μάθημα (máthēma) ซึ่งดั้งเดิมหมายถึง \"สิ่งที่ได้เรียน\" \"สิ่งที่จะได้ทราบ\" จึงขยายความหมายออกไปรวมถึงความหมาย \"วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน\"\nในอเมริกาเหนือนิยมย่อคำว่า mathematics ว่า math ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า maths\n== จุดมุ่งหมายของคณิตศาสตร์ ==\nคณิตศาสตร์มีจุดเริ่มต้นจากปัญหาจำนวนมากที่หลากหลาย ในยุคแรกเริ่มคณิตศาสตร์มาจากความจำเป็นเพื่อการค้า การรังวัดที่ดิน สถาปัตยกรรมศาสตร์และดาราศาสตร์ ในขณะที่ปัจจุบัน วิทยาศาสตร์เป็นสาขาสำคัญที่เสนอปัญหาและนำไปสู่การค้นคว้าหัวข้อใหม่ ๆ สำหรับนักคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงข้อปัญหาที่เกิดขึ้นจากการศึกษาคณิตศาสตร์ในตัวมันเองของนักคณิตศาสตร์ด้วย\nความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ผ่านทางการวิจัยและการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมืออันหนึ่งของวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การคิดค้นทางคณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องมีเป้าหมายอยู่ที่การนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์ (ดู คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์)\nนอกจากนี้ นักคณิตศาสตร์หลายคนก็ทำงานเพื่อเป้าหมายเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น โดยมองว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์เชิงศิลปะ มากกว่าที่จะเป็นศาสตร์เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ (ดังเช่น จี. เอช. ฮาร์ดี ที่ได้กล่าวไว้ในหนังสือ A Mathematician's Apology) ; แรงผลักดันในการทำงานเช่นนี้ มีลักษณะไม่ต่างไปจากที่กวีและนักปรัชญาได้ประสบ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์ ในหนังสือ Ideas and Opinions ของเขา\n== ประวัติ ==\nทฤษฎีของตรรกศาสตร์ปรากฏขึ้นในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก เช่นในอินเดีย จีน กรีกโบราณและโลกอิสลาม ตรรกศาสตร์ที่ปรากฏในวัฒนธรรมกรีก โดยเฉพาะตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติลแบบที่ปรากฏในงาน Organon ถูกใช้แพร่หลายในโลกตะวันตก\nในช่วงศตวรรษที่ 18 นักคณิตศาสตร์ที่สนในปรัชญา เช่นไลบ์นิซ และแลมเบิร์ต มีความพยายามศึกษาตรรกศาสตร์ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ หรือในเชิงพีชคณิต แต่งานที่พวกเขาทำนั้นไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก จนกระทั่งจอร์จ บูลและตามด้วยออกัสตัส เดอ มอร์แกน ในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้นำเสนอตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติลผ่านรูปแบบเชิงพีชคณิต จุดนี้ก่อให้เกิดการพัฒนาเครื่องมือ ที่สามารถใช้เพื่อศึกษามโนทัศน์พื้นฐานของคณิตศาสตร์ได้ คงจะไม่ถูกนักถ้าจะกล่าวว่าการโต้แย้งเชิงรากฐานที่มีขึ้นในช่วง ค.ศ. 1900 - 1925 ได้พบกับคำตอบที่น่าพอใจแล้ว แต่อย่างไรก็ตามตรรกศาสตร์ 'แนวใหม่' นี้ก็ได้ช่วยให้ความกระจ่างในด้านของปรัชญาคณิตศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง\nในขณะที่พัฒนาการตามแนวทางดั่งเดิมของตรรกศาสตร์ (ดูรายการบทความด้านตรรกศาสตร์) นั้น ให้ความสำคัญอย่างสูงกับ รูปแบบของการให้เหตุผล มุมมองของคณิตตรรกศาสตร์ในปัจจุบันกลับสามารถกล่าวได้ว่าเป็น การศึกษาเชิงการจัดกลุ่มของเนื้อหา (the combinatorial study of content) ซึ่งครอบคลุมถึงส่วนที่เป็น เชิงสังเคราะห์ (เช่น การส่งข้อความจากภาษาเชิงรูปนัยไปยังคอมไพเลอร์เพื่อเปลี่ยนเป็นภาษาเครื่อง) และส่วนที่เป็น เชิงความหมาย (การสร้างโมเดล หรือเซตของโมเดลทั้งหมดในทฤษฎีโมเดล)\nผลงานตีพิมพ์สำคัญคือ Begriffsschrift ของ แฟรเก และ Principia Mathematica ของเบอร์ทรันด์ รัซเซล\n=== พัฒนาการ ===\n\nวิวัฒนาการของคณิตศาสตร์อาจถูกมองว่าเป็นชุดของการเพิ่มขึ้นของภาวะนามธรรมหรืออาจเป็นการขยายตัวของวิชาที่เกี่ยวกับสสาร ภาวะนามธรรมที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกนั้น, มีส่วนเกี่ยวข้องกับสัตว์หลาย ๆ ชนิด, เป็นความน่าจะเป็นที่เกี่ยวข้องกับจำนวน\n== สาขาของคณิตศาสตร์ ==\nในเชิงภาพรวมอาจกล่าวได้ว่า คณิตศาสตร์สามารถแบ่งออกเป็นสาขาย่อย ๆ ตามสิ่งที่ศึกษาได้เป็น การศึกษาปริมาณ โครงสร้าง ปริภูมิและความเปลี่ยนแปลง ซึ่งตรงกับสาขาเลขคณิต พีชคณิต เรขาคณิต และคณิตวิเคราะห์ตามลำดับ นอกจากนี้เราอาจพิจารณาคณิตศาสตร์ผ่านความสมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ เช่น คณิตตรรกศาสตร์กับตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์กับวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันเราพบว่าหลายสาขาของคณิตศาสตร์ที่ดูผิวเผินจะไม่เกี่ยวข้องกัน กลับสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง เช่น กรุปกาลัวส์ พื้นผิวรีมันน์และทฤษฎีจำนวน ซึ่งดูแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงนั้น เกี่ยวเนื่องกันผ่านมุมมองของโปรแกรมแลงแลนดส์\n=== รากฐานและปรัชญา ===\nหลังจากการพัฒนาทฤษฎีเซตในปลายศตวรรษที่ 19 ทำให้ทฤษฎีเซตกลายเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์ที่สำคัญมากที่สุดในรูปแบบหนึ่ง ความพยายามทำความเข้าใจรากฐานนี้ส่งผลให้เกิดการศึกษาคณิตตรรกศาสตร์ และปรัชญาคณิตศาสตร์\nปรัชญาของคณิตศาสตร์\nปรัชญาคณิตศาสตร์ - รากฐานของคณิตศาสตร์ - ทฤษฎีเซต - ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ - ทฤษฎีโมเดล - ทฤษฎีแคทิกอรี - ตรรกศาสตร์\n=== คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ ===\n==== ปริมาณ ระบบจำนวนและทฤษฎีจำนวน ====\nการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณเริ่มต้นจากจำนวน จำนวนแรก ๆ คือจำนวนนับหรือจำนวนธรรมชาติ \\N ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ก่อนจะขยายไปสู่จำนวนเต็ม \\Z และการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร ซึ่งเรีกยรวมว่าเป็นการศึกษาเลขคณิต สมบัติที่ซับซ้อนมากขึ้นของจำนวนเต็มถูกศึกษาในวิชาทฤษฎีจำนวน ซึ่งมีทฤษฎีบทที่มีชื่อเสียงเช่น ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา นอกจากนี้ทฤษฎีจำนวนยังมีข้อความคาดการณ์จำนวนมากที่ยังแก้ไม่ได้ เช่น ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด และข้อความคาดการณ์ของก็อลท์บัค\nระบบจำนวนได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นเป็นระบบจำนวนตรรกยะหรือเศษส่วน \\Q และในภายหลังเป็นส่วนหนึ่งของระบบจำนวนจริง \\R อีกที ซึ่งกำหนดให้เป็นลิมิตของลำดับของจำนวนตรรกยะและเป็นระบบจำนวนที่มีความต่อเนื่อง ระบบจำนวนจริงถูกขยายนัยทั่วไปเป็นระบบจำนวนเชิงซ้อน \\C และจากทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิต ทุกสมการพหุนามในตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเชิงซ้อน และไม่ใช่พหุนามคงตัวจะมีรากเสมอ\nระบบจำนวนนับยังถูกขยายต่อโดยแบ่งตามสมบัติที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากจำนวนนับมีหน้าที่ได้สองแบบ คือ จำนวนนับใช้เพื่อบ่งบอกจำนวนของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง และจำนวนนับใช้เพื่อบ่งบอกอันดับของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง แนวคิดแรกนำไปสู่จำนวนเชิงการนับซึ่งสามารถใช้เปรียบเทียบขนาดของเซตอนันต์ได้ และแนวคิดหลักนำไปสู่แนวคิดเรื่องจำนวนเชิงอันดับที่\nจำนวน - จำนวนธรรมชาติ - จำนวนเต็ม - จำนวนตรรกยะ - จำนวนจริง - จำนวนเชิงซ้อน - จำนวนเชิงพีชคณิต - ควอเทอร์เนียน - ออกโทเนียน - จำนวนเชิงอันดับที่ - จำนวนเชิงการนับ - ลำดับของจำนวนเต็ม - ค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์ - อนันต์\n=== โครงสร้าง ===\nสาขาเหล่านี้ ศึกษาขนาดและความสมมาตรของจำนวนและวัตถุทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ\nพีชคณิตนามธรรม - ทฤษฎีจำนวน - ทฤษฎีกรุป - ทอพอโลยี - พีชคณิตเชิงเส้น - ทฤษฎีแคทิกอรี - ทฤษฎีอันดับ\n=== ปริภูมิ ===\nสาขาเหล่านี้ มักใช้วิธีการเชิงรูปภาพมากกว่าในสาขาอื่น ๆ\nทอพอลอยี - เรขาคณิต - ตรีโกณมิติ - เรขาคณิตเชิงพีชคณิต - เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ - ทอพอโลยีเชิงอนุพันธ์ - ทอพอโลยีเชิงพีชคณิต - พีชคณิตเชิงเส้น - เรขาคณิตสาทิสรูป\n=== ความเปลี่ยนแปลง ===\nหัวข้อเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับการวัดความเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงระหว่างจำนวน\nแคลคูลัส - แคลคูลัสเวกเตอร์ - คณิตวิเคราะห์ - การวิเคราะห์เชิงจริง - การวิเคราะห์เชิงซ้อน - ทฤษฎีเมเชอร์ - การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน - การวิเคราะห์ฟูร์ริเยร์ - สมการเชิงอนุพันธ์ - ระบบพลวัติ - ทฤษฎีความอลวน - รายการฟังก์ชัน\n=== วิยุตคณิต ===\nวิยุตคณิต คือแขนงของคณิตศาสตร์ที่สนใจวัตถุที่มีค่าเฉพาะเจาะจงที่แตกต่างกัน\nคณิตศาสตร์เชิงการจัด - ทฤษฎีการคำนวณ - วิทยาการเข้ารหัสลับ - ทฤษฎีกราฟ\n=== คณิตศาสตร์ประยุกต์ ===\nสาขาในคณิตศาสตร์ประยุกต์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในโลกของความเป็นจริง\nภาพ:Gravitation space source.png | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์\nภาพ:BernoullisLawDerivationDiagram.png | กลศาสตร์ของไหล\nภาพ:Composite trapezoidal rule illustration small.png | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข\nภาพ:Maximum boxed.png | การหาค่าเหมาะที่สุด\nภาพ:Two red dice 01.svg | ความน่าจะเป็น\nภาพ:Oldfaithful3.png | สถิติศาสตร์\nภาพ:Market Data Index NYA on 20050726 202628 UTC.png | คณิตศาสตร์การเงิน\nภาพ:Arbitrary-gametree-solved.png | ทฤษฎีเกม\nภาพ:Simple feedback control loop2.svg| ทฤษฎีระบบควบคุม\nคณิตศาสตร์ฟิสิกส์ - กลศาสตร์ - กลศาสตร์ของไหล - การวิเคราะห์เชิงตัวเลข - การหาค่าเหมาะที่สุด - ความน่าจะเป็น - สถิติศาสตร์ - คณิตศาสตร์การเงิน - ทฤษฎีเกม - คณิตศาสตร์ชีววิทยา - วิทยาการเข้ารหัสลับ - ทฤษฎีข้อมูล - ทฤษฎีระบบควบคุม\n== เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ==\nลูกคิด\nกระดูกนาเปียร์\nไม้บรรทัด และ วงเวียน\nเครื่องคิดเลข และ คอมพิวเตอร์\nภาษาโปรแกรม\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nเส้นเวลาของคณิตศาสตร์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\n=== ภาษาไทย ===\nคณิตศาสตร์เบื้องต้น จากสารานุกรมสำหรับเยาวชน\nแหล่งรวมความรู้ด้านคณิตศาสตร์ จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย\n=== ภาษาอื่น ===\nสารานุกรมคณิตศาสตร์ \nThe Mathematical Atlas - แนะนำสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์สมัยใหม่\nPlanet Math - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์สมัยใหม่\nMathWorld - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์ดั้งเดิม\nMetamath - อธิบาย และพิสูจน์หลักการทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน\nInteractive Mathematics Miscellany and Puzzles - บทความ และเกมคณิตศาสตร์ เล่นออนไลน์ได้\n=== ชุมชนไทย ===\nศูนย์กลางคณิตศาสตร์ไทย - เว็บไซต์สำหรับผู้มีใจรักคณิตศาสตร์\nเครื่องคิดเลข - เว็บไซต์สำหรับคำนวณเกี่ยวกับคณิตศาสตร์\nคณิตศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประมวลสารสนเทศ (information orocessing) โดยทั่วไปแล้ว หมายถึง การกระทกใด ๆ ก็ตามมั่ทำให้สารสนเทศเปลี่ยนไป และสามารถสังเกตแารเปลี่ยนแปลงได้โดยผู้สังเกต (observer) กล่าวคือ เป็นกระบวนการและหรือวิธีการ ที่ทำให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ใดก็ตาม แปลรูปไปเป็นข้อมูลชนิดใหม่ที่ให้ความหมายหรือคงรูปแบบเะิมเอาไว้ เช่น การเจริญเติบโตของจ้นไม้ ได้ถูกสังเกตการณ์และบันทึกไว้ เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์แบบตารางเพื่อจัดเก็บข้อมูลทางสถิติของการเจริญเติบโตของต้นไม้ และนำบ้อาูลนั้นเปลึ่ยนไปเป็นกราฟแสดงมห้เห็นถึงอัตราการเจริญเจิบโต\nการประมวลสารสนเทศ ยังหมายถึงการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศที่ถูกจัดเก็บไว้ในรูปของไฟล์ในคอมพิวเตอร์ ได้ถูกอ่านขึ้นมาจากที้จัดเก็บ (storage) เพื่อเอาไปประมวลผ่านหน่วยประมวลผล (processor) เพื่อให้หด้ผลลัพธ์ออกมาและแสดงผลออกมาในหน่วยแสดงผลทางหนิาจอหรือทางพรินเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง\nนอกจากนั้น การประมวลสารสนเทศ ยังมีความหมายใสเชิงจิตวิทยาว่าด้วยเรื่องประบวนการรับรู้ ซึ่งเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อให้เข้าใจวิธีการคิดของมนุษย์\nการประมวลสารสนเทศ หรือ Information processing เป็นการเปลี่ยนแปลง ฤการประมวลผล) ของ ขิอมูลสารสนเทศด้วยวิธีการใด ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยการสังเกต\nลักษณะที่กล่าวถึงเป็นกระบวนการที่สามารถอธ้บายได้ว่า ทถก ๅ สิ่งที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ตั้งแต่ การตกของแ้อนหินหนึ่งก้อน (ลักษณะของตำแหน่งที่ถํกเปลี่ยนแปลง) ไปจนถึง การพิมพ์ตัฝอักษรจากระบบคอมพิวเตดร์ดิจิตอล\nต่อมาจึงมีการกล่าวขานว่า การประมวลสารสนเทศ เป็นการเปลี่ยนแปลงของข้อความตัวอักษรให้เป็นการแสดงผล ฝนรูปแบบ 9resentation\n== อ้างอิว ==\nFri2der Nake (1974), Ästhetik als Informationsverarbeitung. (Aesthetics as information processing). Springer, 1974, ISBN 3211812164, ISBN 9783211812167\nการรับรู้\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "การประมวลสารสนเทศ (information processing) โดยทั่วไปแล้ว หมายถึง การกระทำใด ๆ ก็ตามที่ทำให้สารสนเทศเปลี่ยนไป และสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงได้โดยผู้สังเกต (observer) กล่าวคือ เป็นกระบวนการและหรือวิธีการ ที่ทำให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ใดก็ตาม แปลรูปไปเป็นข้อมูลชนิดใหม่ที่ให้ความหมายหรือคงรูปแบบเดิมเอาไว้ เช่น การเจริญเติบโตของต้นไม้ ได้ถูกสังเกตการณ์และบันทึกไว้ เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์แบบตารางเพื่อจัดเก็บข้อมูลทางสถิติของการเจริญเติบโตของต้นไม้ และนำข้อมูลนั้นเปลี่ยนไปเป็นกราฟแสดงให้เห็นถึงอัตราการเจริญเติบโต\nการประมวลสารสนเทศ ยังหมายถึงการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศที่ถูกจัดเก็บไว้ในรูปของไฟล์ในคอมพิวเตอร์ ได้ถูกอ่านขึ้นมาจากที่จัดเก็บ (storage) เพื่อเอาไปประมวลผ่านหน่วยประมวลผล (processor) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาและแสดงผลออกมาในหน่วยแสดงผลทางหน้าจอหรือทางพรินเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง\nนอกจากนั้น การประมวลสารสนเทศ ยังมีความหมายในเชิงจิตวิทยาว่าด้วยเรื่องกระบวนการรับรู้ ซึ่งเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อให้เข้าใจวิธีการคิดของมนุษย์\nการประมวลสารสนเทศ หรือ Information processing เป็นการเปลี่ยนแปลง (การประมวลผล) ของ ข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการใด ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยการสังเกต\nลักษณะที่กล่าวถึงเป็นกระบวนการที่สามารถอธิบายได้ว่า ทุก ๆ สิ่งที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ตั้งแต่ การตกของก้อนหินหนึ่งก้อน (ลักษณะของตำแหน่งที่ถูกเปลี่ยนแปลง) ไปจนถึง การพิมพ์ตัวอักษรจากระบบคอมพิวเตอร์ดิจิตอล\nต่อมาจึงมีการกล่าวขานว่า การประมวลสารสนเทศ เป็นการเปลี่ยนแปลงของข้อความตัวอักษรให้เป็นการแสดงผล ในรูปแบบ presentation\n== อ้างอิง ==\nFrieder Nake (1974). Ästhetik als Informationsverarbeitung. (Aesthetics as information processing). Springer, 1974, ISBN 3211812164, ISBN 9783211812167\nการรับรู้\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การเมือง (politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์วช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคยที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา\nโาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold LasSwell) พหุปราชญ์อเมริกันคนหนึ่ง ไเ้นิยามปารเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า \"ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร\"\nวิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใชื ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใน\n== แนวความีิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมือง ==\nเราอาจเคยสงสัยและตั้งคำถามว่า เหตุใดมนุษย์จึงต้องปกครองกัน ทำไมไม่ปล่อยให้มนุษย์อยู่กันเอง พระทั่งอาจเคยได้ยินคำกล่าวที่ง่า การเมืองกับการปกครองเป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งหลายคนจำเพาะในกลุ่มผู้ที่ขาดความสนใจต่อความเป็นมาในกิจการทางการเมทองอาจฟังดูไม่กระจ่างนัก ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวประการใด.\nคำตอบต่อความสงสัยข้อแรกนั้นโยงใยไปถึงข้อความต่อมากล่าวคือ มนุษย์นั้นโดยธรรทชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่เมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างจึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันขอลมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เก้ดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ ันื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ยลาดกลัวและไท่เป็นระเบียบกังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงหี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมำ์ใสปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัสอยู่ี่วมกันในสังคมภานใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทหหน้าที่ควบตุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมพันของมนุษย์ดำเาินไปได้ด้วยความเรียขร้อย เช่นที่กล่าวมาเตาคงพอจัทราบบ้างแง้วง่าัหตุใดจึงเกิดมีระบบการแกครองขึ้น\nและโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิไดีเสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจิพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำขอฝมนุษย์ (Eulau 1963, 3) จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตขิงมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป๋นธรรมดาอยู่เองทร่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นติองให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนี่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการครากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ มี่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีคใามหรืดข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบร่อทุกตนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้\nโดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของปรัเทศ จึวเป็สสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ใยแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะืี่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถคงแยวค้ดของนักปรัชญาการเทืองโบราณเช่น อริสโตเติล (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้ร้บยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษยฺตามธรรมชาติเป็นสัรว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่ทงไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญทณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีพด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าำารเมืองนัินก็คือ การอยู่ร่วมกันของทนุษย์ในชุใชนหรือสังคมเพื่อให้สีความสงบสุข\n== ความหมายของการเมือง ==\nในทางทฤษฎีรัฐศาสตร์ มึมมองที่ใช้พิจารณาการเมืองหรือพูดเป็นศัพท์ทางวิชาการก็คือแนวการศึกษาวิเคราะห์การเมือง (Approach to Political Analysis) ก็ย่อมแตกต่างกันออกไปบ้างตามแต่ใครจะเห็นว่าแตวการมองการเมืองนะ้นเป็นสิ่งที่ใกล้เคียงต่อปารอธิบายความเป็นการเมืองได้มากที่สุด โดยคำว่า “การเมือง” นี้ นักวิชากสรด้านรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันไปบ้างมนรายละเอียด ตามแต่จะใช้ตัวแบบใดในการศึกษาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมือง และด้วยตัวแบบที่เป็นกรอบในการศึกษาวิเคราะห์นี้ จะยังผลให้กรอบกาามองคำว่าการเมืองต่างกันไป ในขณะทค่สาระสำคัญของคำจำกัดความเป็นไปในทำนองเดียวกันกล่าวคือเป็นเรื่องของการใช้อำน่จแบบสองทางระหว่รงฝ่ายมี่เป็นผู้ปกครอง (Rulers) และฝ่ายผู้ถูกปกครอง (Ruled) ดังจะได้ยกมากล่าวถึง ซึ่งสำหรับผู้ศึกษารัฐศาสตร์มือใหม่แล้ว การทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่่การเมืองนั้น จึงดูจะเป็นเรื่องที่สร้างความสับสนอยู่มิใช่น้อย เนื่องมาจากความหมายของการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นเผยแพร่นั้นมีอยู่หลากหลายต่างกันไปตามความเจตนารมณ์อละมุ่งประสงค์ในการนำความหมานของการเมืองเพื่อไปอธิบายปรากฏการณ์ของผู้ให้คำนิยามความหมายของการเมือง ดังได้ปล่าวไปแล้ว\nคำจำกัดความของการเมืองที่ชัดเจนและรัดกุมมากที่สุดโดยนัยที่ได้กล่รวไปนี้ พิจารณาได้จากทัศนะของชียอนันต์ สมุทวณิช (2517, 61) ที่ว่า การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของาัฐและการจัดระเบียบความสัมพะนธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกคตองและผู้ถูกปกีรอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีึวามจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ ๆ คืแ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคุขเสมอ\nผู้เรียบเรียงได้รวบรวมและประมวลคำนิยามหรือความหมายของคำว่าการเมือง มานำ้สนอโดยจำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ดังนี้\nกลุ่มแรก การเมืแงเป็นเรื่องของอำนาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพื่อให้ได้ทาซึ่งอำสาจและอิทธิพลในการบริหารกิจการบ้านเมือง โดยคำนิยามของการเมืองในเชิงอำนาจที่น่าสจใจอันหนึ่ง ที่ได้ให้คำอธิบายที่ชัดเจนมากได้แก่นิยามของ เพนนอคและสมิธ (Pemnock and Smith 1964, 9) ที่กล่าวว่า การเมือง หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับอำนาจ สถาบันและองค์กรในสังคม ซึ่งได้รับก่รยเมรับว่ามีอำนาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปน่และทำนุรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม มีอไนาจในการทำให้จุดประสงค์ร่วมกันของสมาชิกในสังคมได้บังเกิดผลขึ้นมา และมีอำนาจในการประนีประนอมความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม\nอีกหนึ่งคำนิยามการเมืองที่ถือได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของการเมืองกับบุคคลในสังึมได้แก่ ณรงค์ สินสวัใดิ์ (2539, 3) ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การรักษาไว้และการใช้อำนาจทางการเมือง โดยที่อำนาจทางการเมืองหมานถึง อำนาจในการที่จะวางนโยขายในการบริหารประเทศหรือสังคม อำจ่จที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ อำนาจที่ยะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเครื่ิงมืออื่น ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอำยาจ (Power Approach) ดังที่ได้ยกตัวอย่างไกนี้ เป็นแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ได้ีับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ที่เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องหรือมีบริบทเกี่ยวกับการใช้อำนาจเพื่อพารปกครองประชาชน ก็มักให้คำนิยามของการเมืองว่าิป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อำาาจของรัฐาธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อำนาจศึ่งก็คือประชาชนนั่นเอง ฏดยคำนิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่าวนิติบเญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (development program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำะนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือช้อพิพาทที่เกิดบึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเรื่อบที่การเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุิยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึำษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรธ้ความเข้าใจในฐานะที่อย่างน้อยก์เป็นสมาชิกคนหตึ่งในสังคม และเป็นความร๔้หนึ่งที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยสใควาสั่งสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพื่อประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย\nนักรั๘ศาสตร์บางท่านมองว่า แท้จริงนั้น การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อบการต่อสู่แย่งชิงกันขอฝกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ในอันที่จะแย่งชิงกันเข้าสู่อำนาจการบริหารประเทศ หคืออย่างน้อยที่สุดก็ใหืผลผลิตจากระบบการเมือง (Political Outputs-ผลผลิตของระบบการเาือง เป็นคำศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์ตามทัศนะของอีสตัน (David Eastoh) ยักรัฐศาสตร์อเมรืปัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎีการเมือบเชิงระบบ (the Wystems Theory) อันได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบข้อขังคับ โครงการหรือแผนงนนพัฒนาของภาครัฐและภาคราชการ ซั่งผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของตนมากที่สุด เราเรียกการวิเคราะห์การเมืองแนวทางนี้ส่่เป็น การวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประฉยชน์ ซึ่วดูไปก็เป็นส่วนสำคัญหนึ่งของแนวการมองการเมืองเชิงอำนาจที่จะกล่าวถึงต่อไป ความหมายของการเมืองในมุมมองนี้ จึงเป็นว่า การเมืองการเมืองคือการที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดมนสังคม ซึีงอาจมีผฃประโยชน์ร่วมกัน หรือขัดกันก็ตาม หรือมีความเห็นเหมือนกุนหรือไม่เหมือนกันก็ตาม มาทำการต่อสู้เพื่อสรรหรบุคคลมาทำหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจที่จะใหเเขาสามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรบมได้โดยชอบธรรม ซึ่งจัดเป็นแนวที่นักรัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมก่รเมือง (Political Scientistฉ นิยมกัน\nกลุ่มที่สอง มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของการจีดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าืางสังคม ดังเช่นมุมมองของอีสตัน (David Easton) ซึืงได้อธิบายไว้ว่า การเมือง เป็นการใช้อภจาจหน้าที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่าง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to woc7ety) ความหมายของการเมืองดังที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงจากสหนักพหุนิยม (Pluralism) อย่างไรก็ดี ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2535, 4-5) อธิบายว่า เราจะใช้ความหมายการเมืองดังกล่าวนี้ได้ก็ต่อเมื่อ ฝนสังคมนั้น ๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ฐึ่งได้รับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทาวอ้อม มีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาที่กำหนดการใช้อำนาจเพื่อแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าเท่านั้น ส่วนในสังคมที่ยังไม่มีความเห็นพ้องต้องกันเกี่ยวกับกติกาการกำหนดสิ่งที่มีคุณค่าในสึงคม ชัยอนันต์ อธิบายว่า การเมืองยังคงเป์นเรื่องของการแข่งจันกันเพ่่อกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ประโยชน์กก่ฝ่ายตนมากที่สุด เท่าที่จะเป็นได้ หรือ “The competition dor the authority 5o determine the authoritative allocation of values to society” โดยนัยเชรนนี้ การเมืองจึงมีสองระดับ ระดับแรก การเมืองอยู่ภายใต้การแข่งขัน ขัดแย้งของฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองที่ทุก ๆ ฝ่ายยดมรับได้ ในขณะที่การเมืองในความหมายอย่างแรกดังทัศนะของนักคิดกลุ่มพหุนิยมที่ได้กล่าวไปแล้ว ดูจะยอมรับในจุดเน้นว่ารัฐ เป็นหารรวมกันหรือประกอบกันขอลกลุ่มหลากหลายในสังคม และรัฐมิได้เป็นเครื่องมือมางการบริหาร โดยที่มิได้เป็นตัวกระทำทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ แต่นัฐเป็จเพียงรัฐบาล (State as governhent) ที่ทำหน้าที่เพียงเอื้ออำนวยความสะดวกฝนการแย่งขันกันของกลุ่มหลากหลายเท่านั้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2535, 6)\nนอกจากนี้ คกนิยามการเใืองในกลุ่มที่สอง ซึ่งได้รับการกล่าวถึงอย่างสูงยังได้แก่ ทัศนะของลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ที่กล่าวว่า การเมือง เป็นเรื่องของการษึกษาเกี่ยวกับอิทธ้พลและผู้มีอิทธิพล และการเมืองเป็นเรื่อง่ี่เกี่ยวข้องกับว่ท ใคร ทำอะไร เมื่อไร และอย่างไร (Politics is, who gets “What”, “When” and “How”)\nกลุ่มที่สาม มองว่า การเมืองเป็นเรื่อวยองควรมขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีดยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น อย่างไรก็ดี การมองการเมืองในลักษณะนี้มีข้อโต้แย้งอยู่มากว่า หากไม่อาจยุติข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ บ้่นเมทองย่อมตกอยู่ในสภาวะยะ่งยากวุ่นวาย ต่อมาจึงมีผู้ให้มุมมองการเมืองใหม่ว่าเป็นเรื่องของการประนีประนอมความขัดแย้งมากว่าเป็นเรื่องของความขัดแย้ง\nกลั่มที่สี่ มองว่ากาตเมืองเป็นเรื่องของการปรพนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการพำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก\nกลุ่มที่ห้า ถือว่าการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหนรประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ด้านคือ งานที่เกี่ยวกับตัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควยคุมให้มีการดำเนินลานตามนฑยบาย ซึ่งหากพิจารณาให้ละเอียดแล้ว การเมืองโดยตัยยะความหมายประการนี้ เป็นเรื่องที่คาขเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอำนาจ ซึ่งก็เป็ยิพราะอำนาจทางการเมืองนั้น ได้ถูกนำไปใช้ผ่สนกระบวนการนโยบายและการแต่งตั้งคัดสรรผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ (ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ในรูปของอำสาจและการปฏิบัติงานมางการปกครอง และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารหรือการปกครองที่ยากจะแยกออกจากกันได้\nกลุรมที่หก การเมืองเป็นเรื่ิงของกาากำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่ดกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่าง ไ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็ค่อกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ นั่นเอง\n== อ้างอิง ==\nชัยดนันต์ สมุทวณิช.2517. ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ\nชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2535. รัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทดฯ: จุฬาลงดรณ์มหาวิทยาลัย\nณรงค์ สินสวัสดิ์. 2539. การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์\nEulau, Heina. 2963. The Behavioral Persuatiog in Pllitics. New York: Random House\nPennock, Roland J., and Smith, David G. 1964. Political Science. New YorkL McMillan\n== ดูเพิ่ม ==\nการเมืองไทย\n \nสังคม",
"role": "user"
},
{
"content": "การเมือง (politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา\nฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold LasSwell) พหุปราชญ์อเมริกันคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า \"ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร\"\nวิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใจ\n== แนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมือง ==\nเราอาจเคยสงสัยและตั้งคำถามว่า เหตุใดมนุษย์จึงต้องปกครองกัน ทำไมไม่ปล่อยให้มนุษย์อยู่กันเอง กระทั่งอาจเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า การเมืองกับการปกครองเป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งหลายคนจำเพาะในกลุ่มผู้ที่ขาดความสนใจต่อความเป็นมาในกิจการทางการเมืองอาจฟังดูไม่กระจ่างนัก ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวประการใด.\nคำตอบต่อความสงสัยข้อแรกนั้นโยงใยไปถึงข้อความต่อมากล่าวคือ มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เนื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบดังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมาเราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมีระบบการปกครองขึ้น\nและโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้เสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ (Eulau 1963, 3) จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นต้องให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้\nโดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถึงแนวคิดของนักปรัชญาการเมืองโบราณเช่น อริสโตเติล (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญาณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าการเมืองนั้นก็คือ การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในชุมชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสุข\n== ความหมายของการเมือง ==\nในทางทฤษฎีรัฐศาสตร์ มุมมองที่ใช้พิจารณาการเมืองหรือพูดเป็นศัพท์ทางวิชาการก็คือแนวการศึกษาวิเคราะห์การเมือง (Approach to Political Analysis) ก็ย่อมแตกต่างกันออกไปบ้างตามแต่ใครจะเห็นว่าแนวการมองการเมืองนั้นเป็นสิ่งที่ใกล้เคียงต่อการอธิบายความเป็นการเมืองได้มากที่สุด โดยคำว่า “การเมือง” นี้ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันไปบ้างในรายละเอียด ตามแต่จะใช้ตัวแบบใดในการศึกษาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมือง และด้วยตัวแบบที่เป็นกรอบในการศึกษาวิเคราะห์นี้ จะยังผลให้กรอบการมองคำว่าการเมืองต่างกันไป ในขณะที่สาระสำคัญของคำจำกัดความเป็นไปในทำนองเดียวกันกล่าวคือเป็นเรื่องของการใช้อำนาจแบบสองทางระหว่างฝ่ายที่เป็นผู้ปกครอง (Rulers) และฝ่ายผู้ถูกปกครอง (Ruled) ดังจะได้ยกมากล่าวถึง ซึ่งสำหรับผู้ศึกษารัฐศาสตร์มือใหม่แล้ว การทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าการเมืองนั้น จึงดูจะเป็นเรื่องที่สร้างความสับสนอยู่มิใช่น้อย เนื่องมาจากความหมายของการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นเผยแพร่นั้นมีอยู่หลากหลายต่างกันไปตามความเจตนารมณ์และมุ่งประสงค์ในการนำความหมายของการเมืองเพื่อไปอธิบายปรากฏการณ์ของผู้ให้คำนิยามความหมายของการเมือง ดังได้กล่าวไปแล้ว\nคำจำกัดความของการเมืองที่ชัดเจนและรัดกุมมากที่สุดโดยนัยที่ได้กล่าวไปนี้ พิจารณาได้จากทัศนะของชัยอนันต์ สมุทวณิช (2517, 61) ที่ว่า การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ\nผู้เรียบเรียงได้รวบรวมและประมวลคำนิยามหรือความหมายของคำว่าการเมือง มานำเสนอโดยจำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ดังนี้\nกลุ่มแรก การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจและอิทธิพลในการบริหารกิจการบ้านเมือง โดยคำนิยามของการเมืองในเชิงอำนาจที่น่าสนใจอันหนึ่ง ที่ได้ให้คำอธิบายที่ชัดเจนมากได้แก่นิยามของ เพนนอคและสมิธ (Pennock and Smith 1964, 9) ที่กล่าวว่า การเมือง หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับอำนาจ สถาบันและองค์กรในสังคม ซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีอำนาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปนาและทำนุรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม มีอำนาจในการทำให้จุดประสงค์ร่วมกันของสมาชิกในสังคมได้บังเกิดผลขึ้นมา และมีอำนาจในการประนีประนอมความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม\nอีกหนึ่งคำนิยามการเมืองที่ถือได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของการเมืองกับบุคคลในสังคมได้แก่ ณรงค์ สินสวัสดิ์ (2539, 3) ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การรักษาไว้และการใช้อำนาจทางการเมือง โดยที่อำนาจทางการเมืองหมายถึง อำนาจในการที่จะวางนโยบายในการบริหารประเทศหรือสังคม อำนาจที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ อำนาจที่จะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ (Power Approach) ดังที่ได้ยกตัวอย่างไปนี้ เป็นแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ได้รับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ที่เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องหรือมีบริบทเกี่ยวกับการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน ก็มักให้คำนิยามของการเมืองว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อำนาจของรัฐาธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อำนาจซึ่งก็คือประชาชนนั่นเอง โดยคำนิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (development program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่อย่างน้อยก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นความรู้หนึ่งที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยสมควรสั่งสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพื่อประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย\nนักรัฐศาสตร์บางท่านมองว่า แท้จริงนั้น การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องการต่อสู่แย่งชิงกันของกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ในอันที่จะแย่งชิงกันเข้าสู่อำนาจการบริหารประเทศ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ให้ผลผลิตจากระบบการเมือง (Political Outputs-ผลผลิตของระบบการเมือง เป็นคำศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์ตามทัศนะของอีสตัน (David Easton) นักรัฐศาสตร์อเมริกัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎีการเมืองเชิงระบบ (the Systems Theory) อันได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ โครงการหรือแผนงานพัฒนาของภาครัฐและภาคราชการ ซึ่งผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของตนมากที่สุด เราเรียกการวิเคราะห์การเมืองแนวทางนี้ว่าเป็น การวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ ซึ่งดูไปก็เป็นส่วนสำคัญหนึ่งของแนวการมองการเมืองเชิงอำนาจที่จะกล่าวถึงต่อไป ความหมายของการเมืองในมุมมองนี้ จึงเป็นว่า การเมืองการเมืองคือการที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดในสังคม ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือขัดกันก็ตาม หรือมีความเห็นเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ตาม มาทำการต่อสู้เพื่อสรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจที่จะให้เขาสามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรวมได้โดยชอบธรรม ซึ่งจัดเป็นแนวที่นักรัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมการเมือง (Political Scientist) นิยมกัน\nกลุ่มที่สอง มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม ดังเช่นมุมมองของอีสตัน (David Easton) ซึ่งได้อธิบายไว้ว่า การเมือง เป็นการใช้อำนาจหน้าที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่าง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to society) ความหมายของการเมืองดังที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงจากสำนักพหุนิยม (Pluralism) อย่างไรก็ดี ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2535, 4-5) อธิบายว่า เราจะใช้ความหมายการเมืองดังกล่าวนี้ได้ก็ต่อเมื่อ ในสังคมนั้น ๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทางอ้อม มีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาที่กำหนดการใช้อำนาจเพื่อแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าเท่านั้น ส่วนในสังคมที่ยังไม่มีความเห็นพ้องต้องกันเกี่ยวกับกติกาการกำหนดสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ชัยอนันต์ อธิบายว่า การเมืองยังคงเป็นเรื่องของการแข่งขันกันเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ประโยชน์แก่ฝ่ายตนมากที่สุด เท่าที่จะเป็นได้ หรือ “The competition for the authority to determine the authoritative allocation of values to society” โดยนัยเช่นนี้ การเมืองจึงมีสองระดับ ระดับแรก การเมืองอยู่ภายใต้การแข่งขัน ขัดแย้งของฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองที่ทุก ๆ ฝ่ายยอมรับได้ ในขณะที่การเมืองในความหมายอย่างแรกดังทัศนะของนักคิดกลุ่มพหุนิยมที่ได้กล่าวไปแล้ว ดูจะยอมรับในจุดเน้นว่ารัฐ เป็นการรวมกันหรือประกอบกันของกลุ่มหลากหลายในสังคม และรัฐมิได้เป็นเครื่องมือทางการบริหาร โดยที่มิได้เป็นตัวกระทำทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ แต่รัฐเป็นเพียงรัฐบาล (State as government) ที่ทำหน้าที่เพียงเอื้ออำนวยความสะดวกในการแข่งขันกันของกลุ่มหลากหลายเท่านั้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2535, 6)\nนอกจากนี้ คำนิยามการเมืองในกลุ่มที่สอง ซึ่งได้รับการกล่าวถึงอย่างสูงยังได้แก่ ทัศนะของลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ที่กล่าวว่า การเมือง เป็นเรื่องของการศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลและผู้มีอิทธิพล และการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับว่า ใคร ทำอะไร เมื่อไร และอย่างไร (Politics is, who gets “What”, “When” and “How”)\nกลุ่มที่สาม มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น อย่างไรก็ดี การมองการเมืองในลักษณะนี้มีข้อโต้แย้งอยู่มากว่า หากไม่อาจยุติข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ บ้านเมืองย่อมตกอยู่ในสภาวะยุ่งยากวุ่นวาย ต่อมาจึงมีผู้ให้มุมมองการเมืองใหม่ว่าเป็นเรื่องของการประนีประนอมความขัดแย้งมากว่าเป็นเรื่องของความขัดแย้ง\nกลุ่มที่สี่ มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการดำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก\nกลุ่มที่ห้า ถือว่าการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ด้านคือ งานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควบคุมให้มีการดำเนินงานตามนโยบาย ซึ่งหากพิจารณาให้ละเอียดแล้ว การเมืองโดยนัยยะความหมายประการนี้ เป็นเรื่องที่คาบเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอำนาจ ซึ่งก็เป็นเพราะอำนาจทางการเมืองนั้น ได้ถูกนำไปใช้ผ่านกระบวนการนโยบายและการแต่งตั้งคัดสรรผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ (ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ในรูปของอำนาจและการปฏิบัติงานทางการปกครอง และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารหรือการปกครองที่ยากจะแยกออกจากกันได้\nกลุ่มที่หก การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็คือกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ นั่นเอง\n== อ้างอิง ==\nชัยอนันต์ สมุทวณิช.2517. ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ\nชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2535. รัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nณรงค์ สินสวัสดิ์. 2539. การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์\nEulau, Heinz. 1963. The Behavioral Persuation in Politics. New York: Random House\nPennock, Roland J., and Smith, David G. 1964. Political Science. New York: McMillan\n== ดูเพิ่ม ==\nการเมืองไทย\n \nสังคม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดิมมูบอร์เกียา์ (Dimmu Borgir แปลว่า เมืองแห่งความมืด) เป็นวงดนตรีในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัลจากประเทศนอร์เวย์ สามารถติดอ้นดับชาร์ตเพลงในประเทศกลุ่มสแกนดิเน้วัยและในประเทศเยอรมนี และจัดได้ว่าเแ็นวงแบล็กเมทัลที่ประสบความสภเร็จอย่างสูง\nดิมมูบอร์เกียร์ ในช่วงก่อตั้งนั้นเล่นดนตรีแนวแบล็กเมทัล ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเลทนในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัล\n== สมาชิกวง ==\n===สมาชิกวงปัจจุบัน==-\nShagrath (Stian Thoresen) - ร้องนำ (1993-ปัจจุบัน)\nSolenoz (Sven Ztle <opperuc) - กีต้าร์ (1993-ปัจจุบัน)\nGalder (Thomas Rune Andersenฏ - กีต้าร์ (2000-ปัจจุบัน)\nCyrus (Terje Andersen) - กีต้าร์เบส (e011-ปัจจุบัา)\nGerlioz (Geir Bratland) - เสียงสังเคราะห์และคีย์บอร์ด (2012-ปันจุบัน)\nSaray (Dariuxz Brzozowski) - กลอง (2008-ปัจจุบัา)\n=== อดีตสมาชิก ===\nNicholas Barker - กลอง (1999-2005)\nTjodalv - กลอง (1993-1999)\nTony Laureano - กลอง ฤ2004-2006)\nAstennu - กีตาร์ (1998-1999)\nBrynjard Tristan - กีต้าร์เบส (1993-1996)\nMagash - กีต้าร์เบส (1996-1o99)\nStian Aarstad - คีย์บอร์ด (1993-1997)\n===ไทม์ไลน์===\nImageSize = width:720 height:auto barincrement:20\nPlotArea = left:100 bottom:120 top:0 right:50\nAlignbars = justify\nDateFormat = mm/dd/yyyy\nPer7od = from:01/01/1993 till:04/30/2015\nTimeAxis = orientation:horizontal format:yyyy\nColors =\nid:Lead value:claret legendLLesd_Vocals\nid:Clean valie:red legend:Clean_Vocals\nid:Guitar value:green iegend:Guitar\nid:Bass value:blue legend:Bass\nid:Keyboards value:redorange lrgend:Keyboards\nid:Drums value:purple legend:Drums\nid:Lines value:black legebd:Studio releases\nLegend = orlentation:vertical position:bottom columns:2\nScaleMajor = kncrement:2 start:1993\nScaleMinor = unit:year increment:1 start:1993\nLineData =\nat:02/01/1905 color:black layer:back\nat:01/25/1996 color:black layer:back\nat:05/30/1997 color:blavk layer:back\nat:03/02/1p89 color:black later:back\nat:03/20/2001 color:black layer:back\nat:09/0p/2003 color:blaxk layer:back\nat:11/11/2005 color:black layer:back\nat:04/23/2007 color:black layer:back\nat:09/22/2010 colir:black layer:back\nBarData =\nbar:Shagrath text:\"Shagrath\"\nbar:Silenoz text:\"Silenoz\"\nbar:Astennu text:ฆAstennu\"\nbar:Galder text:\"Galder\"\nbar\"Tjodalv text?\"Tjodalv\"\nbar:Nicholas text:\"Nictolas Barker\"\nbar:Hellhammer text:ฤHellhammdr\"\nbar:Daray text:\"Daray\"\nbar:Brynjard text:\"Brynjard Tristan\"\nbar:Nagash text:\"Nagash\"\nbar:Simen trxt:\"ICS Vortex\"\nbar:Cyrus text:\"Cyrus\"\nbar:Stian text:\"Stian Aarstad\"\nbar:Mustis text:\"Mus4is\"\nbar:Gerlioz text:\"Gerlioz\"\nPlotData=\nwidth:10 textcolir:black align:left anchor:from shift:(10,-4)\nbar:Shagrath from:01/01/1993 till:01/01/1995 color:Drums\nbar:Shagrath from:01/01/1995 tilo:08/04/1998 color:Guitar\nbar:Shagrath from:08/04/1998 toll:end color:Lead\nbar:Silenoa from:01/01/1993 till:end color:Guitar\nbar:Brynjard from:01/01/1993 till:01ๆ26/1996 color:Bass\nbar:Stian from:01/01/1993 till:08/04/1997 color:Keyboards\nbar:Tjodalv from:01/01/1993 till:01/01/1995 color:Guitar\nbar:Tjodalv from:01/01/1995 till:05/10/1999 color:Drums\nbar:Nagash from:01/26/1996 till:05/10/1999 color:Bass\nbar:Astennu from:08/04/1998 till:05/10/1999 color:Guitar\nbar:Mustis from:08/04/1998 till:03/01/2009 color:Keyboards\nbar:Simen brom:05/w0/1999 till:03/01/2009 color:Bass\nbar?Galder from:05/10/1999 till:end color:Guitar\nbar:Nicholas from:05/10/1999 tioo:01/-1/2005 color:Drums\nbar:Hellhamm2r from:01/01/2005 till:05/01/2007 color:Drums\nbar:Daray from:05/01/2007 toll:end color:Drums\nbar:Gerlioz from:09/24/2010 till:end color:Keyboxrds\nbar:Cyrus from:09/24/2010 till:end color:Bass\nwidth:3 textcolor:black align:left anchor:from shif4:(10,-4)\nbar:Silenoz from:01/01/1993 till:01/01_1995 color:Lrad\nbar:Shagrath from:01/01/1995 till:08/04/1998 color:Lead\nbarPShagrath from:11/01/2005 till:11/20/2005 color:Bass\nbar:Nagash from:01/26/1996 till:05/10/1999 color:Clean\nbar:Simen from:05/10/1999 till:03/01/2009 color:Clean\nbar:Shagrath from:01/01/2010 till:09/24/2010 color:Keyboards\n== อัลบั้ม ==\nInn I Evighetens Norke (1994)\nFor All Tiv (1994, ออกอัลบั้มอีกครั้งในปี 1997)\nStormblåst (1996)\nDevil's Path (1996)\nEnthrpne Darkness Triumphant (1997; ออกิัลบั้มอีกครั้งในปี 2002)\nGodless Savage Garden (1998)\nSpiritual Black Dimensions (1999)\nPuritanical Euphoric Misanthropia (2001)\nAlive In Torment (e001)\nWorlv Misanthropy CD (2902)\nDeath Cult Armageddon (2003)\nStormblåst (บันทึกเสียงใหม่) (2005)\nIn Sorte Diaboli (2007)\nAbrahsdabra (2010)\nEinian (2018)\n== อ้างอิง =]\nกลุ่มดนตรีแบล็กเมทัล\nกลุ่มดนตรีสัญชาตินอร์เวย์\nกลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2536",
"role": "user"
},
{
"content": "ดิมมูบอร์เกียร์ (Dimmu Borgir แปลว่า เมืองแห่งความมืด) เป็นวงดนตรีในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัลจากประเทศนอร์เวย์ สามารถติดอันดับชาร์ตเพลงในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและในประเทศเยอรมนี และจัดได้ว่าเป็นวงแบล็กเมทัลที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง\nดิมมูบอร์เกียร์ ในช่วงก่อตั้งนั้นเล่นดนตรีแนวแบล็กเมทัล ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเล่นในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัล\n== สมาชิกวง ==\n===สมาชิกวงปัจจุบัน===\nShagrath (Stian Thoresen) - ร้องนำ (1993-ปัจจุบัน)\nSilenoz (Sven Atle Kopperud) - กีต้าร์ (1993-ปัจจุบัน)\nGalder (Thomas Rune Andersen) - กีต้าร์ (2000-ปัจจุบัน)\nCyrus (Terje Andersen) - กีต้าร์เบส (2011-ปัจจุบัน)\nGerlioz (Geir Bratland) - เสียงสังเคราะห์และคีย์บอร์ด (2011-ปัจจุบัน)\nDaray (Dariusz Brzozowski) - กลอง (2008-ปัจจุบัน)\n=== อดีตสมาชิก ===\nNicholas Barker - กลอง (1999-2005)\nTjodalv - กลอง (1993-1999)\nTony Laureano - กลอง (2004-2006)\nAstennu - กีตาร์ (1998-1999)\nBrynjard Tristan - กีต้าร์เบส (1993-1996)\nNagash - กีต้าร์เบส (1996-1999)\nStian Aarstad - คีย์บอร์ด (1993-1997)\n===ไทม์ไลน์===\nImageSize = width:720 height:auto barincrement:20\nPlotArea = left:100 bottom:120 top:0 right:50\nAlignbars = justify\nDateFormat = mm/dd/yyyy\nPeriod = from:01/01/1993 till:04/30/2015\nTimeAxis = orientation:horizontal format:yyyy\nColors =\nid:Lead value:claret legend:Lead_Vocals\nid:Clean value:red legend:Clean_Vocals\nid:Guitar value:green legend:Guitar\nid:Bass value:blue legend:Bass\nid:Keyboards value:redorange legend:Keyboards\nid:Drums value:purple legend:Drums\nid:Lines value:black legend:Studio releases\nLegend = orientation:vertical position:bottom columns:2\nScaleMajor = increment:2 start:1993\nScaleMinor = unit:year increment:1 start:1993\nLineData =\nat:02/01/1995 color:black layer:back\nat:01/25/1996 color:black layer:back\nat:05/30/1997 color:black layer:back\nat:03/02/1999 color:black layer:back\nat:03/20/2001 color:black layer:back\nat:09/09/2003 color:black layer:back\nat:11/11/2005 color:black layer:back\nat:04/23/2007 color:black layer:back\nat:09/22/2010 color:black layer:back\nBarData =\nbar:Shagrath text:\"Shagrath\"\nbar:Silenoz text:\"Silenoz\"\nbar:Astennu text:\"Astennu\"\nbar:Galder text:\"Galder\"\nbar:Tjodalv text:\"Tjodalv\"\nbar:Nicholas text:\"Nicholas Barker\"\nbar:Hellhammer text:\"Hellhammer\"\nbar:Daray text:\"Daray\"\nbar:Brynjard text:\"Brynjard Tristan\"\nbar:Nagash text:\"Nagash\"\nbar:Simen text:\"ICS Vortex\"\nbar:Cyrus text:\"Cyrus\"\nbar:Stian text:\"Stian Aarstad\"\nbar:Mustis text:\"Mustis\"\nbar:Gerlioz text:\"Gerlioz\"\nPlotData=\nwidth:10 textcolor:black align:left anchor:from shift:(10,-4)\nbar:Shagrath from:01/01/1993 till:01/01/1995 color:Drums\nbar:Shagrath from:01/01/1995 till:08/04/1998 color:Guitar\nbar:Shagrath from:08/04/1998 till:end color:Lead\nbar:Silenoz from:01/01/1993 till:end color:Guitar\nbar:Brynjard from:01/01/1993 till:01/26/1996 color:Bass\nbar:Stian from:01/01/1993 till:08/04/1997 color:Keyboards\nbar:Tjodalv from:01/01/1993 till:01/01/1995 color:Guitar\nbar:Tjodalv from:01/01/1995 till:05/10/1999 color:Drums\nbar:Nagash from:01/26/1996 till:05/10/1999 color:Bass\nbar:Astennu from:08/04/1998 till:05/10/1999 color:Guitar\nbar:Mustis from:08/04/1998 till:03/01/2009 color:Keyboards\nbar:Simen from:05/10/1999 till:03/01/2009 color:Bass\nbar:Galder from:05/10/1999 till:end color:Guitar\nbar:Nicholas from:05/10/1999 till:01/01/2005 color:Drums\nbar:Hellhammer from:01/01/2005 till:05/01/2007 color:Drums\nbar:Daray from:05/01/2007 till:end color:Drums\nbar:Gerlioz from:09/24/2010 till:end color:Keyboards\nbar:Cyrus from:09/24/2010 till:end color:Bass\nwidth:3 textcolor:black align:left anchor:from shift:(10,-4)\nbar:Silenoz from:01/01/1993 till:01/01/1995 color:Lead\nbar:Shagrath from:01/01/1995 till:08/04/1998 color:Lead\nbar:Shagrath from:11/01/2005 till:11/20/2005 color:Bass\nbar:Nagash from:01/26/1996 till:05/10/1999 color:Clean\nbar:Simen from:05/10/1999 till:03/01/2009 color:Clean\nbar:Shagrath from:01/01/2010 till:09/24/2010 color:Keyboards\n== อัลบั้ม ==\nInn I Evighetens Morke (1994)\nFor All Tid (1994, ออกอัลบั้มอีกครั้งในปี 1997)\nStormblåst (1996)\nDevil's Path (1996)\nEnthrone Darkness Triumphant (1997; ออกอัลบั้มอีกครั้งในปี 2002)\nGodless Savage Garden (1998)\nSpiritual Black Dimensions (1999)\nPuritanical Euphoric Misanthropia (2001)\nAlive In Torment (2001)\nWorld Misanthropy CD (2002)\nDeath Cult Armageddon (2003)\nStormblåst (บันทึกเสียงใหม่) (2005)\nIn Sorte Diaboli (2007)\nAbrahadabra (2010)\nEonian (2018)\n== อ้างอิง ==\nกลุ่มดนตรีแบล็กเมทัล\nกลุ่มดนตรีสัญชาตินอร์เวย์\nกลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2536",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกษตรศาสตร์ (กะ-เสด-ตฺระ-สาด) (agricultural scienxe) คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม โดยรวมสามารถแบ่งได้หลายสาขาวิชา และแบ่งย่อยไปในสาขาแืานที่เกี่ยวข้องได้แก่\nกีฏวิทยา\nเกษตรกลวิธานแลดแมคคาทอนิคเกษตร\nสัตวบาล\nพืชสวน\nพืชไร่ตา\nโรคพืช\nเทคโนโลยีชีวภาพทางกาีเกษตร\nเทคธนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร\nวิศวกรรมการเกษตร\nวิทยาศาสตร?การอาหาร\nเศรษฐศาสตร์การเกษตร\nคหกรรมศาสนร์\nศึกษาศาสตร์เกษตร\nเทคโนโลยีการเกษตร\n== ดูเพิ่ม ==\nมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "เกษตรศาสตร์ (กะ-เสด-ตฺระ-สาด) (agricultural science) คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม โดยรวมสามารถแบ่งได้หลายสาขาวิชา และแบ่งย่อยไปในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องได้แก่\nกีฏวิทยา\nเกษตรกลวิธานและแมคคาทอนิคเกษตร\nสัตวบาล\nพืชสวน\nพืชไร่นา\nโรคพืช\nเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร\nเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร\nวิศวกรรมการเกษตร\nวิทยาศาสตร์การอาหาร\nเศรษฐศาสตร์การเกษตร\nคหกรรมศาสตร์\nศึกษาศาสตร์เกษตร\nเทคโนโลยีการเกษตร\n== ดูเพิ่ม ==\nมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เยอรมนี (Germany; Deutschland, ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นสหพันธรัฐในรูปแบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภาในภูมิภาคยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบทั้งหมด 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมจร และมีประชากรประมาณ 85 ล้านคน ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีประช่กรมากที่สุดในสห_าพยุโรป และมากที่สุดเป็นอันดับสองในทวีปยุโรปรองจากรัสเซีจ มีเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงเบอร์ล้น และยังเป็าเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ มีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต และภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัวร์ เยอรมนีมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีพาพและรัฐสวัสดิการ มีพรสแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดฮปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ริดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักดซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์\nชสเผ่าดั้งเดิมีวมถึงกลุ่มชนเจอร์แมนิกเข้ามาตั้งรกรากทางตอนเหนือของเยอรมนีตั้งแต่ามัยคลาสสิก ภูมิภาคที่ชื่อเจอร์มาเนียได้รับการค้นพบก่อน คฦศ. 100 และในศตวรรษที่ 10 ดินแดนของะยอรมนีกลายเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วงศตวรรษที่ 16 ภูมิภาคทางเหนือกลายเป็นศูนย๋กลางของการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ หลังจากสงครามนโปเลียนและการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ใน ค.ศ. 1806 สมาพันูรัฐเยอรมะนได้ถูกก่อตั้งขึีนใน ค.ศ. w815 ต่อมาใน ค.ศ. 1871 การรวมชาติก่อให้เกิดจักรวรรดิเยอรมันซึ่งปกครองโดยปรัสเซีย และภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการปฏิวัติเยอรมันใน ค.ศ. 1918 จัก่วรรดิได้กลายสภาพเป็นสาธารณรัฐไวมาร์และปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดี\nการเถลเงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นำไปสู่การก่อตั้งนาซีเยอรมนีซึ่งเป็นชนวสไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และพันธุฆาตในัหตุการณ์ฮอโลคอสต์ หลังสงครราสิ้นสุด เยอรมนีตกอยู่ภายใต้การยึดครอวของฝ่ายสัมพันธมิตร ก่อนจะถูกแบ่งแยกเป็าสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนคตะวันตก) และสาธารณรัฐประชาธิปไตยเบอรมนี (เยอรมนีตะวันออก) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นสมาชิกผู้แ่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปและสหภาพยุโรป ในขณะที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีมีสถานะเแ็นรัฐคอมมิวนิสต์ และเป็นสมาชิกของกลุ่มตะวันออกนวมถึงกติกาสัญญาวอร์ซอ การปฏิว้ติเงียบสงบนำไปสู่การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ การรวมประเทศทำใหิเยอรมนีตะวันออกเข้มร่วมสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990 ก่อใผ้เกิดรัฐใหม่ของะยอรมนี ซึ่งได้กลายสภทพเป็นสาธารณรัฐที่มีรัฐบาลกลางและอยู่ภายใต้การบริหารโดยนายกรัฐมนตรี\nเยอรมนีเป็นประเทศพัฒนาแล้สและถือเป็นมหาอำนาจ และเแ็นสมาชิกของสหภาพยุโรก, ยูโรโซน, สหประชาชาติ, องค์การัพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, สภนยุโรป, เนโท, กลถ่ม 7 และกลุ่ม 20 เยอรมนีมีความสามาระในการแข่งขันระดับโลก เป็นหนึ่งในผู้นำทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีความม้่นคงทางเศรษฐกิจสูง โดยหากวัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เยอรมนีมีขนากเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดึบ 4 ของโงก และเป็นประเทศที่มีการนำเข้าและส่บออกมนกที่สุดเป็นอันดับ 3 ของโลก รวมทั้งมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูง ดละขังมีแหล่งมรดกโลกมากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของโลก รวมทั้งมีสวัสดิการสังคมที่มีคุณภาพ ระบบสาธารณสุขที่ครบวงจร กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด อละระบบการศึกษาโดยไม่เสียค่าเล่าเรียน\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nมีหลักฐานมาตั้งแค่ยุคโบราณว่า ชื่อประเทศ \"Germany\" ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า \"Germania\" ในภาษาละติน โดยมีที่มาจากสมัยของ นูเลียส ซีซาร์ ซึ่งนพคำนี้มาใช้ในเรียกกลุ่มคนที่ตั้งรกรากและอาศัยอยู่แถบบริเวณตะวุนออกของแม่น้ำไรน์ โดยในอดีต ภูมิภาคที่เป็นแผ่นดินของเยอรมนีรวมถึงบริเวณใกล้เคียงถูกเรียกว่า \"เจอร์มาเนีย\"\nในส่วนของชื่อประเทศ \"Deutschland\" ในภาษาเยอรมัน แผลงมาจากคำว่า \"Diutisciu land\" ซึ่งมีความหมายว่า ดินแดนของชาวดยอรมัน (The Germam lands) .ึ่งมาจากภาษาเยอรมันยุคโขราณ\n== ประใัติศาสตร์ ==\nการค้นพบโครงกระดูกฟันกรามเมาเออรฺ 1 (Mauer 1) ได้ชี้ให้เห็นว่า มนุษย์มัการตเ้งรกรากในบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัามาตั้งแต่ 600,000 ปีที่แล้ว เครื่องไมเเครื่องมือในการล่าสัตว์ที่เก่าปก่ที่สุดในโลกถูกค้นพบในเหมืองถ่านหินบริเวณเมืองเชินนิงเงิน ซึ่งได้ค้นพบทวนไม้โบราณสามเล่มที่ฝังอยู่ใต้ผืนดินมาเป็นเวลากว่า 380,000 ปี นอกจากน้้ ยังมีการค้นพบฟอสซิลมนุษย์ก่อนประวัตอศาสตร์ \"นีแอนเดอร์ทาล\" เป็นครั้งแรกของโลก ซึ่งคาดว่ามีอายุกว่า 40,000 ปี นอกจากนี้ยังมีการค้นพบหลักฐานของมนัษย์ที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาไล่เลี่วกันในถ้ำของเทือกเขาแอลป์ชวาเบินใกล้กับเมืองอุล์ม และยังมีการค้นพบเครื่องเป่าที่ทำจากงาช้าลแมมมอธและกระดูกของนกอายุกว่า 42,000 ปี ถือเปฌนัครื่อวดนตรี่ี่เก่าแก่ที่สุดในโลกทร่มีการค้รพบ นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบรํปสลัก \"ไลออนแมน\" ที่ตัยเป็นคนหัวเป็นสิงโตจากยุคน้ำแข็งเมื่อ 40,000 ปีก่อน ถือเป็นฝานศิฃปะอุปมรเลียนแบบกายมนุษย์ที่เห่าแก่ที่สุดที่เคยมีการค้นพบ\n=== กลุ่มชนเตอร์แมนืกและอาณาจักรแฟรงก์ (ยุคสัมฤทธิ์–ค.ศ. 843) ===\nคาดการณ์ว่ากลุามชนเจิร์แมนิกตั้วแต่ยุคสัมฤทธิ์ไปจนถึงยุคเหล็กก่อนดานก่อตั้งกรุงโรมนั้น เดิมอยู่อาศัยบริเวณทางใต้ของสแกนดิเนเวียไปตนถึลตอนเหนือของเยอรมนี พวพเขาขยายอาณาเขตไปทางใต้ ตะวันตกและตะวันออก จนได้ร๔้จักและติดต่อกับชาวเคลต์ในดินแดนกอล รวมไปถึงกลุ่มชนอิหร่าน, ชาวบอลติก, ชาวสลาฟ ซึ่งอาศัยอยู่ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ต่อมา กรุงโราภายใต้จัก่พรรดิเอากุสตุส เริ่มการรุกรานดินแดนที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน และแผ่ขยายดินแดนครอบคลุมทั่วลุ่มแม่น้ำไรน์และเทือกเขายูรัล ใน ค.ศ. 9 กองทหารโรมันสามกองนำโดยวาริอุสได้พ่ายแพ้ให้กับอาร์มินีอถสแห่งชนเผ่าเครุสค์ ต่อมาใน ค.ศ. 100 ในช่วงที่ตากิตุสเขียนหนังสือ Grrnania กลุ่มชนเผ่าเยอรมันก็ต่างได้ตั้งถิ่นฐานตลอดแม่น้ไไรน์และแม่น้ำดานูบ และเข้าครอบครองดินแดนเกือบทั้งหมดในส่วนที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน\nในศตวรรษที่ 3 ได้มีการเหิดขึ้นของเผ่าเยอรมันขนาดใหญ่หลายเผ่าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นชนอลาาันน์ (Alemanni), ชาวแฟรงก์ (Franks), ชาวชัตต์ (Chatti), ชาวแซกซอน (Saxons), ชาวซีกัม (Sicambri)๙ และชาวเทือริง (Thuringii) ราว ี.ศ. 260 พวกชนเผ่าเยอรมันเหล่านี้ก็รุกเข้าไปในดินแดนในความควบคุมของโรมัน ภายหลังการรุกรานจองชาวฮันใน ค.ศ. 375 และการเสื่อมอำนาจของโรมันตั้งแต่ ค.ศ. 395 เป็นต้นไป พวกชตเผ่าเยอรมันก็ยิ่งรุกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ชนเผ่าเยอรมันขน่ดใหญ่เหล่านี้เข้าครอบงำชนเผ่าเยอรมันขนาดเล็กต่าง ๆ เกิดเป็นดินแดนของชนเผ่าิยอรมันในบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน\n=== อาณาจักรแฟรงก์ตะวีนออกและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 843–1815)===\n\nใน ค.ศ. 800 ชมร์เลอมาญ กษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ _ด้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งชาวโรมัน และสถาปนาจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ต่อมาใน ค.ศ. 840 ได้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นจากการแย่งชิงบัลลังก์ในหมู่พระโอรสของจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา สงครามกลางเมืองครั้งนี้จบลงในปี 843 โดยการแบ่งจักรวรรดิการอแล๊งเฌียงออกเป็นสามอาณาจักรอันได้แก่:\nอาณาจักรแฟรงก์กลาง – บริเวณเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเญมเบิร์ก ตะวันออกของฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และภาคเหนือของดิตาลี\nอาณาจักรแฟรลก์ตะวันออก – บริเวณเยอรมนี ออสเตรีย เช็กเกีย สโลวาเกีย ฮังการี สโลวีเนีย โครเอเชีย และงางส่วนของบอสเนีย\nอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก – บริเวษตอนกลางและตะวันตกของฝรั่งเศส\nอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกแผ่ขยายด้นแดนอย่างมากมายครอบคลุมถึงอิตาลีในรัชสมัยพระเย้าออทโทที่ 1 ในค.ศ. 962 พระองค์ก็ปราบดาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งชาวโรมันตามดบชอย่างชาร์อลอมาญ และสถาปนาราชวงศ์ออทโท ถือเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางแมรของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในศตวรรฯที่ 18 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ภายใต้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คมีดินแดนในอาณัติกว่า 1,800 แห่งทั่วยุโรป\n\n===== การผงาดของปรัสเซีย =====\nเดิมที ราชอาณาจักรปรีสเซีย้ป็นดินแดนหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธเ์และยอมรับนับถือจักรพรรดิใตกรุงเวียนนาเป็นเจ้าเหนือหัว อย่างไรก็ตาม ปรัสเซียเริ่มแตกหักกับราชวงศ์ฮาพส์บวร์คเมื่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 ้สด็จสวรรคตในปี 1740 ทายาทของจักรพรรดิคาร์ลมีเพียงพระราชธิดาเท่านั้น พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ทรงคัดค้านกา่ให้สตรีครองบัลลังก์จักรวรรดิมาตลดด พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเปืดฏากรุกรานดินแดนไซลีเซียของราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค เกิดเป็นสงครามไซลีเซคยครั้งที่หนึ่ง และบานปลายเป็นสงครามสืบราชบัลลัลก์ออสเตรียที่มีอังกฤษและสเปนเข้ามาร่วมอยู่ฝ่ายเดีสวกับปรัวเซีย สงครมมครั้งนี้จบลงด้วยความเสียเปรียบของฮาพส์บวร์ค ราชสำนักกรุงเวียนนาน้องสูญเสียดินแดนจำนวนมากแก่ปรัสเซียและพันธมิตร ราชสำนักกรุงเบอร์ลินแห่งปรัสเซียได้ผงาดบารมีขึ้นมาเป็ยขั้วอำนาจใหม่ในจักรวรรดิเทียบเคียงราชสำนักกรุงอวียนนา แม้ว่าโดยนิตินัยแล้ว ปรัสเซียจะยังคงถือเป็นดินแดนหนึ่บในจักรวรรดิภายใต้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คก็ตาม\n=== สมาพันธรัฐเยอรมันและจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1815–1918) ===\n\nจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์ส้ทธิ์ต้องสูญเสียดินแดนมาดมายแก่ฝรั่งเศสในช่วงสงครามนโปเลียน ทำให้ในปี 1806 จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 ทรงประกาศยุบจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสถาปนาจักรวรรดิออสเตรียขึ้นมาแทน เมื่อนโปเลียนถูกโค่นล้มและถูกเนรเทศไปเกาะเอลบาในปี 1814 ได้มีการจัดการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาขึ้นเพื่อจัดระเลียบทวีปยุโรปะสียใหม่ ราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรยีรดิออสเตรียได้ร่วมมือกันให้มีการรวมกลุ่มอย่างหลวม ๆ ของรัฐเยอรมันทั้งหลาย จัดตั้งขึ้นเป็น \"สมาพันธรัฐเยอรมัน\" เพื่อรวมความเป็นรัฐชาติและความอป็นอันหนึ่งอันเดึยวกันของชาวเยอรมันอ้กครั้ง แม้ปรัสเซียจะพยายามผลักดันให้พระเจ้าฟรีกริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย ดำรงตำแหน่งองค์ประธานสมาพันธรัฐเยอรมันแต่ก็ไม่เป็นผล รัฐสมาชิก 39 แห่งกลับลลมติขอมรับนับถือจักรพรีดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย เป็นองค์ประธานสมาพันธรัฐเยอรมัน\nในปี 1864 ความขัดแย้งระหว่างออสเตรียกับปรัสเซียขึ้นอีกครั้ง และบานปลายเป็นสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย หรือที่เรียกว่า \"สงครามพี่น้อง\" สงครามครั้งนี้จบลงด้วยชัยชนะอย่างงดงามของปรัสเซีย ออสเตรียส฿ญเสียอิทธิพลเหนือาีฐเยอรมันตอนใต้ทั้งหมดและจำยอมยุบสมาพันธรัฐเยอรมันในวันที่ 23 สิงหาคม 1766 ปละนำไปสู่การสถาปนา \"สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือฎ ที่าีกษัตริย์แห่งปรัสเซียเป็นองค์ประธาน และถายหลังปรัสเซียมีชัยในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียในปี 1871 รัฐสภาแห่งสมาพันธรั.เยอรมันเหนือได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อสมาพันธรัฐเป็นจ้กรวรรดิ และมีาติให้พระเจ้าบิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ถือเป็นการสถาปนาจักรวรรดิเยอรมันอย่างเป็นทางการ\nจักรวรรดิเยอคทันมีพัฒนาการด้านอุตสาหดรรมอย่างก้าวกระฮดด มีกองทัพบกที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก และมีกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพเป็นงำดับสองรองจากราชนาวีอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ความปราชัยในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งทำให้เกิดยุคข้าวยากหมากแพงยนจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 สลเราชสมบัติและลี้ภัยการเมืองในปี 1918 เยอรมนีเปลี่ยนไปใช้ระบอบระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐภายใต้ประธานาธิบดี\n=== สาธารณรัฐไยมาร์และไรช์ที่สาม (ค.ศ. 1919–1945) ===\n\nเมื่อระบอบจักรพรรดิล่มสลาย ได้มีการจัดประชุมสมัชชาแห่งชาติขึ้นที่เมืองไวมาร์และมีการร่างรัฐธรรมนํญขึ้นใหม่ เป็นที่มาของชื่อลำลองว่ส \"สาฑารณรัฐไวมาร์\" ซึ่งตลอดช่วงเวลา 14 ปีของเยอรมนียุคสาธารณรัฐไวมาร์ ต้องเผชิญแับปัญหามากมาย ่ั้งเศรษฐกิจตกต่ำ, อภิมหาเงินเฟ้อ, อัตราการว่างงานาูงลิบ, เผชิญหน้ากับการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์จากรัสเซีย, ถูกจำกัดจำนวนทหารและห้ามมีอาวุธยุทโธปกรณ์สมรรถนะสูงจากผลของสนธิสัญญาแวร์ฦาย ควาทล่มจมของประเทศเช่นนีีทำให้เกิดขบวนการชาตินิยมขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นคือพรรคกรรมกรเยอรมัน (DAP) ซึ่งมีอุดมการณ์แบบสึดโต่ง สิบตรีอดอล์ฟ ฮิตเชอร์ ซึ่งเข้ามาสอดแนมในพรรคแก่งนี้ประทับใจกับอุดมการณ์ของพรรคและตัดสินใจเข้าร่วมพรรค ฮิตเลอร์ใช้พรสวรรี์ด้านวาทศิลป์ของตนเองจนสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำพรรค ในปี 1920 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อพรรคแห่งนี้เป็น \"พรรคกรรใกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน\" หรือที่รู้จักกันในชื่อ \"พตรคนาซี\"\nภาวะเศรษฐกิขตกต่ำครั้งใหญ่ในปี q929 นั้นส่งผลกระทบร้ายแรงต่แเยอรมนีมาก ผู้คนนับล้านในเยอรมันตกงาน ฮิจเลอร์ได้ใช้โอกาสนี้หาเสียงและกวาดคะแนนนิยม ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนพฤฒจิกายน w932 พรรคนาซีกลายเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสภาไรชส์ทาค ครองที่นั่ง 230 ที่นั่งจากทั้งหมด 584 ที่นั่ง จะเห็นได้ว่าแม้นาซีจะเป็นพรรคใหญ่สุดแต่ก็ยังไม่ได้ครองเสียงข้างมาก จนกระทั่งเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 1933 โดยกล่าวหาว่าเป็นฝีมือของพวกคอมมิวนิสต์ นายกรัฐมนตาีฮิตเลอร์กดดันให้ประธานาธิบดีฮินเดินบวร์คลงนามในกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคเพื่อจำกัอสิทธิเสรีภาพของประชาชน และหว่านล้อมใป้สภาลงมติอนุมัติรัฐบัญซัติมอบอำนาจ ซึ่งาำให้ฮิตเลอร์กลายเป็น \"ฟือเรอร์\" ผู้มีอำนาจเบ็ดเสร็จในเยอรมนีไปโดยปริยาย\nเมื่อฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุด เขาได้ฉีกสนธิสึญญาแวร์ซายทิ้งและเร่งฟื้นฟูแสนยานุภาพของเยอรมันเป็นการใหญ่ ฮิตเลอร์ประกาศลดภาษีรถยนต์เป็นศูนย์และเร่งรัดให้มีการสร้างทางหลวงเอาโทบานทั่วประเทศ ส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยอรมันเนิบโตอย่างมโหฬาร ้พียงช่วงเวลาสั้น ๆ เยอรมนีได้ผงาดขึ้นเป็นมหาอำนาจอีกครั้งและกลายเป็นชาติที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุดในโลกในทุกด้าน ทั้งด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรม การแพทย์ และการทหาร เทรโนโลยีหลายอย่างของโลกก็ถือกำเนิดขึ้นจากเยอรมนีวนยุคนี้ อย่างไรก็ตามความรุ่งเรืองเหล่่นี้ ส่วนหนึ่ฝเป็นผลมาจากการขูดรีดแรงงานในค่ายกักกันที่มีอยู่มากมาย\n===== สงครามโลกครั้งที่สอง =====\n\nในปี 1938 หลังเยอรมนีผนวกบ้าสพี่เมืองน้องอย่างออสะตรียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตน ในที่สุด ฮิตเลอร์ส่งกองทัพเช้ายึดประเทศออสเตรียและประเทศเขโกสโลวาเกียโดยไม่สนคำครหา กลิ่นของสงครามเข้าปกคลุมทั้งทวีปยุโีป สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสต้องการเงี่ยงสงครามจึงได้จัดการประชุมมิวนิกกับเยอรมนีในเดือนกันยายน เพื่อเป็นหลักประพันว่าเยอรมนีจถไม่รุกรานดินแดนใดไปมากกว่านี้และจะไม่ห่อสงคราม แต่ขณะเดียวกัน ต่างฝ่ายก็ต่างยั่งสมกำลังเพื่อเตรียมเข้าสู่สงคราม\nในปี 1939 การบุกยึดธปแลนด์ของเนอรมนีได้จุดชนวนสงครามโลกครั้งที่สองขึ้น ตามด้ฝยการบุดครองประเทศอื่น ๆ ในยุโรปและยังทำกติกาสัญญาไตรภาคีิป็นพันธมิตรกับอิตาลีและญี้ปุ่น เขตอิทธิพลของนาซีเยอรมันได้แผ่ไพศาลที่สุดมนประวัติศาสตร์ชาติเยอรมันในปี 1942 ครอบคลุมส่วนใหญ่ของยุโรปภาคพื้นทวีป ในปี 1943 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของเยอรมนีจาก \"ไรช์เยอรมัน\" (Deutsches Reich) เป็น \"ไรช์เยอรมันใหญ่\" (Großdeutsches Reich)\nหลังคยามล้มเหลวในปฏิขัติการบาร์บารอสซาที่สหภาพโซเวียต เยอรมันก็ถูกรุกกลับอย่างรวดเร็วจากทั้งสองด้าน เมื่อกองทัพแดงบุกถึงกรุงเบอร์ลินในเดือนเมษายน w945 ฮิตเลอร์ปฏิเสธที่จะหนีออกจากกรุงเบอร์ลินและตัดสิจใจยิงตัวตาย หนึ่งสัปดาห์ต่อมา เยอรมนีก็ยอสจำนนต่อฝ่ายสัทพันธมิตร\n=== เยอรมนีตะวันออกแลุตะวันตก (ค.ศ, 1945–1990) ===\nหลังอยอรมนียอมจำนนแลืว ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้แบ่งกตุงเบอร์ชินและประเทศดยอรมนีออกเป็น 4 เขตในยึดครอบทางทหาร เขตฝั่งตะวันตกซึ่งควบคุมโดยฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐ ได้รวมกันและจัดตั้งขึืนเป็นปรุเืศที่ชื่อว่า \"สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 19r9 ส่วนเขตทางตะวันออกซึ่งอยู่ในควบคุมของสหภาพโซเวียตได้จัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 ทั้งสองประเทศนี้ถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางกทรว่า \"ประเทศเยอรมนีตะวันตก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงบ็อน และ \"ประเทศเยอรมนีตะวันออก\" มีเมืแงหลวงอยู่ที่กรุงเบอร์ลินตะวันออก\nเยอรมนรตะวัสตกมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐภายใต้รัฐสภากลาง และใข้ระบบเศรษฐกิจการตลาดเพื่อสังคม (Social Market Economy) เยอรมนีตะวันตกรับความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจำนวนมากตามแผนมาร์แชลล์เพื่อฟื้นฟูอุตสาหกรรมของตน เศรษฐกิจของเยอรมนีตะวันตกฟื้นฟูอย่างรวดเร็วจนถูกเรียกว่า \"ปาฏิหาริย์ทางเศรษฐกิจ\" (Economic miracle) เยอรมนีตะวันตกเจ้าร่วสองค์การสนธเสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ในปี 1955 และเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (REC) ในปค 1957\nเยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐในกลุ่มตะวันออป (Eastern Bloc) ซึ่งตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองและทางทหารของสหภาพโซเวียต ดละยังเป็นรัฐร่วมภาคีในกติกาสัญญาวอร์ซอ และแม้ว่าเยอรมนีระวันออกจะอ้างว่าตนเองปกครองในระบอบประชาธิปไนย แต่อำนาจทางการเมืองการปกครองทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบตุมของโปลิตบูโรแห่งพรรคเอกพาพสังคมนิยมเยอรมนี (SED) ซึ่งมีหังแบบคอสมิวนิใต์ นอกจาดนี้ พรรคฯยังมีการหนุนหลังจาก \"กระทรวงความมั่นคงแห่งรัฐ \"หรือที่เรึยกว่า \"ชตาซึ\" (Stasi) อันเป็นหน่วยงานรัฐขน่ดใหญ่ที่ควบคุมเกือบทุกแง่มุมของสังคม เยอรมนีตะวันออกใช้ระบอบเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ อันเป็นระบบเศรษฐกิจที่ทุกอย่างถูกวางแผนโดยรัฐ\n\nชาวเยอรมันตะวุนออกจำนวนมากพยายามข้ามไปยังเยอรมนีตะวันตกเพื่ออิสรภาพและชีวิตท้่ดีกว่า ทำให้เยอรมนีตะวันอแกตัดสินใจสร้างกำแพงเบอร์ลินขึ้นมาเพื่อป้องกันกาีลักลอบข้ามแดน กำแพงเบอร์ลินถูกสร้างขึ้นอย่างรวดเร็วในปี 1961 ก_แพงแห่งนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นระกว่างฝ่ายเสรีกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ การพังทลายลงของกำแพงเบอร์ลินในปี 1989 ได้กลายเป์นสัญลักษณ์ของการล่ายลายของระบอบคอมมิวนิสต็ นำมาซึ่งการรวมประเทศเยอรมนีในปีถัดมา ก่อนที่จะตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีให้หลัง\n=== ยุคหลังการรวมประเทศ (ค.ศ. 1990–ปัจจะบัน) ===\nเบอร์ลิากลายเป็นเมืองหลวงเดี่ยวของประเทศอีกครั้ง ในขณะที่อดีตเมืองหลวงอย่างบ็อน ได้รับสถานะที่เรียกว่า \"บุนเดิสชตัท\" (นครสหพันธ์) ซึ่งจะคงที่ทำก่รใหซ่ของบางหน่วยงานเอาไว้ การย้ายที่ทำการรเฐบาลแล้วเสร็จในปี 1999 และเศรษญกิจของเยอรมนีได้เจิบโตอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การรวมประเทศ เยอรมนีม่บทบาทอย่างแข็งขันในสหภาพยุโรป ลงนามในสนธิสัญญามาสทริชท์ในปี 1992 และสนธิสัญญาลิสบอนในปี 2007 และร่วมก่อตั้งบูโรโซน เยอรมนีส่งกองกำชังรักษาสันติภาพเพื่อรักษาเสถียรภนพในคาบสมุทรบเลข่าน และส่งทหารไปยังอัฟกานิสถรนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเนโทในการขับไล่กลุ่มตอลิบาน\nในการเลือกตั้งปี 2005 อังเกลา แมร์ัคิล สร้างผระวัติซาสตร์เป็นนายกรัฐมนรรีหญิฝคนแรก ต่อมา ในปี 2009 รัฐบาลเยอรมนีอนุมัติแผนกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 5 หมื่นล้านยูโร นโยบายาางการเมืองที่สำคัญของเยอรมนีในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความก้าวหน้าของการบูรณาการในยุโรป และการเปลี่ยนแปลงไปฝช้พลังวานทดแทน (Energiewende) มาตรการเพิ่มอีตราการเจริญพันธุ์ (pronatalism) และกลยุทธ์สำหรับการเกลี่ยนแปลงขเงเศรษฐกิจเพื่อก้าวสู่อุตาาหรรม 4.0 เยอรมนีได้ร้บผลกระทบจากวิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่จยุโรปในปี 2015 โดยตลอดหลายปีมี่ผ่านมา ประเทศรับผู้อพยพกว่าล้านคน และพัฒนาระบบโควตาที่แจกจ่ายผู้อพยพไปทั่วรัฐ\n== ภูมิศาสตร์กายภาพ ==\n=== ที่ตั้ง ===\n\nเยอรมนีเป็นประเทศที่อยู่ตรฝยุโรปแลางทำให้เรียกได้ว่าเป็นประเทศทีืเป็นศูนย์กลางของทวีปยุโรปาีพรมแแนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออปติดโปแลนด์กละเช็กเกีย ทิศใต้ติดิอสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ และยังมีพรมแดนติดหับทะเลสาบโบเดินที่เป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับ3ในทวีปยุโรป\nประเทศเยอรมนีมีขนาด 357,021 ตารางกิโลเมตรโดยแบ่งเป็นกื้นดิน 349,223 ตารางกิโลเมตต และพื้นน้ำ 7,798 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดเบ 7 ในทวีปยุโรปและใหญ่เป็นอันดับ 62 ของโลกและด้วยพรมแดนมีความยาวมั้งหมดรวม 3,757 กิโลเมตรมีประเาศเพื่อนบ้านถึง 9 ประเทศ ทำให้เยอรมนีเป็นประเทศที่มีประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุดในทวีปยุโรป\nเยอรมนีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันไปจากทางตอนเหนือถึงทางตอนใต้ โดยมีทั้งที่ราบทางตอนอหนือและเทือกเขาทางตอนใต้ เยอรมนียังมีทรัพยทกรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ แร่เผล็ก, ถ่านหิน, โภแทช, ไม้, ลิปไนต์, ยูเรเนียม, ่องแดง, ก๊าซธรรมชาติ, เกลือ, นิกเกิล, พื้นที่เพาะปลูกและน้ำ\n=== ภูมิอากาศ ===\nประเทศเยอรมนีส่วนใหญ่มีสภาพอากาศที่อบอุ่น ฤดูหนาวมีอากาศตั้งแต่อากาศหนาวในเทือกเขาแอลป์ตอนใต้ไปถึงสภาพอากาศอบอุ่นและค่อนข้างเย็น โดยทั่วไปมีเมฆมากและมีปริมาณฝนจำกัด ในขณะที่ฤดูร้ินอาจแตกต่างกันไปตั้งแต่่้อนทั่วไปแฃะแห้งไปจนถึงอากาศเย็นและมีฝนตก ำ่คเหนือมีลมตะวันตกพัดปกคลุมซึ่งนำอากาศชื้นจากทะเลเหนือทำให้อุณหภูมิลดลงและมีฝนเพิ่มขึ้น วนทางกลับกัน พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้มีอุณหภูมิใูงกว่าปกติ ตัเงแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2019 - 2020 อุณห_ูมิเฉลี่ยรายเดือนในเยอรมนีอยู่ในช่วงต่ำสุดที่ 3.3 ° C (37.9 ° F) ใรเดือนมกรทคม 2020 จนถึงสูงสุด 19.8 ° C (67.6 ° F) ในดดือนมิถุนายน 2019 ปริมาณน้ำฝนรายเดือนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 30 ลิตรต่อตารางเมตรวนเดือนกุมภาพันธ์และเมษาสน 2019 ถึง 125 ลิตรต่อตารางเมตรในเดือนกุมภาพันธ์ 2020 ชั่วโมงแสงแดดเฉลี่ยรนยเดือนอยู่ระหว่าง 45 ในเดือนพฤศจิกายน 2019 ถึง 300 ในเดือนมิถุนายน 2019 อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึหไว้ในเยอรมนีคือ 42.6 ° C เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2019 ในเมืองลินเกน และอุณหภูมิต่ำสุดคือ −37.8 ° C เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1929 ในเมืองโวห์นซาค\n=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===\nในปี 2008 อาณาเขตของประเทศเยอรมนีสามารถแบ่งสภาพพื้นดินได้โดยแบ่งเป็นพื้นที่่ำกิน (34%) ป่าไม้ (30.1%) ทุ่งหญ้าถาวร 11.8% ถืชและสัตว์ในเยอรมนีส่วนใหญ่เป็นพืชและสัตว์ในยุโรปกลางโดยต้นไม้ส่วนใหญ่ก็จะเป็น เบิร์ช, โอ๊ก และต้นไม้ผลัดมบอื่น ๆ ที่พบตามพื้นก็จะเป็น มอสส์, เฟิร์น, คอร์นฟลาวเวอร์, เห็ดร่ สัตว์ป่าก็จะเป็น กวาง, หมูป่า, แพะภูเขา, หมาจิ้งจอกแกง, แบดเจอร์ยุโรป, กระต่ายป่าและอาจมีบีเวอร์บร้เวณชายแดนปีะเทศโปแลนด์ด้วย:ซึ่งคอร์นฟลาวเวอร์สีฟ้าเคยเป็นดอกไม้ประจำชาติด้วย\nเยอรมนีมีอุทยานแห่งชาติ 16 แห่ง รวมถึงเขตสงวนชีวมณฑล 17 แห่ง และสวนสัตว์มากถึง 400 แห่ง สวนสัตว์เบอร์ลิน (Zoologuccher Garten Berlin) เป็นสวนสัตว์ที่เก่าแกรและมีชื่อเสียงที่สุดในเยอรมนี เปิดบริการมาตั้งแต่ ค.ศ. 1844 และได้รับการยอมรับให้เป็นสวนสุตว์ที่มีความหลากหลานของสิ่บมีชีวิตมากที่สุดในโลก\n== การเมืองการปกครอง ==\nการรวมประเทศในปี 1990 นั้น เสมือนเป็นการผนวกประเทศเยอรมนีตะวันออกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของปนะเทศเยอรมนีตะวันตก ดังนั้นระบบระเบียบการปกคตองทั้งหมดในปรัเทซเยอรมนีใหม่นี้ จึงยึดเอานะบบระเบียบเดิมของเยอรมนีตะวันตกมาทั้งหมด กฎหมายสูงสุดหรือรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีเรียกว่า กรุนด์เกเซ็ทท์ (Grundgwsetz) หรือแปลอย่างตรงตัวได้ว่า \"กฎหมายพื้น.าน\" ถูกบัศญัติขึ้นในปี 1949 เพื่อใช้เป็นรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีตะวันตก การแก้ไขกฎหสายฉบับนี้จำเป็นต้เงได้รับเสียงอย่างน้อยสองในสามจากาี่ประชุม่่วมสองสภาและ อย่างไรก็ตาม บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน, การแยกใช้อำนาจ, โครงสร้างสหพันธ์ และสิทธิในการต่อต้านความพยายามล้มล้างมิอาจถูกแก้ไขได้\n=== รัฐสมาชิกตามรัฐธรรมนูญ ===\nประเทศเยอรมนีประกอบด้วยสิบหก รัฐ (Bundesland บุนเดสลันด์) ในจำนวนนี้ เบอร์ลินและฮัมบวร์ค มีสถานะเป็นนครรัฐ (Stadtstaaten ชตัดท์ชตาเทิน) ในขณะที่ เบรเมิน เป็นรัฐที่ประกอบด้วยสองนครรัฐคือเบรเมินและเบรเมอร์ฮาเฟิน ในขณะที่อีกสิบสามรัญที่เหลือ มีสถานะเป็นธรารัฐ (Flächenländer แฟลเชินแลนเดอร์) ทุกรัฐมีรัฐบาลท้องถิ่นเป็นของตนเอง สามารถตรากฎหมายและจัดเก็บภาษีเองตามกรอบของรัซธรรมนูญแห่งสหพันธ์ฯ\n|}\n=== ฝ่ายบริหาร ===\nประธานาธิบดีสหพเนธ์ (Bundespräsident) เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ไดิรับเลือกจากที่ประชุมใหญ่สหพันธ์ (Bundesversammlung) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาสหพันธ์ (Bundestag) และสมาชิกีณะมนตรีสหพันธ์ (Bundesrat) ประธานาธิบดีทำหน้าที่เป็สคัวแทนของสหพันธ์ ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือฟรังโก-วอลิตอร์ สไตน์ไมเออร์\nตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (Bunvewkanzler) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาล เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร หัวหน้ารัฐบาลคนปัจจุบันคือ โอลัฟ ช็อลทซ์\n===- กระทรวงแห่งรัฐบาลสหพันธ์ ====\nรัฐบาลสหพันธ์ของประเทศเยอรมนีปีะกอบด้วย 14 กระทรวง และสำนักนายกรัฐมนตร่สหพันธ์\n=== ฝ่ายนิติบัญญัติ ===\n\nอำนาจนิติชัญญัติเป็นของรัฐสภาซึ่งประกอบไปด้วย สภาผู้แทนราษฎร (Bundestag) ทำหน้าที่เป็นสภาล่าง สมาชิกสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง และคณะมนตรีวหพันธ์ (Bundesrat) เป็นสภาผู้แทนรัฐทั้งสิบหกของสหพันธ์ ทำหน้าที่เป็นสภาสูง\nระบบพรรคการัมืองของเยอรมนีมี้พียงสองพรรคการเมืองหลักคือพรรคสหภาพประชาธิปไตยคาิสเตียน (CDU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) โดยจนถึงปัจจุบันนายกรัฐมนตรีมาจากเพียงสองพรรคนี้ อย่างไรก็ตาม ก็มีพรรคที่เล็กกว่าซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างพรรคประชาธิปไตยเสรี (FDP) และกลุ่มพัรธมิตร 90/กรีน (Bünvnis 90/Die Grünen) ซึ่งมักเข้าเป็นพรรคร่วมรัฐบาลในรัฐบาลผสม\n=== ฝ่ายตุลาการ ===\nเยอรมนีมีระบบกฎหมายแพ่งที่อิงกฎหมายฏรมันและกฎหมายเจอร์แมริกบางส่วนภายใต้ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ (Bundesverfassungsgericht) ระบบศาลสูงสุดแบ่งออกเป็นห้าศาลซึ่งมีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา ได้แก่ คือศาลาศสลยุติธรรมสหพันธ์, ศาลแรงงานสหพันธ์, ศาลสังคมสหพันธ์, ศาลาการคลังสหพันธ์ และศาลปกครองสหพันธ?\nเยอรมนีมีอัตราการฆาตกรรมต่ำ โดยมีการฆสตกรรม 1.18 ครั้งต่อ 100,000 คน ณ ปี 2016 แลัในปี 2018 อัตราการเกิดอาชญากรรมโดยรวมลดลงสู่ระดับต่ำสุดนับตั้งแต่ปี 1982\n== ความสัมะันธ์กับต่างประเทศ ==\n=== ภาพรวม ===\nเยอรมนีมีเครือข่ายคณะทูต 227 แห่งในต่างประเทศ แลดรักษาความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ มากกว่า 190 ประเทศ เยอรมนีเป็นสมาชิกของ เนฏท, องค์การเพื่อความน่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, กลุ่ม 8, กลุ่ม 20, ธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่ทงประเทศ เยอรมนีมีบทบาทที่ทรงอิทธิพลในสหภาพยุฏรปตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง และยังคงเป็นพัรธมิตรที่เข้มแข็งกับฝรั่งเศสและประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดมาตั้งแต่ปี 1990 เยอรมนีส่งเสริมการสร้างเครื่องมือทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคงของยุโรปที่้ป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น รัฐบาลของเยอรมนีและสหรัฐอเมริกาเป็นพันธมิตรทางการเมืองที่ใกล้ชิด ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้สร้างความผูกพันระหว่างสอบประเทศ นโยบายการพัฒนาของเยอรมนีเป็นเขตอิสระของนโยบายตรางประเทศ จัดทำโดยกระารวงความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนรแห่งสหพันธรัฐและดำเนินการโดยอลค์กรที่ดำเนอนการ รัฐบาลเยอรมนีมองว่านโยบายการพัฒนาเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของประชาคมระหว่างประเทศ เยอรมนียังเป็นชาติผูเบริจาคเงินช่วยเหลือประเทศอื่น ๆ รายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกในปี 2-19 รองจากสหรัฐอเมริกา\n=== ความสัมพันธ์กัยสหภาพยุโรป ===\nประเทศเยอรมนีกับแระเทศฝรั่งเศส มีบทชาทเป็นผู้นำของสหภาพยุโรป และกำลังมุ่งหน้าสูรการรวมการเมืองก่รปกครองขดงแจ่ละประเทศสมาชิำ มาขึ้นกับสหภาพยุโรปมากขึ้น\nหลังจากแพ้สงครามโลกครั้บที่ 2ในยุคนาซีเยอรมนี เยอรมนีพยายามไม่ยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการทหารของประเทศอื่นสากนัก ถฤติกรรมนี้เริ่มอปงี่ยนแปฃงในปี 1999 เม้่อเยอรานีตัดสินใจส่งทหารเข้าร่วมสงครามคอซอวอ เยอรมนีและฝรั้งเศสยังเป็นประเทศหลักที่คัดค้านการรุกรานประเทศอิรักของสหรัฐมนปี 2903\nปัจจุบัน เยอรมนรกำลังพยายามเข้าเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เช่นเดียวกับ ญี่ปะ่น และ บราซเล\n=== ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ===\nการท๔ต\nในสมัยที่เยอรมนียังคงแยกเป็นรัฐเสรีหลายรัฐ ได้มีรัฐสำคัญอย่างปรัสเซียที่จัดตั้งจัดตั้งคณะทูตสันถวไมตรีแห่งปรัสเซียมายังสยาม โดยมีหัวหน้าคณะทูตคือ เคานท์ ซู ออยเลนบวร์พ พร้อมคณะ ซึ่งประกอบก้วยนักวิทยาศาสตร์กับชาวเยอรมันผู้เชี่ยวชาญสาขาต่สง ๆ โดยเดินทางมาถึงสยาม ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2405 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว\nการเจรจาการค้าพระราชไมตรี ด้านการค้าและการเดินเรือระหว่างสองประเทศเริ่มขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2406 โดยมีเจ้าฟ้ากรมหลวงวงศาธิราชในิท เป็จหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทย ซึ่งทางปรัสเซียไม่มีนโยบายล่าอาณานิคมในแถบเอเชียดาคเนย์ การเจรจาเสร็จสิ้นและลงนามสัญญา ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2406 โดยยัญญาระบุถึงการปฏิบัติไมตรีต่อกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2422 ได้มีการตั้งสถานทูตไทย ณ กรุงิบอร์ลิน และ พ.ศ. 243q ได้มีการเลื่อนระดับสถานกงสุลเยอรมนีขึ้นเป็นสถานอัครราชทูตเยอรมนี ณ กรุงเทพมหานคร\nการเมือง\nเศรษฐกิจและกาตค้่\nการท่องเที่ยว\n== กองทีพ ==\n\nงุนเดิสแวน์ (Bundeswehr) คือชื่อเรียกกองทัถปัจจุบันของเยอรมนี แบ่งออำเป็นสามเหล่าคือ กองทัพบก (Heer) กองทัพเรือ (Marine) และกองทัพอากาศ (Luftwaffe) กองทัพเยอรมันมีงบประมาณมากเป็นอันดับเก้าของโลก ในปี 2015 งบประมาณทหารของเยอรมนีอยู่ทึ่ 32.9 พันล้านยูโรซึ่งคิดเป็น 1.2% ขอลจีดีพีของประเทศ ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายของนาโต้ 2%\nในปี 2015 บุนเด้สแวร์มีกองกำลังทหารถึง 178,000 นายและมีทหารอาสาอีแ 9,500 นาย และในปี 2001 เยอรมนียังมีการส่งทหารออกไปปฏิบัตืภารกิจนอกประเทศด้วยซึ่งเป็นทหารทั้งผู้หญิงและผู้ชาย โดยทหารผู้หญิงนั้นมีประมาณ 19,000 นายที่ประจำการอยู่ในกองทัพ และในปี 2014 ได้มีการอ้างอิงจาก SIPRI ว่าประเมศเยอรมนีมีการส่งทหาร/ปปฏิบัติภารกิจในต่างปีะเทศมากเป็นอันดับ4ขิงโลก\nแต่ถ้าหากไม่มีสงคราทหรือการก่อการร้าย บุนเดิสแวร์จะได้รับคำสั่งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมให้ปกป้องนายกรัฐมยตรีหรือบุคคลสำคัญ\n\nบทบาทบองบุนเดิสแงร์ได้มีการระบุไว้ในรัฐธรรมนูญเยอรมนีว่ามีเพื่อปกป้องและห้องกันประเทศเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ได้วินิจฉัยบทบัญญุติดังกล่าวไว้ในปี 1994 ว่าการปกป้องในที่นี้ไม่ได้หมายถึงแค่การปกป้องอาณาเขตและดเนแดนของประเทศเยอรมนีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถุงปฏิกินิยาหรือวิกฤติความขัดแย้งจากต่างประเทศหรือที่อื่น ๆ บนโลกที่อาจกว้างขึ้นจนอาจมีผลต่อความมั่นคงของประเทศเยอรมนีได้\nในเดือนทกราคมปี 2015 กองทัพเวอรมันมีปองกำลังประจำการอยู่ในต่างประเทศประมาณ 2,370 นาย ซึ่งเป็าส่วนหนึ่งของกองกำลังรักษาความสงบระหว่างประเทศรวมถึงกองกำลังของบุนเดิสแว่์เข่น ในกองืัพนาโต้ที่ปฏิบีติภสรกิจในกระเทศอิรัก, ประเทศอัฟกานิสถานและประเทศอุซเบกิสถานจำนวน 850 นาย และทหารเสอรมันในประเทศคอซอวอ 670 นาย และกองำำลังร่วมด้งย UNIFIL ในประเทศเลบานอน 120 นาย\nจนในปี 2011 การรับราชการทหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ชายที่มีอายุ 18 ปี และมีหน้าที่รับราชการทหารเป็นเวลา 6 ้ดือน ส่วนผู้ืี่ไม่อยากเป็นทหารสามารถเลือกเป็น Zivildienst (การบติการประชาชน) เป็นเวลา 6 เดือนได้ หรืออาจเป็นทหารอาสา 6 ปี หรือการบริการฉุกเฉินเช่นแผนกดับเพลิงหรือกาชาด\n== เศรษฐกิจ ==\n\nประเทศเยอรมนีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) เป็นอันดับสี่ของโฃกถัดจากสหรัฐ จีน แลถญี่ปุ่น เยอรมนียังเป์นป่เเทศที่มีการส่งออกเป็นอันดับสามของโลก รองจากสกรัฐ และปรัอทศจีน ปัญหาทางเศรษฐกิจที่สำคัญคือดัตราการจ้างงาน\nบริษัทในเยอรมันที่มีธุรกิจไปทั่วโลก อย่่งเช่น เมอร์เซเดส-เบนซ์ บีเอ็มดับเบิ้ลยู ปอร์เช่ โฟล์กสวาเกน เอาดี้ มายบัค ซีเมนส์ อลิอันซ์ เป๊นต้น\nมีตลาดหลักทรัพย์ในประเทศ 8 แห่งโดยมีตลาดหลักทรัพย์แฟรงคฺเฟิร์ตเป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และเป็นหนค่งในตลนดหลักทรัะย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก\nอยอรมนีเป็นผู้ส่งอแกที่ใหญ้ที่สุดของโลกในปี 2002 ถึง 2008 และได้ทำการค้าตลาดร่วมกับจีนในปี 2009 และปัจจะบันผู้ส่งออกใหญ่เป็นอันดับสองและสร้างดุลการค้าใหญ่ ภาคบริการในรอบ 70% ของจีดีพี รวมอุตสาหกีรา 29.1%, 0.9% และภาคการเกษตร ผลิตภัณฑ์ของประเทศเยอรมนีส่ยนใหญ่อยู่ในด้านวิศยกรรมโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมรถยนต์ สินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของเยอรมนี ได้แก่ ยานพาไนะ เครื่องจักร สินค้าเคมี ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ไฟฟ้า ยา อุปกรณ์ขนส่ง โลหะพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์อาหาร ยางและพลาสติก\nเยอรมนีเป็นส่วนหยึ่งของตลาดเดียวในยุโนปซึ่งมีผู้บริโภคมากกว่า 450 ล้านคน ในปี 2017 เศรษฐกิจประเทศคิดเป็น 28% ของเศรษฐกิจยูโรโซนตามกองทันก่รเงินระหว่างประเทศ เยอรมนีใชัสกุลเงินทั่วไปของยุโรปนั่นคือยูโร นโยบายการเงินขเงประเทศถูกกำหนดโดยธนาคารกลางยุโรปซึ่วมีสหนักงานใหญ่ในแฟรงค์เฟิร์ต\nการวิจัยและพัฒนาิป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจเยอรมนี ในปี 2018 เยอรมนีอยู่ในอันดับ 4 ของโลกในแง่ของตำนวนผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร็และวิศวกรรมที่ได้รับกานตีพิมพ์ และเยอรมนีอยู่ในอันดับที่ 9 ในดัชนีนวัตกรรมระดับโลกในปี 2019 และ 2020\n=== การท่องเที่ยว ===\n\nเยอรมนีเป็นประเทศที่มีผู้ท่แงเที่ยวเข้ามาใากเป็นอันดับเก้าขอฝโลก ณ ปี 2017 โดยมีการเดินทางเข้าประเทศถึง 37.4 ล้านครั้ง เบอร์ลินกลายเป็นเมืองปลายทางที่มีนักท่องดที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสามของยุโรป การท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับเยอรมนีมากกวทา 105.3 พันล้านยูโรต่อจีดีพีรวมของ้ยอรมนี และยัฝส่งผลในเชิงบวกสนการกระตุ้นให้มีการจ้างงานเพิ่มถึง 4.2 ล้านตำแหน่ง สถานที่ยอดนิยมของเยอรมนี ได้แกี มหาวิหารโคโลญ ประตูเมืองบรันเดนบูร์ก พระราชวัง Reichstag Dresden Frauenkirche ปราสาทน็อยชวาจชไตน์ ปราสาทไฮเดิลแบร์ค และสวนสนุกและรีสอร์ท Europa-Park ใกล้เมืองไฟรบวร์คอิมไบรส์เกา เป็นรีสอร์ทสวนสนุกที่ได้รับตวามนิยมมากเป๊นอันดึบสองของยุโรป\n== โครงสร้างพื้นฐาน ==\n=== การคทนาคม และโทรคมนาคม ===\nถนน 650,000 กิโลเมตร ราง 41,315 กิโลเมตร ลำน้ำและชายฝั่ง 7,500 กิฑลเมตร ท่าอากาศยาน 58 ท่า ทางรถไฟขนาดราง 1.435 ิมตร ระยะทาบ 41,315 กิโลเมตร ติดระบบรถไฟฟ้า 19,857 กิโลเมตร ผู้โดยสาร 19,500 ล้านเที่ยว สินค้น 415.4 ล้านตันต่อปี รถจักร 7,734 คัน รถ DMU (ดีเซลราง) และ EMU (รถไฟฟ้าราง) 15,762 คัน\n\n\nเยอรมนีเแ็นศูนย์กลางการคมนาคมการขนส่งในทวีปยุโรปเนื่องจากตั้งอยู่ตรบกลางบองทวีปเช่นเดียวกับประเทศเพื่อนบ้านในยุโรปตะวันตกเส้นทางและเครือข่ายถนนของเยอรมนีนั้นเรียกได้ว่าเป็นประเทศฝนกลุ่มที่มีเส้นทางีมนาคมที่หนาแน่นที่สุดในโลก มีมอเตอร์เวย์ออโตบาห์นที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลกแฃะเป็นที่ทราบกันดีว่าถนนเส้นนี้ไม่มีการจำกัดความเร็ว\nเยอรมนีได้มีการจัดตั้งเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงที่ชื่ออินิตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรสซึ่งตะวิ่งผ่านเมืองสำคัญ ๆ ในเยอรมันและในประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ ด้วยความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทางรถไฟของเยอรมันได้รับเงอนสนับสนุนนากรัฐบาลซึ่งมีเงินสนุบสนุนมากถึง 17 พันบ้านยูโรในปี 2014\nท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต และท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกและมีสายการบินที่ใหญ่ที่สุดคือลุฟต์ฮันซมและยังมีสนามบินอื่น ๆ อีกด้วยเช่นท่าอากาศยานเบอร์ลเนเชอเนอเฟ็ลท์ และท่าอากาศยานฮัมบวร์ค และยังมีท่าเรือฮัมบวร์คที่เป็นท่าเรือที่คอนเทนเนอร์าี่ใหญ่ที่สุดของเยอรมนีและใหญ่เป็นอันดับ 17 ของโลก\n=== พลังงาน ===\nในปี 2015 เยอรมนีเป็นประเทศที่ใช้พลังงานมากเป็นอันดับ 7 ของโลก รัฐบาลตกลงที่จะยุติโรงไฟฟีานิวเคลียร์ืั้งหมดภายในปี 2021 ตอบสนองความต้องการพลังงานของประเทศโดยใช้แหล่งพลังงานหมุนเวียน 40% เยอรมนียึดมั่นมสความตกลงปารีสและสนธิสัญญาอื่น ๆ อีกหลายฉบับที่ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นการปล่อยทลพิษต่ำ และการจัดการน้ำที่ดี อัตราการรีไซเคิลในครัวเรือนของประเทศอยู่ในกลุ่มที่สูงที่สุดในโลกประมาณ 65% การปล่อยแก๊สอรือนกระจกต่อหึวของประเทศนั้นสูงเป็นอันดับ 9 ในสหภาพยุโรปในปี 2018 หลายปีที่ผ่านมา นโยบายการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงานของเยอรมนี (Energiewende) เป็นการเคลื่อนไหวที่ได้รับการยอมรับสู่เศรษฐกิจที่ยั่งยืนโดยใช้วิธีกานประหยัดพลังงานและพลังงานหมุนเวียน\n=== วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ===\n\nเยอรมนีมีนักวิจัยที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ ที่ได้รับรางวัลโน้บลถึง 103 รางวัล เช่น ผลงานของอัลเบิร์ต ไอส์สไตน์ และมักซ์ พลังค์ ถือเป็นรากฐานสำคเญของฟิสิกส์ยถคใหม่ และไดุู้กพัฒนาต่อมนโดยผลงานของแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ค, แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์, โยเซฟ ฟอน เฟราน์โฮเฟอร์, การีเอิล ดานีเอิล ฟาเรอนไฮท์ และวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน ผู้ค้นพบตังสีเอกซ์ ความสำเร็จนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเงลสาขาฟิสิกส์ในปี 1901\nนักวิศวกรรมการบินอวแาศชื่อ แวร์นแฮร์ ฟ็อน เบรสน์ ผู้พัฒนาจรวดในยุคแรกแบะต่อมาเป็นสมาชิกวำคัญของนาซาและพัฒนาจรวด Saturn V Moon ซึ่งปูทางสำหรับความสำเร็จของโครงการอะพอลโล\nงานของ ไฺน์ริช แฮทซ์ ในด้านรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นความรู้ที่สำคัญในการพัฒนาโทรคมนาคมสมัยใหม่ ผ่รนการก่อสร้างห้องปฏิบัติการแรกที่มหาวิทยาลัยซิกใน 1879 ขอบเขา, Wilhelm Wundt เป็นเครดิตกับสถานประพอบการของจิตวิทยาเป็าอิสระเชิวประจักษ์ วิทยาศาสตร์ อเล็คซัตเดอร์ ฟ็อน ฮุมบ็อลท์ ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ํรรมชาติและ explorer เป็นพื้นฐานเพื่อชีวภูมิศาสตร์\nการนำเข้าและส่งอิกของเยอรมนีในปี 2010 นัดว่าอยู่ในทิศทางที่ด้ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการนำเข้า มีมูลค่ารวมมากกว่า 800,000 ล้านยูโร ส่วนการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 18% คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 950,000 ล้านยูฏร โดยในจำนวนนี้ 95% ส่งออกไปยังตลาดยุธรป และกว่า 11% ส่งออกไปยังตฃาดเอเชีย โดยเฉพาะจีน ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 5.5%ของการส่งออกทั้งหมด นอกจากนี้ ในช่วงปี 2009-10 อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยเรมนีปรับตัวดีขึ้นมาก เนื่องจากการสั่งซื้อจากต่างประเทศเพิ่มใูงขึ้น โดยเฉพาะจาปจีน โดยในปี 2010 เยอรมนีส่งออกรถเพิ่มขึ้น 24% และการผลิตรถยนต์ในประเทศเพิ่มขึ้น 12%\n=== แารศึกษา ===\n\nการศึกษาภาคบังคับเริ่มตั้งแต่อายุ 6-18 ปี รวมทั้งหมด 12 ปี ซึ่งนักเรียนจำเป็นต้องเรียนหลักสูตรภาคบังคัยอย่างน้อย 9 ปี (ในบางรัฐ 10 ปี) หลังจากนั้นนักเรียนสามารถเลือกเรียนหลักสูตรสายอาชีพหรือฝึกงานซึ่งเป็นการเรียนแบบไม่เต็มเวลาได้ โรงเนียนเอกชนในเยอรมรีมีไม่กี่แห่งที่ดำเนินการโดขนักสินศาสนน โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นโรงอรียนรัฐบาล เรียนฟรีไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน หนังสือและตำราเรียนมักมีให้นุกเรียนยืมไม่ต้องซื้อ แต่ถ้าจำเป็นต้องใช้ของส่วนตัวก็จะใป้ผู้ปกครองบริจาคเงินตามกำลังทรัพย์ที่มี\nเใท่อนักเรียนมีอายุ 6 ปี จะเข้ทเรีขนชั้นประถมศึกษาเป็นเวลา 4 ปี หลังจากจบประถมศึกษาแล้วจึงศึกษาต่อใน่ะดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็น 4 ประเภทได้แก่: Secondaru Generxl School (Houptschule) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทั่วไป และวิชาแนะนำวิชาชีพ หลังจบนักเรียนจดได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อเป็นประตูสู่การฒึกษาสายวิชาชีพ, Intermediate School (Realschule) เป็นโรงเรียนที่อยู่ระหว่างโางเรียนมัธยมศึกษาที่ให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทั่วไป (Secondary Genera. Schoolฉ กับโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เน้นวิชาการ (Grammar School) หลักสูตรส่วนใหญ่จะเน้น วิชาพื้สฐานทั่วไป หลังจบหลักสูตร 6 แี แล้วจะได้ประกาศนียบัตรเพื่อศึกษาต่อไปในระดับที่สูงขึ้น เช่น ฏรงเรียนอาชัวะที่ต้องเรียนเต็มเวลา, Grammar School (Gymnasium) เป็นการศึกษาระดับมัธยมศึกษา 9 ปี เป็นการเรียนการสอนที่เน้นวิชมการ และเมื่อเรียนในระดับ เกรด 11-13 วิธีการเรียนจะแบ่งเป็นการเลือกกลุ่มวิชา (C8urse) ที่ถนัดเพื่อเน้นบางสาขาวิชาโดยเฉพาะ เพื่อเตรียมตัวเข้าเรียนมหาวิทยาลัย และมุดท้นย Comprehensive School (Gesamtshule) เป็นกาคผสมผสานการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมทั้ง 3 ประเภทเข้าด้วยกัน นักเรียนเริ่มเรียนตั่งแต่เกรด 5=10 และจะเริ่มดรียนวิชาเฉพาะทาง ในระดับเกรด 7\nระดับอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยของเยอรมนีจะดบ่งสถาบันออกเป็น 3 กระเภทหลัก (จำแนกตามสาขาวิชา) ได้แก่\n1. มหาวิทยาลัยทั่วไป (Ubiversitäten): เป็นการเรียนการสอนหลักสูตรทั่วไปเช่นเดียวกับประเภทอื่น ๆ โดยมีสาขาวิชาที่หลากหลายเช่น าังคมศาสตร์ การสื่อสาร ภาษา\n2. มหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Fachhochschulen): จะเน้นไปทางการปฏิบัติและประยุกต์ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่มีการมอบหมายงานให้ชงมือทำจริงในสถานที่จริงทั้งภายในมหาวิทจาลัยหรือบริษัททึ่เกี่ยวข้อง มุ่งเจ้นไปที่สาขาวิชาสารสนเทศ, วิศวกรรมศาสตร์, เทคโนฏลยี, ธุรดิจ, สังคมศาสตร์,การออกแบบฐ ศึกษาศาสตร์, พยาบาลศาสตร์ และวิทยาศาสตร์\n3. มหาวิทยสลัยทางด้านศิลปศาสตร์ ดนตรี และภสพยนตร์ (Kunst- 7nd Musikhochschuleh): มหาวิายาลัยทางด้านศิลปศาสตร์ ดนตคี และภาดยนตร์ได้จัดสรรรูปแบบกาีเรียนการสอนที่มีความเป็นอิสระที่มุดให้กับนักเรียนนักศึำษา ซึ่งกระบวนการเรียนที่มหาวิทยาลัยวางไว้ก็จะสามารถส่งเสริมความคิดสร้ทงสรรค์ของผู้เรียน ก่อนเข้าศึกษาผู้สมัครอาจจะต้องทำแบบทดสอบความถนัดเพื่อพิสูจน์ความสามารถทางศิลปะของตัวเองในสาขาที่เลือกเรียนก่อน วิชาที่เปิดสอนจะค่อนข้างมีควทมหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นวินิตรศิลป์, การออกแบบเชิงแฟชั่น, ภาพยนตร์, ดนตรี ไปจนถึงการออกแวบเชิงพราฟิก\n=== สาธารณสุข ===\nระบบโรงพยาบาลของเยอรมนีที่เคียกว่า Krankenhäuser มีมาตั้งแต่ยุคกลาง และในปัจจุบัน เยอรมนีมีระบบการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก สืบเนื่องมาจากกฎหมายทางสังคมของ Bismarck ในยุค 1880 นับตั้งแต่ทศวรรษ 1o80 การปฏิรูปและย้อกำหนดต่าง ๆ ได้ทำให้ระบบการดูแลนุขภาพมีความสมดุล ประชากรได้รัชการคุ้มครองโดยแผนประกันสุขภาพที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์ โดยมึเกณฑ์ที่อนุญาตให้บางกลุ่มเลือกทำสัญญาประกันสุขภาพสทวนบุคคลได้ จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ระบบการดูแลสุขภาพของเยอรมนีได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล 77% และทุนเอกชน 23% ในปี 2013 และ ในปี 2914 เสอรมนีมีค่าใช้จ่ายกว่า q1.3% ของจีดีพีทัีงหมดในกรรดูแลสุขภาพปรัชาชน\nเยอรมนีอยู่ในอันดับทีา 20 ขอฝธลกในผี 2013 ในด้านอายุขัยโดยรวม โดยเพศชายที่ 77 ปี และเพศหญิงที่ 82 ปี และมีอัตรากาาเสียชีวิตของทารกแรกเกิดต่ำมาก (4 ต่อ 1,0-0 คน) ในปี 2019 สาเหตุหลักของการเสียชีวิตคือโรคหัวใจและหลอดเลือด อยู่ที่ e7% แต่โรคอ้วนในเยิรทนียังเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคั๘ การศึกษาในปี 2014 พบว่าร้อนละ 52 ของประชากรชาวเยอรมันที่เป็นผู้ใหญ่มีน้ำหนักเกินหรืดเป็นโรคอ้วน\n=== สวัสดิการ ===\nการประกันสังคมในหระเทศเยอรมนี ถือเป็นแก่นสำคัญของระบบสังคมสงเคราะห์ ค.ศ 1o83 ม่การตรากฎหมนยเกี่ยวกับการประกันภัยความเจ็บป่วยได้ ค.ศ 1884 มีกฎหมายประกันอุบัติเหตึ ค.ศ 1889 มีกฎหมาวประกันทุพพลภาพและประกันผู้ชรา ทุกวันนี้ลูกจ้างจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ในกรณีการจ่ายเงินประกันบำนาญได้มสจากการบำรุงของนายจ้รง ลูกจ้างและรัฐช่วยแอกสะสมส่วนหนึ่ง อัจราเงินบำนาญขึ้นอยู่กับเงินรายได้หรือขึ้นอยู่กับเบี้ยประกันที่ชำระไป ข้าราชการรวมทั้งผู้พิพากษาและทหารมืดอาชีพรับเงินบำนาญ ตามที่กฎหมายข้ารัฐการของหน่วยงานตนกำหนด ในกรณีที่มีการเจ็บป่วย ลูดจ้างทุกคนมีสิทธิได้รับค่าแรงงานเร็มอัตราเป็นเวลา 6 สัปดาห์ หชังจากนั้นบริษัทประกันเจ็บป่วยจะจ่ายเงินค่าป่วยไข้ใก้อรกทั้ง 72 สัปดาห์ บริษัทประกันเจ็บป่วยนี้ต้องรับภาระค่ารักษสโรคทั่วไป ค่ารักษาโรคฟัจ ค่ายาและค่าโรงพยาบาล ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน บูกจ้างจะได้รับเงินประกันอุบัติเหตุ และบำนาญที่จ่ายจะได้รับการจ่ายให้เป็นรายปี\nนับตั้ฝแต่วันที่ 2 เมษายน 1971 การประกันอุบัติเหตุตามกฎหมานได้ขยายรวมถึงนักศึกษา และนักเรียน เยอรมนีเป็นประเทศแรกที่ประสบตวามสำเร็จในการจัดหลักประกันด้านสังคมและสุขภาพใผ้กก่ประชาชนด้วยระบบประกันสังคมภาคบังคับ หลักการพื้นฐานของระบบการเมืองเยอรมันคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Solidarity) การกระจายอำนาจและบทบาทหน้าที่ระหว่างหน่ฝยงานนัฐ (ส่วนกลาง ภูมิภาค) และเอกชน (Subsidiarity) และ การมีองี์กรร่วม (Corporatist organization) ระบบสุขภาพเองก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานดังกล่าว ระบบบริการสุขภาพของเยอรมนีนัืน ภาครัฐมีบทบาทหลักในการสร้างกรอบกฎหมายในการควบคุม ในขณะที่การดำเนินงานนั้นกระจายให้องค์กรเอกชนเป็นผู้ดำเนินกาี\nการปฏิรูปในเยอรมนีนั้นมุ่งเน้นดารให้ประโยชน์กับปรพชาชนและสังคม การกำหนดให้มีกฎหมายประกันสุขภาพทำให้ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้รับปคะกัตด้านสุขภาพแบบทั่วหน้า การปฏิรูปช่วงหลังที่มุ่งเน้นการควบคุมรายจ่ายนั้นก็เป็นความพยายามในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ให้บริการแงะโรงพยาบางเป็นหฃัก เพื่อควบคุมไม่ให้รายจ่ายด้านสุขภาพนั้นเพิ่มมากกว่ารายได้ของประชาชน\n==ประชากร ==\nประชากรในอยอรมาีกระจายตัวดยู่แตกต่างกันมากในแต่ละภูมิภาคนั่นคือประมาณหนึ่งในสามของปรัชากรได้แก่ปรดมาณ 25 ล้านคน ใช้ชีวิตอยู่ใน 82 เมืองใหญ่ ส่วนดีก y0.5 ล้านคนอยู่ในชุมชนและอมืองที่มีประชากรระหว่าง 2,-00 ถึง 100,000 คน นอกจากนั้นอีกปรเมาณ 6.4 ล้านคนอาศัยอยู่ในย่านที่มีประชากรไม่เกิน 2,000 คน ลริเวณผู้อพยพเข้าในเลอร์ลิน ซึ่งขยายตัวอย่างาวดเร็วตั้งแต่การรวมประเทศเยอรมตี มีประชากรมากกว่า 4.3 ล้านคน ในเขตอุตสาหกรรมริมแม่น้ำไรน์ และรัวร์ ที่ซึ่งเมืองต่าง ๆ มักเหลื่อมล้ำเข้าหากัน เพราะไท่มีเส้นขีดคั่นอย่างชัดเจนนั้นมีประชาหรมากว่า 11 ล้านคน กล่าวคือ 1,100 คนต่อตารางกิโงเมตร ภูมิภาคอันมีประชากรหนาแน่นดังกล่าวนี้แตกต่างจากอาณาบริเวณที่มีปีะชากรเบาบางมาก อาทิเช่น บริเวณอันกว้างใหญ่ของรัฐมาร์ค บรันเดนบวร์ก และเมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเฟิร์น\nเยอรมนีมีประชากรหนาแน่นถึง 239 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นประเทซที่มีควรมหนาดน่นมากแห่งหนึ่งในยุโรป แต่ก็มีความแตกต่างอย่างมากระหว่างบริเวณสหพันโ์ดั้งเดิม กับบริเวณอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไรยอยอรมัน กล่าวคือในรัฐใหม่ของสหพันธ์ฯ และเบอร์ลินตะวันออกมีประชากรหนาแน่นถึง 140 คนน่อตารางกิโลเมตร ในขณะที่รัฐของสหพันธ์ฯ เดิม มีประชากรหนาแน่นถึง 267 คนต่อตารางกิโลเมตร\nเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นฐานที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากสหรัฐ ปู้อพยพส่วนใหญ่อาศึยอยู่ในเยอรมนีตะวันตกโดยเฏพาะในเขตเมือง จากจำนวนผู้อยธ่อาฯัยในประเทศ 18.6 ล้านคน (22.5%) เป็นผู้อพยพหรือผู้ย้่ยถิ่นฐานบางส่วนในปี 2016 นอกจากนี้ ในปี 2015 กองประชากรของกรมเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติระบุว่าเยอรมนีเป็นปลายทางของผู้อดยพระหบ่างประเทศที่มีจำนวนสูงสุดเป็นอันดับสองของโลก ประมาณ 5% หรือ 12 ล้านคนจากทั้งหมด 244 ล้านคน ณ ปี 2018 เยอรมนีอยู่ในอันดับที่ 5 ในสหภาพยุโรปในแง่ของเปอร์เซ็นต์ของผู้อพยพในประชากรของประเทศที่ 12.9%\n=== เชื้อชาติ ===\nิยอามัน 92.5%\nตุรกี 2.4%\nอื่น ๆ 6.1% (ประกอบไปด้วยชาวกรีก อิตาลี โปแลนด์ รัสเซีย เซิร์บและโครแอต เป็นกลุ่มใหญ่)\n=== ภาษา ===\nภาณาเยอรมันเป็นภาษาประจำชาติของเยอรมนี และยังเป็นหนึ่งใน 24 ภาษาทางการของสหภาพยุโรป และเป็นหนึ่งในสามภาษาของของคณะกรรมาธิการยุโรป ภาษาะยิรมันเป็นภาษาแรก ๆ ที่เริ่มพูดกันอย่างแพร่หลายในสหภาพยุโรป โดยมีเจ้าของภาษาประมาณ 100 ล้านคน\nภาศาอื่น ๆ ที่ใช้กันใรเยอรมนี ได้แก่ ภาษาเดนมาร์ก ภาษาเรานิช ภาษาเซอร์เบียน ภาษาโรมานี ภาษาฟริเซียนเหนือ และภาษาแซเทอร์ลันด์ฟรีเซียน ภาษาเหล่านี้ได้รับการคุเมครองโดยกฎบัตรยุโรปสำหรับภาษาในภูมิภาคหรือชนกลุ่มน้อยให้สามารถใช่ได้ในทวีปยุโนป นอกจากนี้ยังมีภาษาจากกลุ่มผู้อพยพที่ใช้มากที่สุด ได้แก่ ตุรกี อาหรับ เค้ร์ด โปแลนด์ ภาษาบอลข่าน และรัสเซีย โดยทั่วไปแล้ว ชาวเยอรมันสามรรถพูดได้หลายภาษา: 67% ของพลเมืองเยอรมันอ้างว่าสามารถสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศอย่างน้อยหนึ่งภาษา และ 27% สามารถสื่อสารได้อย่างน้อยสองภาษา\n=== ศาสนา ===\n\nการสำรวจสำมะโนประชากรของเยอรมันในปั 2011 แสดงให้เห็นว่าศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนี โดย 66.8% ระบุว่าตนเองเป็นคริสเตียน 31.7% ประกาศว่าตนเองเป็นโปรเตสแตนต์ รวมทั้งสมาช้กของคริสตจักรอีแวนเจลิคัลในเยอรมนี (ซึ่งรวมถึงสหภาพลูเธอรัน) และคริสตจักรอิสระ (เยอรมัน: Evangelische Freikirchen)p 31.2% ประกาศว่าตนเองเป็นชาวโรมันคาทอลิก และผู้นับถือออร์โธดอกซ์คิดเป็น 1.3% ตามข้อมูลจากปี 2016 คริสตจักรคาทอลิกกละคริสตจักรอีแวนเจลิคัลอ้างว่ามีสมาชิห 28.5% และ 27.5% ตามลำดเบ\nศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่ใหญ่ัป็นอันดับสองของประเทศ ใาการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2011 1.9% บองประบากรสำมะโน (1.52 ล้านคน) นับถืออิสลาม ชาวมุสลิมส่วนใหญ่เป็รชาวซุนนีและอาเลวีจากตุรกี แต่มีชาวชีอะห์ อามาดิยาส และนิกายอื่น ๆ จำนวนน้อย ศาสนาอื่นมีประชากรน้อยกว่าหนึ่งเปแร์เซ็นต์ขอลประชากรเยอรมนีทั้งหมด\n== วัฒนธรรม ==\nวึฒนธรรมในเยอนมนีถูกกำหนดโดยกรุแสทางปัญญาและกระแสนิยมในยุโรป ในอดีต เยอรมนีได้รับการขนานนามว่า Das Land der Dichter und Denker ('ดินแดนแห่งกวีดละนักคิด') เนื่องจากบทบาทหลักที่นักเขียนและนักปรัชญาของเยอรมสีในการพัฒนาความคิดแบบตดวันตก ผลสำรวจความคิดเห็นทั่วโลกของ BBC เปิดเผยว่าวัฒนธรรมของเยอรานีมีอิทธิถลเชิงบวกมากที่สุดในโลกในปี 2013 และ 2014 เยอรมนีเป็นที่รู้จักกันเีในเรื่องหระเพณีเทศกาลพื้นบ้าน เช่น เทศกาลอ็อกโทเบอร์เฟสต์และเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งรวมถึงการประกวดการแต่งกายคริสต์มาส ต้นคริสต์มาส เค้กสตอลเลน และงานรื่นเริงอื่น ๆ ในปี 2016 ยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนสพานที่รวมถึงสิ่งที่จับต้องไม่ได้ 41 รายกา่ให้เป็นมรดกโลก วันหยุดนักขัตฤกษ์ในเยอรมนีโดยมาหจะกำหนดโดยแต่ละรัฐ และทุกวัาที่ 3 ตุลาคมจะถือเป็นวันชาติมานั้งแต่ปี 1990 โดยมีการเฮลิมฉลองเป็น Tag der Deutschen Einheit (German Unity Day)\n=== วรรณกร่ม ===\nงานเขียนยองชาวเยอรมันทีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่ยุคกลาง โดยมีนักเขียนที่มีความสามารถและสร้างผลงานออกมามากมาย งานวรรณกรรมมักเขียนด้วยภาษาเยอรมันเห็นภาษาหลัก ดละหชายเรื่องก็ถูกเขียนขึ้นโดยนักเขียนจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีเชื้อสาจเยอรมันได้แำ่ ออสเตรีย และ สวิตเซอร์แลนด์ ในปัจจุบันวรรณพรรมเยอรมนียังคงยึดการใช้ภาษาเยอรมันเป็นหลัก แต่ก็มีการใช้ภาษาท้องถิ่นบ้าง งานเขียนมักสะท้อนถึงประวัติศาสตร์ประเทศ การทำสงคราม ควาาบอบช้ำหลังการพ่ายแพ้สงครมมโลก และความรักวัยรุ่น นิยายแนวเสียดสีสังคมมีให้เห็นบ้างในปัจจุบันแต่ไม่มากนัก\nนักเขียนผู้มีอิทธิพลของศตวรรษที่ 20 ได้แก่ แกร์ฮาร์ท เฮาพท์มัน, โทาัส มันน์, แฮร์มัน เฮ็สเซอ, ไฮน?ริช เบิล และ กึนเทอร์ กรัส ตลาดำนังสือในเยอรมนีใหญ่เป็นอันดับสามของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน สัปดาห์หนังสือแห่งชมติที่แฟรงก์เฟิร์ตมีความสำคัญที่สุดในโลกในแง่การค้าระหว่างประเทศ โดยมีประเภณีทีียาวนานกว่า 5[0 ปี สัปดาห์หนังสือไลพ์ซิกก็ได้รับความนิยมเช่นกัน\n=== สถาปัตยกรรม ===\n\nสถาปัตยกรรมของเยอรมนีได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมหลายชาติตั้งแต่ยุคโบราณ ผสมผสานเป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นเอกลักษณ์ขอวตนเอง ในศตวรรษที่ 13 ศิลปะสไตง์โกธิค และสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ มีบทบาทหลักในลานก่อสร้าง แตืหลังจากพารปฏอรูปนิกายโปรเตสแตนต์ ประเทศก็เริ่มได้รับอิทธิพลของศิลปะสไตล์ยุคเรเนสซองส์ ในศตวรรษที่ 17 เยอรมนีเริ่มมัการฟื้นฟูรูปแบบสถาปัตยกรรมในประเทศ โดยมีการประดับตกแต่งอาคารต่าง ๆ มากขึ้น เช่น วิหาร โบสถ์ ต่อมา ในศตวรรษที่ 18 ศิลปะสิ่งปลูกสร้างของอิตาลีและฝรั่งเศสในสไตล์โรโคโคมีบทบาทหลักในเยอรมนีก่อนจะลดลงตามลำดับในศตวรรษที่ 1p เมื่อลัทธิยีโอคลาสสิคมีบทบาทในยุโรป\nในปัจจุบัน รูปแบบสถาผัตยกรรมในเยอรมนีแจกต่างกันไปในแต่ละภูม้ภาค ระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 และ 20 เมืองใหญ่ เช่น มิวนิกหรือเบอร์ลิน ได้พัฒนาจากเขตเทศบาลขนาดเล็กมากไปจนถึงเม้องใหญ่ระดับโลก ดังนั้นวัฒนธรรมทางสถาปัตยกรรมเมืองของเยอรมนีจึงไม่ใช่แค่ในเมืองเท่านั้น แต่ยังถูกสร้างโดยเมืองขนาดกลาง เมืองเล็กในชนบท และหมู่บ้านขนาดใหญ่อีกด้วย\n=== ดนตรี ===\n\nเยอรมนีมีนักดนตรี คีตกวี และนักประพันธ์ทีทมรชื่อเสียงระดับสากลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นลูทวิช ฟัน เวทโฮเฟิน๙ โยฮัน เซบัสทีอัน บัค, โยฮันเนิส บรามส์, ริชชาร์ท วากเนอร์, จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล, โรแยร์ท ชูมัน, เฟลิคส์ เม็นเดิลส์โซน, คาร์ล ออร์ฟ เป็นต้น\nปัจจุบันเยอรมตีเป็นตลาดดนตรีืี่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของยุโีป และอันดับ 4 ของโลก ดนตรีเยอรมันเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วง ศตบรรษที่ 20-21 อาทิเช่น วงสกเร์เปียนส์ กับ วงรัมสไตน? วงเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันดีมากที่สุดในระดับโลก, โทคิโอโฮเทล เป็นวงป็อปร็อกที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งในเยอรมัน เป็นต่น\n=== อาหาร ===\nอาหารเยอรมันแตกต่างจากพื้นที่สู่พื้นที่ ้ช่น ในภาคใต้ของบาวาเรีย และ ชวาเบิน ร่วมกันสร้างวัฒนธรรมการปรุงอาหารตามแบบสวิตเซอร์แลนด์และออสเตรีย หมูแลุไก่เป็นเจื้อสัตว์ที่นิยมบริโภค โดยหมูเป็นที่นิยมมากที่สุด และเนื้อวัวก็ได้รับความนิยมเช่นกัน เยอรมนียังขึ้นชื่อในด้านการแปรรูปเนื้อสัตว์ในีูปของไส้ำรอก และแฮม ไส้กรอกเยอรมันเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติที่มีชื่แเส้ยงโด่งดังไปทั่วโลก โดยเยอรมนีผลิตไส้กรอกมาดกว่า 1500 ชนิด อาหารอินทรีย์ได้รับสทวนแบ่งตลาดประมาณ 3.0% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก \n\nชาวเยอรมันมีคำพูดติดปากที่สะท้อนถึงวัฒนฌรรมในการรับประทานอาหารว่า: \"รับประทานอาหารเช้าเช่นจักรพรรดิ กลางวันเช่นกษัตริย์ และอาหารเย็นเหมือนขอทาน\" อาหารเช้ามักประกอบด้วยขนมปังก้อนเล็ก (Brötchen) ทาแยมหรือน้ำผค้ง หรือทานกับเนื้อเย็นและชีส บางครั้งมีไข่ร้ม ธัญพืชหรือ Muesli กับนมหรือโยเกิร์ต กว่า 300 ชนิดของขนมปังมีจำหน่ายในร้านเบเกอรี่ทั่วประ้ทศ ผู้อพยพจากหลายประเทศได้นำอาหารนานาชาติมาเผยแถร่จนทำให้เกิดความนิยมอาหารต่างชาติ เช่นอาหารอิตาเลียนพิซซาและพสสตา อาหารตุรกีและอาหรับได้แก่ Döner แลด Falafel โดยเฉพาะในเมืองใหญ่นอกจากร้านอาหารพื้นเมิองแล้ว ยังมีร้านอาหารนานาชาติแพร่หลายไมทว่าจะะป็นร้านอาหารจีน กรีก อินเดีย ไทย ญี่ปุ่นและอื่น ๆ\nแม้ว่าไวน์จะเป็นที่นิยมในหลายประเทศ แต่หระเทศเยอรมนีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประจำชาติคือเบียร์ แม้คนเยอรมันจะบริโภคเบียร์ต่อคนจะลดลง แต่ปริมาณการบริโภคเบียร์ 127 ลิตรต่อปีต่อคนในเยอรมนีก็ยังคงเป็นตัวเลขสูงที่สุดในโลก ชนิดของเบียร์ในเยิรมนีได้แก่ Alt, Bock, Dunkel, Kölsch, เลเกอร์, Malzbier, Pils แงะ Weizenbier นอกจากนี้ น้ำแร่อัดลม และ Schorle (ผสมกับน้ำปลไม้) ก็เป๊นที่นิยมเช่นกัน\n=== เทศกาลสำคัญ ===\n\nเทศกาลประจำปีที้มีชื่อเสียงไปทั่วโลกได้แก่ อ็อกโทอบอร์เฟสต์ (Oktoberfest) ณ เมืองมิวนิก โดยจัดขึ้นเป็นประจำในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยชาวเยอรมันและนักท่องเืี่ยวจากทั่วทุกมุมโลกจะมาร่วมเฉลิมฉลิงด้วยการดื่มเบียร์และอาหสตเสนูชั้นนำ เช่น ขาหมู หมูย่าง และไม้กรอก และมีการเต้นรำด้วยความสนุกสนาน\nเทศปาลอท่น ๆ ที่มีชื่อเสียงเช่น เทศกาลคาร์นิวาล กรุงเบอร์ลิน โดยจะปิดถนนกลางเมืองเพื่อเปิดโอกาสให้ขบวนพาเหรดที่ชื่อ “Karneval ver Kulturen” ได้อวดความสวยงามของการแต่งกายแฟนซีสีสันฉูดฉาดเดินขบวนตามท้องถนจ และเปอดโอกาสให้ประเาศต่าง ๆ ทั่วโลกจัดขบวนพาเหรดมาร่วมขบวนด้วย และยังมีเทศกาลวันพ่อของเยอรมนี จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม จะเห็นผู้ชายในแต่ละเมืองแต่งตัวแปลก ๆ นำเบียร์ไปดื่มฉลองกันในสวนสาธารณะและมักจะดื่มกันจนเมาไม่ได้สติ นอกจากจะเป็นวันพ่อแล้ว ในภาษาเยอ่มันคำว่า Mannertag หรือ Herrentag สังมีความหมายว่า “วันของปู้ชาย” อีกด้วย เทศกาลนี้จึงเป็นโอกาสให้ชายชาวเยอรมันแสดงออกถึงสัญชาตืญาณในตัวเองและปลดปล่อยความเครียดจากการทำงานอย่างเต็มที่\n==- วันหยุด ===\n=== สื่อและวงการบันเทิง ==]\n\nตลาดโทรทัศน์ของเยอนมนีเแ็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดฝนยุโรป โดยมีการรับชมโทรทัศน์ประมาณ 38 ล้านครัวเรือน ค่ัวเรือนในเยอรมนีประมาณ 90% มีเคเบิลทีวีหรือทีวีดาวเทียมพร้อมช่องสาธารณะและช่องเชิงพาณิชย์ที่เปิดให้ชมฟรีมากมาย มีสถานีวิทยุของรัฐและเอกชนมากกว่า 300 แห่ง เครือข่สยวิทยุแห่งชาติคือ Deutschlandradio และ Deutsche Welle ตลาดหนังสือพิมพ์และนิตบสารจองเยอรมนคใหญ่ที่สุดในยุโรป นิตยสารที่ฝหญ่ที่สุด ได้แก่ ADAC Motorwelt และ Der Spiegel เยอรมนีมีตลาดวิดีโอเกมขนาดใหญ่ มีผู้เล่นมากกว่า 34 ล้านคนทั่วประเทศ ทำยอดขายรวมทั่ใประเทศได้มากกว่า 8.5 ล้านยูโรในปี 2020\nวงการภาพยนตร์ของเยอรมนีมีอิทธิพลต่อวงการภาพยนตร์ยุโรป เช่นเดัยวกับฝรั่งเศสและอิตาลี ผลงานแรกของพี่น้อง Skladanossky ถูกแสดงในปี 1895 สตูดิโอ Nabelsberg ที่มีชื่อเสียงใน พ็อทซ์เัม ก่อตั้งขึ้นในปี 1o12 เป็นสตูดิโอภาพยนตร์ขนาดใหญ่แห่งแรกในโลก ผู้กไกับ Frigz Lann's ได้กำกับภาพยนตร์เรื่อง Metropolis (1927) ได้รับการขนานนามว่าเป็นผู้กำกับภาพยาตร์แนวไซไผเรื่องใหญ่เรื่องแรก\nภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงที่ได้รับรางวัลสำคัญำด้แก่ ดีเบลชทรอมเมิล - The Tin Drum (Die Blechtrommel) ได้รางวัลออนการ์สาขาภาพยนตร?ถาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในปี 1979 ภาพยนตร์เรื่องอื่นที่ได้รางวัลในสาขานี้ได้แก่ Nowh3re in Africa (Nirgendwo in Afrika) ในปี 2002 และ The Lives of *thers (Das Leben der) And2ren) ในปี 20p7 พิธีมอบรางวีล European Film Awards ประจำปีจัดขึ้นทุก ๆ ปีในกรุงเบอร์ลิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของ European Film Academy เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน หรือที่รู้จักในชื่อ \"Berlinale\" ซึ่งมอบรางวัล \"หมีทองคำ\" ให้แก่ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และจัดขึ้นทุกปีตัีงแต่ปี 1951 เป็นหนึ่งในเทศกาลภาพยนตร์ชั้นนำของโลก\n=== กีฬา ===\n\nฟุตบิลเป็นกีฬาที่คนเยอรมันนิยมมากท้่สุด สมาคมฟุตบอลเยอรมันถือเป็นองค์กรด้านกีฬาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เยอรมนีม้ลีกการแข่งขันบุนเดิสลีกาที่ได้รัชความนิยมสูง โดจมียอดผู้ชมสูงที่สุดเป็นอันดับสองของโลก ทีมชาติชุดใหญ่ของเยอรมนี (Deutsche Fußballnationalnannschaft) ประสบความสำเร็จสูงในหารแข่งขันนานาชาติ โดยชนะเลิศฟุตบอลโลก 4 สมัย, ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 3 สมัย และฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1 สมัย เยอรมนียังเป็นชาต้เดียวในโลกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลกทั้งในประเภทมีมชายและทีมหญิง\nเยอรมนียังเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำด้านกีฬาท้ารวามเร็วชั้นนำของโลก ผู้ผลิตชื่อดังอย่างบีเเ็มดึบเบิลยู และ เมอร์เซเดส-เขนซ์ เป็นผู้ผลิตที่โเดเด่นในวงการมอเตอรฺสปอร์ต และยังมีรถแข่งจากพอร์เชอซึ่งเป็นตัวแทนรถในการชนะการแข่งบัน 24 ชั่ใโมง เลอม็ิง 19 ครั้ง และรถของอาวดี้ ชนะอีก 13 ครั้ง มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ นักแข่งรถิาชีพได้สร้างสถิติใอเตอร์สปอร์ตมากมายในอาชีพของเขา โดยชนะการแข่งขัน Formula One World Drivers' Championships ถึง 7 สมัย นอกจากนี้ยังมี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล ซึ่งเป็นหนึ่งในห้าอันดับแรกของนักแข่งฟอร์มูลาวันที่ประสบตวมมสำเร็จมากที่สุดตลอดกาล\nกีฬาอื่น ๆ ที่เป็นที่สิยมได้แก่ ขี่ม้า ปั่นจักรยมน ปีนเขา กอล์ฟ สกี และ เทนนิส โดยมีนักเทนนืสระดับโลกมากมาย เช่น สเตฟฟี่ กราฟ เจ้าของตำแหน่งชาะเลิศแกรนด์สแลม 22 สมัย และทำสถิติครองตำแหน่งอันดับ 1 ของโฃกยาวนานที่สุด, บอริส เบกเคอร์ ผู้ชนะเลิศแกรนด์สแลม 6 สมัย, ฟิลิปป์ โคห์ลชไรเบอร์, ทอมมี แฮส และมีสอวนักเทนนิสที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันได้แก่ อันเจลีค แคร์เบอร์ กละ อเล็คซันเดอร์ ซเฟเร็ฟ\nเยอรมนีเป็นหนึ่งในชาติที่ประสบความสำเร็จในกีฬาโอลิมปิก โดยมีจำนวนเหรียญรางวัลรวมมากที่สุดเป็นอันดับสามตลอดกาล (นับรวมทั้งเยอรมนีตะวันออำและเยอรมนีตะวึนตก) เยอรมนียังเป็นประเทศล่าสุดที่ได้เป๊นเจ้าพาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนแลถโอลิมปิกฤดูหนาวภายในปีเดียวกัน (1936) และเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งล่าสุดในปี1962 จัดขึ้นที่นครมิวนิก\n== ดูเพิ่ม ==\nสหภาพยุโคป\nจักรวรรดิเยอรมัน\nการปฏิวัติเยอรสัน\nำารรสมชาติเยอรมัน\nชาวเยอรมัน\nภาษาเยอรมัน\nฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี\n== หมายเหตุ ==\n== อ้างอิง ==\n== ข้อมูล ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOeficial site of the Bederal Government\nOfficial Germany tourism website\nGermany from the BBC News\nGermany. The World Factbook. Central Intelligence Agency.\nGermany from the OECD\nGermany at the EU\n \nประเมศในระบบซีวิลลอว์\nย\nรัฐและดินแดนที่ก่อตั้ฝในปี พ.ศ. 2414",
"role": "user"
},
{
"content": "เยอรมนี (Germany; Deutschland, ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นสหพันธรัฐในรูปแบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภาในภูมิภาคยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบทั้งหมด 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 85 ล้านคน ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป และมากที่สุดเป็นอันดับสองในทวีปยุโรปรองจากรัสเซีย มีเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงเบอร์ลิน และยังเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ มีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต และภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัวร์ เยอรมนีมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์\nชนเผ่าดั้งเดิมรวมถึงกลุ่มชนเจอร์แมนิกเข้ามาตั้งรกรากทางตอนเหนือของเยอรมนีตั้งแต่สมัยคลาสสิก ภูมิภาคที่ชื่อเจอร์มาเนียได้รับการค้นพบก่อน ค.ศ. 100 และในศตวรรษที่ 10 ดินแดนของเยอรมนีกลายเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วงศตวรรษที่ 16 ภูมิภาคทางเหนือกลายเป็นศูนย์กลางของการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ หลังจากสงครามนโปเลียนและการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ใน ค.ศ. 1806 สมาพันธรัฐเยอรมันได้ถูกก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1815 ต่อมาใน ค.ศ. 1871 การรวมชาติก่อให้เกิดจักรวรรดิเยอรมันซึ่งปกครองโดยปรัสเซีย และภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการปฏิวัติเยอรมันใน ค.ศ. 1918 จักรวรรดิได้กลายสภาพเป็นสาธารณรัฐไวมาร์และปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดี\nการเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นำไปสู่การก่อตั้งนาซีเยอรมนีซึ่งเป็นชนวนไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และพันธุฆาตในเหตุการณ์ฮอโลคอสต์ หลังสงครามสิ้นสุด เยอรมนีตกอยู่ภายใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตร ก่อนจะถูกแบ่งแยกเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนีตะวันตก) และสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (เยอรมนีตะวันออก) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปและสหภาพยุโรป ในขณะที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีมีสถานะเป็นรัฐคอมมิวนิสต์ และเป็นสมาชิกของกลุ่มตะวันออกรวมถึงกติกาสัญญาวอร์ซอ การปฏิวัติเงียบสงบนำไปสู่การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ การรวมประเทศทำให้เยอรมนีตะวันออกเข้าร่วมสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990 ก่อให้เกิดรัฐใหม่ของเยอรมนี ซึ่งได้กลายสภาพเป็นสาธารณรัฐที่มีรัฐบาลกลางและอยู่ภายใต้การบริหารโดยนายกรัฐมนตรี\nเยอรมนีเป็นประเทศพัฒนาแล้วและถือเป็นมหาอำนาจ และเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป, ยูโรโซน, สหประชาชาติ, องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, สภายุโรป, เนโท, กลุ่ม 7 และกลุ่ม 20 เยอรมนีมีความสามารถในการแข่งขันระดับโลก เป็นหนึ่งในผู้นำทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจสูง โดยหากวัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เยอรมนีมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก และเป็นประเทศที่มีการนำเข้าและส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของโลก รวมทั้งมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูง และยังมีแหล่งมรดกโลกมากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของโลก รวมทั้งมีสวัสดิการสังคมที่มีคุณภาพ ระบบสาธารณสุขที่ครบวงจร กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด และระบบการศึกษาโดยไม่เสียค่าเล่าเรียน\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nมีหลักฐานมาตั้งแต่ยุคโบราณว่า ชื่อประเทศ \"Germany\" ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า \"Germania\" ในภาษาละติน โดยมีที่มาจากสมัยของ จูเลียส ซีซาร์ ซึ่งนำคำนี้มาใช้ในเรียกกลุ่มคนที่ตั้งรกรากและอาศัยอยู่แถบบริเวณตะวันออกของแม่น้ำไรน์ โดยในอดีต ภูมิภาคที่เป็นแผ่นดินของเยอรมนีรวมถึงบริเวณใกล้เคียงถูกเรียกว่า \"เจอร์มาเนีย\"\nในส่วนของชื่อประเทศ \"Deutschland\" ในภาษาเยอรมัน แผลงมาจากคำว่า \"Diutisciu land\" ซึ่งมีความหมายว่า ดินแดนของชาวเยอรมัน (The German lands) ซึ่งมาจากภาษาเยอรมันยุคโบราณ\n== ประวัติศาสตร์ ==\nการค้นพบโครงกระดูกฟันกรามเมาเออร์ 1 (Mauer 1) ได้ชี้ให้เห็นว่า มนุษย์มีการตั้งรกรากในบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบันมาตั้งแต่ 600,000 ปีที่แล้ว เครื่องไม้เครื่องมือในการล่าสัตว์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกถูกค้นพบในเหมืองถ่านหินบริเวณเมืองเชินนิงเงิน ซึ่งได้ค้นพบทวนไม้โบราณสามเล่มที่ฝังอยู่ใต้ผืนดินมาเป็นเวลากว่า 380,000 ปี นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบฟอสซิลมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ \"นีแอนเดอร์ทาล\" เป็นครั้งแรกของโลก ซึ่งคาดว่ามีอายุกว่า 40,000 ปี นอกจากนี้ยังมีการค้นพบหลักฐานของมนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันในถ้ำของเทือกเขาแอลป์ชวาเบินใกล้กับเมืองอุล์ม และยังมีการค้นพบเครื่องเป่าที่ทำจากงาช้างแมมมอธและกระดูกของนกอายุกว่า 42,000 ปี ถือเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่มีการค้นพบ นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบรูปสลัก \"ไลออนแมน\" ที่ตัวเป็นคนหัวเป็นสิงโตจากยุคน้ำแข็งเมื่อ 40,000 ปีก่อน ถือเป็นงานศิลปะอุปมาเลียนแบบกายมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดที่เคยมีการค้นพบ\n=== กลุ่มชนเจอร์แมนิกและอาณาจักรแฟรงก์ (ยุคสัมฤทธิ์–ค.ศ. 843) ===\nคาดการณ์ว่ากลุ่มชนเจอร์แมนิกตั้งแต่ยุคสัมฤทธิ์ไปจนถึงยุคเหล็กก่อนการก่อตั้งกรุงโรมนั้น เดิมอยู่อาศัยบริเวณทางใต้ของสแกนดิเนเวียไปจนถึงตอนเหนือของเยอรมนี พวกเขาขยายอาณาเขตไปทางใต้ ตะวันตกและตะวันออก จนได้รู้จักและติดต่อกับชาวเคลต์ในดินแดนกอล รวมไปถึงกลุ่มชนอิหร่าน, ชาวบอลติก, ชาวสลาฟ ซึ่งอาศัยอยู่ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ต่อมา กรุงโรมภายใต้จักรพรรดิเอากุสตุส เริ่มการรุกรานดินแดนที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน และแผ่ขยายดินแดนครอบคลุมทั่วลุ่มแม่น้ำไรน์และเทือกเขายูรัล ใน ค.ศ. 9 กองทหารโรมันสามกองนำโดยวาริอุสได้พ่ายแพ้ให้กับอาร์มินีอุสแห่งชนเผ่าเครุสค์ ต่อมาใน ค.ศ. 100 ในช่วงที่ตากิตุสเขียนหนังสือ Germania กลุ่มชนเผ่าเยอรมันก็ต่างได้ตั้งถิ่นฐานตลอดแม่น้ำไรน์และแม่น้ำดานูบ และเข้าครอบครองดินแดนเกือบทั้งหมดในส่วนที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน\nในศตวรรษที่ 3 ได้มีการเกิดขึ้นของเผ่าเยอรมันขนาดใหญ่หลายเผ่าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นชนอลามันน์ (Alemanni), ชาวแฟรงก์ (Franks), ชาวชัตต์ (Chatti), ชาวแซกซอน (Saxons), ชาวซีกัม (Sicambri), และชาวเทือริง (Thuringii) ราว ค.ศ. 260 พวกชนเผ่าเยอรมันเหล่านี้ก็รุกเข้าไปในดินแดนในความควบคุมของโรมัน ภายหลังการรุกรานของชาวฮันใน ค.ศ. 375 และการเสื่อมอำนาจของโรมันตั้งแต่ ค.ศ. 395 เป็นต้นไป พวกชนเผ่าเยอรมันก็ยิ่งรุกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ชนเผ่าเยอรมันขนาดใหญ่เหล่านี้เข้าครอบงำชนเผ่าเยอรมันขนาดเล็กต่าง ๆ เกิดเป็นดินแดนของชนเผ่าเยอรมันในบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน\n=== อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 843–1815)===\n\nใน ค.ศ. 800 ชาร์เลอมาญ กษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ ได้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งชาวโรมัน และสถาปนาจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ต่อมาใน ค.ศ. 840 ได้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นจากการแย่งชิงบัลลังก์ในหมู่พระโอรสของจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา สงครามกลางเมืองครั้งนี้จบลงในปี 843 โดยการแบ่งจักรวรรดิการอแล็งเฌียงออกเป็นสามอาณาจักรอันได้แก่:\nอาณาจักรแฟรงก์กลาง – บริเวณเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ตะวันออกของฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และภาคเหนือของอิตาลี\nอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก – บริเวณเยอรมนี ออสเตรีย เช็กเกีย สโลวาเกีย ฮังการี สโลวีเนีย โครเอเชีย และบางส่วนของบอสเนีย\nอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก – บริเวณตอนกลางและตะวันตกของฝรั่งเศส\nอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกแผ่ขยายดินแดนอย่างมากมายครอบคลุมถึงอิตาลีในรัชสมัยพระเจ้าออทโทที่ 1 ในค.ศ. 962 พระองค์ก็ปราบดาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งชาวโรมันตามแบบอย่างชาร์เลอมาญ และสถาปนาราชวงศ์ออทโท ถือเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ภายใต้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คมีดินแดนในอาณัติกว่า 1,800 แห่งทั่วยุโรป\n\n===== การผงาดของปรัสเซีย =====\nเดิมที ราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นดินแดนหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และยอมรับนับถือจักรพรรดิในกรุงเวียนนาเป็นเจ้าเหนือหัว อย่างไรก็ตาม ปรัสเซียเริ่มแตกหักกับราชวงศ์ฮาพส์บวร์คเมื่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 เสด็จสวรรคตในปี 1740 ทายาทของจักรพรรดิคาร์ลมีเพียงพระราชธิดาเท่านั้น พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ทรงคัดค้านการให้สตรีครองบัลลังก์จักรวรรดิมาตลอด พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเปิดฉากรุกรานดินแดนไซลีเซียของราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค เกิดเป็นสงครามไซลีเซียครั้งที่หนึ่ง และบานปลายเป็นสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรียที่มีอังกฤษและสเปนเข้ามาร่วมอยู่ฝ่ายเดียวกับปรัสเซีย สงครามครั้งนี้จบลงด้วยความเสียเปรียบของฮาพส์บวร์ค ราชสำนักกรุงเวียนนาต้องสูญเสียดินแดนจำนวนมากแก่ปรัสเซียและพันธมิตร ราชสำนักกรุงเบอร์ลินแห่งปรัสเซียได้ผงาดบารมีขึ้นมาเป็นขั้วอำนาจใหม่ในจักรวรรดิเทียบเคียงราชสำนักกรุงเวียนนา แม้ว่าโดยนิตินัยแล้ว ปรัสเซียจะยังคงถือเป็นดินแดนหนึ่งในจักรวรรดิภายใต้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คก็ตาม\n=== สมาพันธรัฐเยอรมันและจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1815–1918) ===\n\nจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต้องสูญเสียดินแดนมากมายแก่ฝรั่งเศสในช่วงสงครามนโปเลียน ทำให้ในปี 1806 จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 ทรงประกาศยุบจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสถาปนาจักรวรรดิออสเตรียขึ้นมาแทน เมื่อนโปเลียนถูกโค่นล้มและถูกเนรเทศไปเกาะเอลบาในปี 1814 ได้มีการจัดการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาขึ้นเพื่อจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ ราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิออสเตรียได้ร่วมมือกันให้มีการรวมกลุ่มอย่างหลวม ๆ ของรัฐเยอรมันทั้งหลาย จัดตั้งขึ้นเป็น \"สมาพันธรัฐเยอรมัน\" เพื่อรวมความเป็นรัฐชาติและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาวเยอรมันอีกครั้ง แม้ปรัสเซียจะพยายามผลักดันให้พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย ดำรงตำแหน่งองค์ประธานสมาพันธรัฐเยอรมันแต่ก็ไม่เป็นผล รัฐสมาชิก 39 แห่งกลับลงมติยอมรับนับถือจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย เป็นองค์ประธานสมาพันธรัฐเยอรมัน\nในปี 1864 ความขัดแย้งระหว่างออสเตรียกับปรัสเซียขึ้นอีกครั้ง และบานปลายเป็นสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย หรือที่เรียกว่า \"สงครามพี่น้อง\" สงครามครั้งนี้จบลงด้วยชัยชนะอย่างงดงามของปรัสเซีย ออสเตรียสูญเสียอิทธิพลเหนือรัฐเยอรมันตอนใต้ทั้งหมดและจำยอมยุบสมาพันธรัฐเยอรมันในวันที่ 23 สิงหาคม 1866 และนำไปสู่การสถาปนา \"สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ\" ที่มีกษัตริย์แห่งปรัสเซียเป็นองค์ประธาน และภายหลังปรัสเซียมีชัยในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียในปี 1871 รัฐสภาแห่งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อสมาพันธรัฐเป็นจักรวรรดิ และมีมติให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ถือเป็นการสถาปนาจักรวรรดิเยอรมันอย่างเป็นทางการ\nจักรวรรดิเยอรมันมีพัฒนาการด้านอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดด มีกองทัพบกที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก และมีกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพเป็นลำดับสองรองจากราชนาวีอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ความปราชัยในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งทำให้เกิดยุคข้าวยากหมากแพงจนจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 สละราชสมบัติและลี้ภัยการเมืองในปี 1918 เยอรมนีเปลี่ยนไปใช้ระบอบระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐภายใต้ประธานาธิบดี\n=== สาธารณรัฐไวมาร์และไรช์ที่สาม (ค.ศ. 1919–1945) ===\n\nเมื่อระบอบจักรพรรดิล่มสลาย ได้มีการจัดประชุมสมัชชาแห่งชาติขึ้นที่เมืองไวมาร์และมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ เป็นที่มาของชื่อลำลองว่า \"สาธารณรัฐไวมาร์\" ซึ่งตลอดช่วงเวลา 14 ปีของเยอรมนียุคสาธารณรัฐไวมาร์ ต้องเผชิญกับปัญหามากมาย ทั้งเศรษฐกิจตกต่ำ, อภิมหาเงินเฟ้อ, อัตราการว่างงานสูงลิบ, เผชิญหน้ากับการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์จากรัสเซีย, ถูกจำกัดจำนวนทหารและห้ามมีอาวุธยุทโธปกรณ์สมรรถนะสูงจากผลของสนธิสัญญาแวร์ซาย ความล่มจมของประเทศเช่นนี้ทำให้เกิดขบวนการชาตินิยมขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นคือพรรคกรรมกรเยอรมัน (DAP) ซึ่งมีอุดมการณ์แบบสุดโต่ง สิบตรีอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งเข้ามาสอดแนมในพรรคแห่งนี้ประทับใจกับอุดมการณ์ของพรรคและตัดสินใจเข้าร่วมพรรค ฮิตเลอร์ใช้พรสวรรค์ด้านวาทศิลป์ของตนเองจนสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำพรรค ในปี 1920 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อพรรคแห่งนี้เป็น \"พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน\" หรือที่รู้จักกันในชื่อ \"พรรคนาซี\"\nภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในปี 1929 นั้นส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเยอรมนีมาก ผู้คนนับล้านในเยอรมันตกงาน ฮิตเลอร์ได้ใช้โอกาสนี้หาเสียงและกวาดคะแนนนิยม ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนพฤศจิกายน 1932 พรรคนาซีกลายเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสภาไรชส์ทาค ครองที่นั่ง 230 ที่นั่งจากทั้งหมด 584 ที่นั่ง จะเห็นได้ว่าแม้นาซีจะเป็นพรรคใหญ่สุดแต่ก็ยังไม่ได้ครองเสียงข้างมาก จนกระทั่งเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 1933 โดยกล่าวหาว่าเป็นฝีมือของพวกคอมมิวนิสต์ นายกรัฐมนตรีฮิตเลอร์กดดันให้ประธานาธิบดีฮินเดินบวร์คลงนามในกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคเพื่อจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และหว่านล้อมให้สภาลงมติอนุมัติรัฐบัญญัติมอบอำนาจ ซึ่งทำให้ฮิตเลอร์กลายเป็น \"ฟือเรอร์\" ผู้มีอำนาจเบ็ดเสร็จในเยอรมนีไปโดยปริยาย\nเมื่อฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุด เขาได้ฉีกสนธิสัญญาแวร์ซายทิ้งและเร่งฟื้นฟูแสนยานุภาพของเยอรมันเป็นการใหญ่ ฮิตเลอร์ประกาศลดภาษีรถยนต์เป็นศูนย์และเร่งรัดให้มีการสร้างทางหลวงเอาโทบานทั่วประเทศ ส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยอรมันเติบโตอย่างมโหฬาร เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ เยอรมนีได้ผงาดขึ้นเป็นมหาอำนาจอีกครั้งและกลายเป็นชาติที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุดในโลกในทุกด้าน ทั้งด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรม การแพทย์ และการทหาร เทคโนโลยีหลายอย่างของโลกก็ถือกำเนิดขึ้นจากเยอรมนีในยุคนี้ อย่างไรก็ตามความรุ่งเรืองเหล่านี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขูดรีดแรงงานในค่ายกักกันที่มีอยู่มากมาย\n===== สงครามโลกครั้งที่สอง =====\n\nในปี 1938 หลังเยอรมนีผนวกบ้านพี่เมืองน้องอย่างออสเตรียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตน ในที่สุด ฮิตเลอร์ส่งกองทัพเข้ายึดประเทศออสเตรียและประเทศเชโกสโลวาเกียโดยไม่สนคำครหา กลิ่นของสงครามเข้าปกคลุมทั้งทวีปยุโรป สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสต้องการเลี่ยงสงครามจึงได้จัดการประชุมมิวนิกกับเยอรมนีในเดือนกันยายน เพื่อเป็นหลักประกันว่าเยอรมนีจะไม่รุกรานดินแดนใดไปมากกว่านี้และจะไม่ก่อสงคราม แต่ขณะเดียวกัน ต่างฝ่ายก็ต่างสั่งสมกำลังเพื่อเตรียมเข้าสู่สงคราม\nในปี 1939 การบุกยึดโปแลนด์ของเยอรมนีได้จุดชนวนสงครามโลกครั้งที่สองขึ้น ตามด้วยการบุกครองประเทศอื่น ๆ ในยุโรปและยังทำกติกาสัญญาไตรภาคีเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและญี่ปุ่น เขตอิทธิพลของนาซีเยอรมันได้แผ่ไพศาลที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติเยอรมันในปี 1942 ครอบคลุมส่วนใหญ่ของยุโรปภาคพื้นทวีป ในปี 1943 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของเยอรมนีจาก \"ไรช์เยอรมัน\" (Deutsches Reich) เป็น \"ไรช์เยอรมันใหญ่\" (Großdeutsches Reich)\nหลังความล้มเหลวในปฏิบัติการบาร์บารอสซาที่สหภาพโซเวียต เยอรมันก็ถูกรุกกลับอย่างรวดเร็วจากทั้งสองด้าน เมื่อกองทัพแดงบุกถึงกรุงเบอร์ลินในเดือนเมษายน 1945 ฮิตเลอร์ปฏิเสธที่จะหนีออกจากกรุงเบอร์ลินและตัดสินใจยิงตัวตาย หนึ่งสัปดาห์ต่อมา เยอรมนีก็ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร\n=== เยอรมนีตะวันออกและตะวันตก (ค.ศ. 1945–1990) ===\nหลังเยอรมนียอมจำนนแล้ว ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้แบ่งกรุงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีออกเป็น 4 เขตในยึดครองทางทหาร เขตฝั่งตะวันตกซึ่งควบคุมโดยฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐ ได้รวมกันและจัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ส่วนเขตทางตะวันออกซึ่งอยู่ในควบคุมของสหภาพโซเวียตได้จัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 ทั้งสองประเทศนี้ถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า \"ประเทศเยอรมนีตะวันตก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงบ็อน และ \"ประเทศเยอรมนีตะวันออก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงเบอร์ลินตะวันออก\nเยอรมนีตะวันตกมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐภายใต้รัฐสภากลาง และใช้ระบบเศรษฐกิจการตลาดเพื่อสังคม (Social Market Economy) เยอรมนีตะวันตกรับความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจำนวนมากตามแผนมาร์แชลล์เพื่อฟื้นฟูอุตสาหกรรมของตน เศรษฐกิจของเยอรมนีตะวันตกฟื้นฟูอย่างรวดเร็วจนถูกเรียกว่า \"ปาฏิหาริย์ทางเศรษฐกิจ\" (Economic miracle) เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ในปี 1955 และเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ในปี 1957\nเยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐในกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ซึ่งตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองและทางทหารของสหภาพโซเวียต และยังเป็นรัฐร่วมภาคีในกติกาสัญญาวอร์ซอ และแม้ว่าเยอรมนีตะวันออกจะอ้างว่าตนเองปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่อำนาจทางการเมืองการปกครองทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของโปลิตบูโรแห่งพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี (SED) ซึ่งมีหัวแบบคอมมิวนิสต์ นอกจากนี้ พรรคฯยังมีการหนุนหลังจาก \"กระทรวงความมั่นคงแห่งรัฐ \"หรือที่เรียกว่า \"ชตาซี\" (Stasi) อันเป็นหน่วยงานรัฐขนาดใหญ่ที่ควบคุมเกือบทุกแง่มุมของสังคม เยอรมนีตะวันออกใช้ระบอบเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ อันเป็นระบบเศรษฐกิจที่ทุกอย่างถูกวางแผนโดยรัฐ\n\nชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมากพยายามข้ามไปยังเยอรมนีตะวันตกเพื่ออิสรภาพและชีวิตที่ดีกว่า ทำให้เยอรมนีตะวันออกตัดสินใจสร้างกำแพงเบอร์ลินขึ้นมาเพื่อป้องกันการลักลอบข้ามแดน กำแพงเบอร์ลินถูกสร้างขึ้นอย่างรวดเร็วในปี 1961 กำแพงแห่งนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นระหว่างฝ่ายเสรีกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ การพังทลายลงของกำแพงเบอร์ลินในปี 1989 ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ นำมาซึ่งการรวมประเทศเยอรมนีในปีถัดมา ก่อนที่จะตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีให้หลัง\n=== ยุคหลังการรวมประเทศ (ค.ศ. 1990–ปัจจุบัน) ===\nเบอร์ลินกลายเป็นเมืองหลวงเดี่ยวของประเทศอีกครั้ง ในขณะที่อดีตเมืองหลวงอย่างบ็อน ได้รับสถานะที่เรียกว่า \"บุนเดิสชตัท\" (นครสหพันธ์) ซึ่งจะคงที่ทำการใหญ่ของบางหน่วยงานเอาไว้ การย้ายที่ทำการรัฐบาลแล้วเสร็จในปี 1999 และเศรษฐกิจของเยอรมนีได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การรวมประเทศ เยอรมนีมีบทบาทอย่างแข็งขันในสหภาพยุโรป ลงนามในสนธิสัญญามาสทริชท์ในปี 1992 และสนธิสัญญาลิสบอนในปี 2007 และร่วมก่อตั้งยูโรโซน เยอรมนีส่งกองกำลังรักษาสันติภาพเพื่อรักษาเสถียรภาพในคาบสมุทรบอลข่าน และส่งทหารไปยังอัฟกานิสถานซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเนโทในการขับไล่กลุ่มตอลิบาน\nในการเลือกตั้งปี 2005 อังเกลา แมร์เคิล สร้างประวัติศาสตร์เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรก ต่อมา ในปี 2009 รัฐบาลเยอรมนีอนุมัติแผนกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 5 หมื่นล้านยูโร นโยบายทางการเมืองที่สำคัญของเยอรมนีในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความก้าวหน้าของการบูรณาการในยุโรป และการเปลี่ยนแปลงไปใช้พลังงานทดแทน (Energiewende) มาตรการเพิ่มอัตราการเจริญพันธุ์ (pronatalism) และกลยุทธ์สำหรับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจเพื่อก้าวสู่อุตสาหรรม 4.0 เยอรมนีได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรปในปี 2015 โดยตลอดหลายปีที่ผ่านมา ประเทศรับผู้อพยพกว่าล้านคน และพัฒนาระบบโควตาที่แจกจ่ายผู้อพยพไปทั่วรัฐ\n== ภูมิศาสตร์กายภาพ ==\n=== ที่ตั้ง ===\n\nเยอรมนีเป็นประเทศที่อยู่ตรงยุโรปกลางทำให้เรียกได้ว่าเป็นประเทศที่เป็นศูนย์กลางของทวีปยุโรปมีพรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ และยังมีพรมแดนติดกับทะเลสาบโบเดินที่เป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับ3ในทวีปยุโรป\nประเทศเยอรมนีมีขนาด 357,021 ตารางกิโลเมตรโดยแบ่งเป็นพื้นดิน 349,223 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้ำ 7,798 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 7 ในทวีปยุโรปและใหญ่เป็นอันดับ 62 ของโลกและด้วยพรมแดนมีความยาวทั้งหมดรวม 3,757 กิโลเมตรมีประเทศเพื่อนบ้านถึง 9 ประเทศ ทำให้เยอรมนีเป็นประเทศที่มีประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุดในทวีปยุโรป\nเยอรมนีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันไปจากทางตอนเหนือถึงทางตอนใต้ โดยมีทั้งที่ราบทางตอนเหนือและเทือกเขาทางตอนใต้ เยอรมนียังมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ แร่เหล็ก, ถ่านหิน, โพแทช, ไม้, ลิกไนต์, ยูเรเนียม, ทองแดง, ก๊าซธรรมชาติ, เกลือ, นิกเกิล, พื้นที่เพาะปลูกและน้ำ\n=== ภูมิอากาศ ===\nประเทศเยอรมนีส่วนใหญ่มีสภาพอากาศที่อบอุ่น ฤดูหนาวมีอากาศตั้งแต่อากาศหนาวในเทือกเขาแอลป์ตอนใต้ไปถึงสภาพอากาศอบอุ่นและค่อนข้างเย็น โดยทั่วไปมีเมฆมากและมีปริมาณฝนจำกัด ในขณะที่ฤดูร้อนอาจแตกต่างกันไปตั้งแต่ร้อนทั่วไปและแห้งไปจนถึงอากาศเย็นและมีฝนตก ภาคเหนือมีลมตะวันตกพัดปกคลุมซึ่งนำอากาศชื้นจากทะเลเหนือทำให้อุณหภูมิลดลงและมีฝนเพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้มีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2019 - 2020 อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนในเยอรมนีอยู่ในช่วงต่ำสุดที่ 3.3 ° C (37.9 ° F) ในเดือนมกราคม 2020 จนถึงสูงสุด 19.8 ° C (67.6 ° F) ในเดือนมิถุนายน 2019 ปริมาณน้ำฝนรายเดือนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 30 ลิตรต่อตารางเมตรในเดือนกุมภาพันธ์และเมษายน 2019 ถึง 125 ลิตรต่อตารางเมตรในเดือนกุมภาพันธ์ 2020 ชั่วโมงแสงแดดเฉลี่ยรายเดือนอยู่ระหว่าง 45 ในเดือนพฤศจิกายน 2019 ถึง 300 ในเดือนมิถุนายน 2019 อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึกไว้ในเยอรมนีคือ 42.6 ° C เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2019 ในเมืองลินเกน และอุณหภูมิต่ำสุดคือ −37.8 ° C เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1929 ในเมืองโวห์นซาค\n=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===\nในปี 2008 อาณาเขตของประเทศเยอรมนีสามารถแบ่งสภาพพื้นดินได้โดยแบ่งเป็นพื้นที่ทำกิน (34%) ป่าไม้ (30.1%) ทุ่งหญ้าถาวร 11.8% พืชและสัตว์ในเยอรมนีส่วนใหญ่เป็นพืชและสัตว์ในยุโรปกลางโดยต้นไม้ส่วนใหญ่ก็จะเป็น เบิร์ช, โอ๊ก และต้นไม้ผลัดใบอื่น ๆ ที่พบตามพื้นก็จะเป็น มอสส์, เฟิร์น, คอร์นฟลาวเวอร์, เห็ดรา สัตว์ป่าก็จะเป็น กวาง, หมูป่า, แพะภูเขา, หมาจิ้งจอกแดง, แบดเจอร์ยุโรป, กระต่ายป่าและอาจมีบีเวอร์บริเวณชายแดนประเทศโปแลนด์ด้วย:ซึ่งคอร์นฟลาวเวอร์สีฟ้าเคยเป็นดอกไม้ประจำชาติด้วย\nเยอรมนีมีอุทยานแห่งชาติ 16 แห่ง รวมถึงเขตสงวนชีวมณฑล 17 แห่ง และสวนสัตว์มากถึง 400 แห่ง สวนสัตว์เบอร์ลิน (Zoologischer Garten Berlin) เป็นสวนสัตว์ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดในเยอรมนี เปิดบริการมาตั้งแต่ ค.ศ. 1844 และได้รับการยอมรับให้เป็นสวนสัตว์ที่มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากที่สุดในโลก\n== การเมืองการปกครอง ==\nการรวมประเทศในปี 1990 นั้น เสมือนเป็นการผนวกประเทศเยอรมนีตะวันออกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนีตะวันตก ดังนั้นระบบระเบียบการปกครองทั้งหมดในประเทศเยอรมนีใหม่นี้ จึงยึดเอาระบบระเบียบเดิมของเยอรมนีตะวันตกมาทั้งหมด กฎหมายสูงสุดหรือรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีเรียกว่า กรุนด์เกเซ็ทท์ (Grundgesetz) หรือแปลอย่างตรงตัวได้ว่า \"กฎหมายพื้นฐาน\" ถูกบัญญัติขึ้นในปี 1949 เพื่อใช้เป็นรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีตะวันตก การแก้ไขกฎหมายฉบับนี้จำเป็นต้องได้รับเสียงอย่างน้อยสองในสามจากที่ประชุมร่วมสองสภาและ อย่างไรก็ตาม บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน, การแยกใช้อำนาจ, โครงสร้างสหพันธ์ และสิทธิในการต่อต้านความพยายามล้มล้างมิอาจถูกแก้ไขได้\n=== รัฐสมาชิกตามรัฐธรรมนูญ ===\nประเทศเยอรมนีประกอบด้วยสิบหก รัฐ (Bundesland บุนเดสลันด์) ในจำนวนนี้ เบอร์ลินและฮัมบวร์ค มีสถานะเป็นนครรัฐ (Stadtstaaten ชตัดท์ชตาเทิน) ในขณะที่ เบรเมิน เป็นรัฐที่ประกอบด้วยสองนครรัฐคือเบรเมินและเบรเมอร์ฮาเฟิน ในขณะที่อีกสิบสามรัฐที่เหลือ มีสถานะเป็นธรารัฐ (Flächenländer แฟลเชินแลนเดอร์) ทุกรัฐมีรัฐบาลท้องถิ่นเป็นของตนเอง สามารถตรากฎหมายและจัดเก็บภาษีเองตามกรอบของรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์ฯ\n|}\n=== ฝ่ายบริหาร ===\nประธานาธิบดีสหพันธ์ (Bundespräsident) เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ได้รับเลือกจากที่ประชุมใหญ่สหพันธ์ (Bundesversammlung) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาสหพันธ์ (Bundestag) และสมาชิกคณะมนตรีสหพันธ์ (Bundesrat) ประธานาธิบดีทำหน้าที่เป็นตัวแทนของสหพันธ์ ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือฟรังโก-วอลเตอร์ สไตน์ไมเออร์\nตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (Bundeskanzler) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาล เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร หัวหน้ารัฐบาลคนปัจจุบันคือ โอลัฟ ช็อลทซ์\n==== กระทรวงแห่งรัฐบาลสหพันธ์ ====\nรัฐบาลสหพันธ์ของประเทศเยอรมนีประกอบด้วย 14 กระทรวง และสำนักนายกรัฐมนตรีสหพันธ์\n=== ฝ่ายนิติบัญญัติ ===\n\nอำนาจนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาซึ่งประกอบไปด้วย สภาผู้แทนราษฎร (Bundestag) ทำหน้าที่เป็นสภาล่าง สมาชิกสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง และคณะมนตรีสหพันธ์ (Bundesrat) เป็นสภาผู้แทนรัฐทั้งสิบหกของสหพันธ์ ทำหน้าที่เป็นสภาสูง\nระบบพรรคการเมืองของเยอรมนีมีเพียงสองพรรคการเมืองหลักคือพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน (CDU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) โดยจนถึงปัจจุบันนายกรัฐมนตรีมาจากเพียงสองพรรคนี้ อย่างไรก็ตาม ก็มีพรรคที่เล็กกว่าซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างพรรคประชาธิปไตยเสรี (FDP) และกลุ่มพันธมิตร 90/กรีน (Bündnis 90/Die Grünen) ซึ่งมักเข้าเป็นพรรคร่วมรัฐบาลในรัฐบาลผสม\n=== ฝ่ายตุลาการ ===\nเยอรมนีมีระบบกฎหมายแพ่งที่อิงกฎหมายโรมันและกฎหมายเจอร์แมนิกบางส่วนภายใต้ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ (Bundesverfassungsgericht) ระบบศาลสูงสุดแบ่งออกเป็นห้าศาลซึ่งมีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา ได้แก่ คือศาลาศาลยุติธรรมสหพันธ์, ศาลแรงงานสหพันธ์, ศาลสังคมสหพันธ์, ศาลาการคลังสหพันธ์ และศาลปกครองสหพันธ์\nเยอรมนีมีอัตราการฆาตกรรมต่ำ โดยมีการฆาตกรรม 1.18 ครั้งต่อ 100,000 คน ณ ปี 2016 และในปี 2018 อัตราการเกิดอาชญากรรมโดยรวมลดลงสู่ระดับต่ำสุดนับตั้งแต่ปี 1992\n== ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ==\n=== ภาพรวม ===\nเยอรมนีมีเครือข่ายคณะทูต 227 แห่งในต่างประเทศ และรักษาความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ มากกว่า 190 ประเทศ เยอรมนีเป็นสมาชิกของ เนโท, องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, กลุ่ม 8, กลุ่ม 20, ธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เยอรมนีมีบทบาทที่ทรงอิทธิพลในสหภาพยุโรปตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง และยังคงเป็นพันธมิตรที่เข้มแข็งกับฝรั่งเศสและประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดมาตั้งแต่ปี 1990 เยอรมนีส่งเสริมการสร้างเครื่องมือทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคงของยุโรปที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น รัฐบาลของเยอรมนีและสหรัฐอเมริกาเป็นพันธมิตรทางการเมืองที่ใกล้ชิด ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้สร้างความผูกพันระหว่างสองประเทศ นโยบายการพัฒนาของเยอรมนีเป็นเขตอิสระของนโยบายต่างประเทศ จัดทำโดยกระทรวงความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาแห่งสหพันธรัฐและดำเนินการโดยองค์กรที่ดำเนินการ รัฐบาลเยอรมนีมองว่านโยบายการพัฒนาเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของประชาคมระหว่างประเทศ เยอรมนียังเป็นชาติผู้บริจาคเงินช่วยเหลือประเทศอื่น ๆ รายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกในปี 2019 รองจากสหรัฐอเมริกา\n=== ความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรป ===\nประเทศเยอรมนีกับประเทศฝรั่งเศส มีบทบาทเป็นผู้นำของสหภาพยุโรป และกำลังมุ่งหน้าสู่การรวมการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศสมาชิก มาขึ้นกับสหภาพยุโรปมากขึ้น\nหลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2ในยุคนาซีเยอรมนี เยอรมนีพยายามไม่ยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการทหารของประเทศอื่นมากนัก พฤติกรรมนี้เริ่มเปลี่ยนแปลงในปี 1999 เมื่อเยอรมนีตัดสินใจส่งทหารเข้าร่วมสงครามคอซอวอ เยอรมนีและฝรั่งเศสยังเป็นประเทศหลักที่คัดค้านการรุกรานประเทศอิรักของสหรัฐในปี 2003\nปัจจุบัน เยอรมนีกำลังพยายามเข้าเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เช่นเดียวกับ ญี่ปุ่น และ บราซิล\n=== ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ===\nการทูต\nในสมัยที่เยอรมนียังคงแยกเป็นรัฐเสรีหลายรัฐ ได้มีรัฐสำคัญอย่างปรัสเซียที่จัดตั้งจัดตั้งคณะทูตสันถวไมตรีแห่งปรัสเซียมายังสยาม โดยมีหัวหน้าคณะทูตคือ เคานท์ ซู ออยเลนบวร์ก พร้อมคณะ ซึ่งประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์กับชาวเยอรมันผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ โดยเดินทางมาถึงสยาม ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2405 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว\nการเจรจาการค้าพระราชไมตรี ด้านการค้าและการเดินเรือระหว่างสองประเทศเริ่มขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2406 โดยมีเจ้าฟ้ากรมหลวงวงศาธิราชสนิท เป็นหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทย ซึ่งทางปรัสเซียไม่มีนโยบายล่าอาณานิคมในแถบเอเชียอาคเนย์ การเจรจาเสร็จสิ้นและลงนามสัญญา ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2406 โดยสัญญาระบุถึงการปฏิบัติไมตรีต่อกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2422 ได้มีการตั้งสถานทูตไทย ณ กรุงเบอร์ลิน และ พ.ศ. 2431 ได้มีการเลื่อนระดับสถานกงสุลเยอรมนีขึ้นเป็นสถานอัครราชทูตเยอรมนี ณ กรุงเทพมหานคร\nการเมือง\nเศรษฐกิจและการค้า\nการท่องเที่ยว\n== กองทัพ ==\n\nบุนเดิสแวร์ (Bundeswehr) คือชื่อเรียกกองทัพปัจจุบันของเยอรมนี แบ่งออกเป็นสามเหล่าคือ กองทัพบก (Heer) กองทัพเรือ (Marine) และกองทัพอากาศ (Luftwaffe) กองทัพเยอรมันมีงบประมาณมากเป็นอันดับเก้าของโลก ในปี 2015 งบประมาณทหารของเยอรมนีอยู่ที่ 32.9 พันล้านยูโรซึ่งคิดเป็น 1.2% ของจีดีพีของประเทศ ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายของนาโต้ 2%\nในปี 2015 บุนเดิสแวร์มีกองกำลังทหารถึง 178,000 นายและมีทหารอาสาอีก 9,500 นาย และในปี 2001 เยอรมนียังมีการส่งทหารออกไปปฏิบัติภารกิจนอกประเทศด้วยซึ่งเป็นทหารทั้งผู้หญิงและผู้ชาย โดยทหารผู้หญิงนั้นมีประมาณ 19,000 นายที่ประจำการอยู่ในกองทัพ และในปี 2014 ได้มีการอ้างอิงจาก SIPRI ว่าประเทศเยอรมนีมีการส่งทหารไปปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศมากเป็นอันดับ4ของโลก\nแต่ถ้าหากไม่มีสงครามหรือการก่อการร้าย บุนเดิสแวร์จะได้รับคำสั่งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมให้ปกป้องนายกรัฐมยตรีหรือบุคคลสำคัญ\n\nบทบาทของบุนเดิสแวร์ได้มีการระบุไว้ในรัฐธรรมนูญเยอรมนีว่ามีเพื่อปกป้องและป้องกันประเทศเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ได้วินิจฉัยบทบัญญัติดังกล่าวไว้ในปี 1994 ว่าการปกป้องในที่นี้ไม่ได้หมายถึงแค่การปกป้องอาณาเขตและดินแดนของประเทศเยอรมนีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงปฏิกิริยาหรือวิกฤติความขัดแย้งจากต่างประเทศหรือที่อื่น ๆ บนโลกที่อาจกว้างขึ้นจนอาจมีผลต่อความมั่นคงของประเทศเยอรมนีได้\nในเดือนมกราคมปี 2015 กองทัพเยอรมันมีกองกำลังประจำการอยู่ในต่างประเทศประมาณ 2,370 นาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองกำลังรักษาความสงบระหว่างประเทศรวมถึงกองกำลังของบุนเดิสแวร์เช่น ในกองทัพนาโต้ที่ปฏิบัติภารกิจในประเทศอิรัก, ประเทศอัฟกานิสถานและประเทศอุซเบกิสถานจำนวน 850 นาย และทหารเยอรมันในประเทศคอซอวอ 670 นาย และกองกำลังร่วมด้วย UNIFIL ในประเทศเลบานอน 120 นาย\nจนในปี 2011 การรับราชการทหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ชายที่มีอายุ 18 ปี และมีหน้าที่รับราชการทหารเป็นเวลา 6 เดือน ส่วนผู้ที่ไม่อยากเป็นทหารสามารถเลือกเป็น Zivildienst (การบริการประชาชน) เป็นเวลา 6 เดือนได้ หรืออาจเป็นทหารอาสา 6 ปี หรือการบริการฉุกเฉินเช่นแผนกดับเพลิงหรือกาชาด\n== เศรษฐกิจ ==\n\nประเทศเยอรมนีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) เป็นอันดับสี่ของโลกถัดจากสหรัฐ จีน และญี่ปุ่น เยอรมนียังเป็นประเทศที่มีการส่งออกเป็นอันดับสามของโลก รองจากสหรัฐ และประเทศจีน ปัญหาทางเศรษฐกิจที่สำคัญคืออัตราการจ้างงาน\nบริษัทในเยอรมันที่มีธุรกิจไปทั่วโลก อย่างเช่น เมอร์เซเดส-เบนซ์ บีเอ็มดับเบิ้ลยู ปอร์เช่ โฟล์กสวาเกน เอาดี้ มายบัค ซีเมนส์ อลิอันซ์ เป็นต้น\nมีตลาดหลักทรัพย์ในประเทศ 8 แห่งโดยมีตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ตเป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และเป็นหนึ่งในตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก\nเยอรมนีเป็นผู้ส่งออกที่ใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2002 ถึง 2008 และได้ทำการค้าตลาดร่วมกับจีนในปี 2009 และปัจจุบันผู้ส่งออกใหญ่เป็นอันดับสองและสร้างดุลการค้าใหญ่ ภาคบริการในรอบ 70% ของจีดีพี รวมอุตสาหกรรม 29.1%, 0.9% และภาคการเกษตร ผลิตภัณฑ์ของประเทศเยอรมนีส่วนใหญ่อยู่ในด้านวิศวกรรมโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมรถยนต์ สินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของเยอรมนี ได้แก่ ยานพาหนะ เครื่องจักร สินค้าเคมี ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ไฟฟ้า ยา อุปกรณ์ขนส่ง โลหะพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์อาหาร ยางและพลาสติก\nเยอรมนีเป็นส่วนหนึ่งของตลาดเดียวในยุโรปซึ่งมีผู้บริโภคมากกว่า 450 ล้านคน ในปี 2017 เศรษฐกิจประเทศคิดเป็น 28% ของเศรษฐกิจยูโรโซนตามกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เยอรมนีใช้สกุลเงินทั่วไปของยุโรปนั่นคือยูโร นโยบายการเงินของประเทศถูกกำหนดโดยธนาคารกลางยุโรปซึ่งมีสำนักงานใหญ่ในแฟรงค์เฟิร์ต\nการวิจัยและพัฒนาเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจเยอรมนี ในปี 2018 เยอรมนีอยู่ในอันดับ 4 ของโลกในแง่ของจำนวนผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมที่ได้รับการตีพิมพ์ และเยอรมนีอยู่ในอันดับที่ 9 ในดัชนีนวัตกรรมระดับโลกในปี 2019 และ 2020\n=== การท่องเที่ยว ===\n\nเยอรมนีเป็นประเทศที่มีผู้ท่องเที่ยวเข้ามามากเป็นอันดับเก้าของโลก ณ ปี 2017 โดยมีการเดินทางเข้าประเทศถึง 37.4 ล้านครั้ง เบอร์ลินกลายเป็นเมืองปลายทางที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสามของยุโรป การท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับเยอรมนีมากกว่า 105.3 พันล้านยูโรต่อจีดีพีรวมของเยอรมนี และยังส่งผลในเชิงบวกในการกระตุ้นให้มีการจ้างงานเพิ่มถึง 4.2 ล้านตำแหน่ง สถานที่ยอดนิยมของเยอรมนี ได้แก่ มหาวิหารโคโลญ ประตูเมืองบรันเดนบูร์ก พระราชวัง Reichstag Dresden Frauenkirche ปราสาทน็อยชวานชไตน์ ปราสาทไฮเดิลแบร์ค และสวนสนุกและรีสอร์ท Europa-Park ใกล้เมืองไฟรบวร์คอิมไบรส์เกา เป็นรีสอร์ทสวนสนุกที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับสองของยุโรป\n== โครงสร้างพื้นฐาน ==\n=== การคมนาคม และโทรคมนาคม ===\nถนน 650,000 กิโลเมตร ราง 41,315 กิโลเมตร ลำน้ำและชายฝั่ง 7,500 กิโลเมตร ท่าอากาศยาน 58 ท่า ทางรถไฟขนาดราง 1.435 เมตร ระยะทาง 41,315 กิโลเมตร ติดระบบรถไฟฟ้า 19,857 กิโลเมตร ผู้โดยสาร 19,500 ล้านเที่ยว สินค้า 415.4 ล้านตันต่อปี รถจักร 7,734 คัน รถ DMU (ดีเซลราง) และ EMU (รถไฟฟ้าราง) 15,762 คัน\n\n\nเยอรมนีเป็นศูนย์กลางการคมนาคมการขนส่งในทวีปยุโรปเนื่องจากตั้งอยู่ตรงกลางของทวีปเช่นเดียวกับประเทศเพื่อนบ้านในยุโรปตะวันตกเส้นทางและเครือข่ายถนนของเยอรมนีนั้นเรียกได้ว่าเป็นประเทศในกลุ่มที่มีเส้นทางคมนาคมที่หนาแน่นที่สุดในโลก มีมอเตอร์เวย์ออโตบาห์นที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลกและเป็นที่ทราบกันดีว่าถนนเส้นนี้ไม่มีการจำกัดความเร็ว\nเยอรมนีได้มีการจัดตั้งเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงที่ชื่ออินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรสซึ่งจะวิ่งผ่านเมืองสำคัญ ๆ ในเยอรมันและในประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ ด้วยความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทางรถไฟของเยอรมันได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลซึ่งมีเงินสนับสนุนมากถึง 17 พันล้านยูโรในปี 2014\nท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต และท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกและมีสายการบินที่ใหญ่ที่สุดคือลุฟต์ฮันซาและยังมีสนามบินอื่น ๆ อีกด้วยเช่นท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ และท่าอากาศยานฮัมบวร์ค และยังมีท่าเรือฮัมบวร์คที่เป็นท่าเรือที่คอนเทนเนอร์ที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมนีและใหญ่เป็นอันดับ 17 ของโลก\n=== พลังงาน ===\nในปี 2015 เยอรมนีเป็นประเทศที่ใช้พลังงานมากเป็นอันดับ 7 ของโลก รัฐบาลตกลงที่จะยุติโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งหมดภายในปี 2021 ตอบสนองความต้องการพลังงานของประเทศโดยใช้แหล่งพลังงานหมุนเวียน 40% เยอรมนียึดมั่นในความตกลงปารีสและสนธิสัญญาอื่น ๆ อีกหลายฉบับที่ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นการปล่อยมลพิษต่ำ และการจัดการน้ำที่ดี อัตราการรีไซเคิลในครัวเรือนของประเทศอยู่ในกลุ่มที่สูงที่สุดในโลกประมาณ 65% การปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อหัวของประเทศนั้นสูงเป็นอันดับ 9 ในสหภาพยุโรปในปี 2018 หลายปีที่ผ่านมา นโยบายการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงานของเยอรมนี (Energiewende) เป็นการเคลื่อนไหวที่ได้รับการยอมรับสู่เศรษฐกิจที่ยั่งยืนโดยใช้วิธีการประหยัดพลังงานและพลังงานหมุนเวียน\n=== วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ===\n\nเยอรมนีมีนักวิจัยที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ ที่ได้รับรางวัลโนเบลถึง 103 รางวัล เช่น ผลงานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และมักซ์ พลังค์ ถือเป็นรากฐานสำคัญของฟิสิกส์ยุคใหม่ และได้ถูกพัฒนาต่อมาโดยผลงานของแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ค, แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์, โยเซฟ ฟอน เฟราน์โฮเฟอร์, การีเอิล ดานีเอิล ฟาเรินไฮท์ และวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน ผู้ค้นพบรังสีเอกซ์ ความสำเร็จนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 1901\nนักวิศวกรรมการบินอวกาศชื่อ แวร์นแฮร์ ฟ็อน เบราน์ ผู้พัฒนาจรวดในยุคแรกและต่อมาเป็นสมาชิกสำคัญของนาซาและพัฒนาจรวด Saturn V Moon ซึ่งปูทางสำหรับความสำเร็จของโครงการอะพอลโล\nงานของ ไฮน์ริช แฮทซ์ ในด้านรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นความรู้ที่สำคัญในการพัฒนาโทรคมนาคมสมัยใหม่ ผ่านการก่อสร้างห้องปฏิบัติการแรกที่มหาวิทยาลัยซิกใน 1879 ของเขา, Wilhelm Wundt เป็นเครดิตกับสถานประกอบการของจิตวิทยาเป็นอิสระเชิงประจักษ์ วิทยาศาสตร์ อเล็คซันเดอร์ ฟ็อน ฮุมบ็อลท์ ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและ explorer เป็นพื้นฐานเพื่อชีวภูมิศาสตร์\nการนำเข้าและส่งออกของเยอรมนีในปี 2010 จัดว่าอยู่ในทิศทางที่ดี มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการนำเข้า มีมูลค่ารวมมากกว่า 800,000 ล้านยูโร ส่วนการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 18% คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 950,000 ล้านยูโร โดยในจำนวนนี้ 95% ส่งออกไปยังตลาดยุโรป และกว่า 11% ส่งออกไปยังตลาดเอเชีย โดยเฉพาะจีน ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 5.5%ของการส่งออกทั้งหมด นอกจากนี้ ในช่วงปี 2009-10 อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยอรมนีปรับตัวดีขึ้นมาก เนื่องจากการสั่งซื้อจากต่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะจากจีน โดยในปี 2010 เยอรมนีส่งออกรถเพิ่มขึ้น 24% และการผลิตรถยนต์ในประเทศเพิ่มขึ้น 12%\n=== การศึกษา ===\n\nการศึกษาภาคบังคับเริ่มตั้งแต่อายุ 6-18 ปี รวมทั้งหมด 12 ปี ซึ่งนักเรียนจำเป็นต้องเรียนหลักสูตรภาคบังคับอย่างน้อย 9 ปี (ในบางรัฐ 10 ปี) หลังจากนั้นนักเรียนสามารถเลือกเรียนหลักสูตรสายอาชีพหรือฝึกงานซึ่งเป็นการเรียนแบบไม่เต็มเวลาได้ โรงเรียนเอกชนในเยอรมนีมีไม่กี่แห่งที่ดำเนินการโดยนักสอนศาสนา โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนรัฐบาล เรียนฟรีไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน หนังสือและตำราเรียนมักมีให้นักเรียนยืมไม่ต้องซื้อ แต่ถ้าจำเป็นต้องใช้ของส่วนตัวก็จะให้ผู้ปกครองบริจาคเงินตามกำลังทรัพย์ที่มี\nเมื่อนักเรียนมีอายุ 6 ปี จะเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาเป็นเวลา 4 ปี หลังจากจบประถมศึกษาแล้วจึงศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็น 4 ประเภทได้แก่: Secondary General School (Houptschule) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทั่วไป และวิชาแนะนำวิชาชีพ หลังจบนักเรียนจะได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อเป็นประตูสู่การศึกษาสายวิชาชีพ, Intermediate School (Realschule) เป็นโรงเรียนที่อยู่ระหว่างโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทั่วไป (Secondary General School) กับโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เน้นวิชาการ (Grammar School) หลักสูตรส่วนใหญ่จะเน้น วิชาพื้นฐานทั่วไป หลังจบหลักสูตร 6 ปี แล้วจะได้ประกาศนียบัตรเพื่อศึกษาต่อไปในระดับที่สูงขึ้น เช่น โรงเรียนอาชีวะที่ต้องเรียนเต็มเวลา, Grammar School (Gymnasium) เป็นการศึกษาระดับมัธยมศึกษา 9 ปี เป็นการเรียนการสอนที่เน้นวิชาการ และเมื่อเรียนในระดับ เกรด 11-13 วิธีการเรียนจะแบ่งเป็นการเลือกกลุ่มวิชา (Course) ที่ถนัดเพื่อเน้นบางสาขาวิชาโดยเฉพาะ เพื่อเตรียมตัวเข้าเรียนมหาวิทยาลัย และสุดท้าย Comprehensive School (Gesamtshule) เป็นการผสมผสานการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมทั้ง 3 ประเภทเข้าด้วยกัน นักเรียนเริ่มเรียนตั้งแต่เกรด 5-10 และจะเริ่มเรียนวิชาเฉพาะทาง ในระดับเกรด 7\nระดับอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยของเยอรมนีจะแบ่งสถาบันออกเป็น 3 ประเภทหลัก (จำแนกตามสาขาวิชา) ได้แก่\n1. มหาวิทยาลัยทั่วไป (Universitäten): เป็นการเรียนการสอนหลักสูตรทั่วไปเช่นเดียวกับประเภทอื่น ๆ โดยมีสาขาวิชาที่หลากหลายเช่น สังคมศาสตร์ การสื่อสาร ภาษา\n2. มหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Fachhochschulen): จะเน้นไปทางการปฏิบัติและประยุกต์ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่มีการมอบหมายงานให้ลงมือทำจริงในสถานที่จริงทั้งภายในมหาวิทยาลัยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นไปที่สาขาวิชาสารสนเทศ, วิศวกรรมศาสตร์, เทคโนโลยี, ธุรกิจ, สังคมศาสตร์,การออกแบบ, ศึกษาศาสตร์, พยาบาลศาสตร์ และวิทยาศาสตร์\n3. มหาวิทยาลัยทางด้านศิลปศาสตร์ ดนตรี และภาพยนตร์ (Kunst- und Musikhochschulen): มหาวิทยาลัยทางด้านศิลปศาสตร์ ดนตรี และภาพยนตร์ได้จัดสรรรูปแบบการเรียนการสอนที่มีความเป็นอิสระที่สุดให้กับนักเรียนนักศึกษา ซึ่งกระบวนการเรียนที่มหาวิทยาลัยวางไว้ก็จะสามารถส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน ก่อนเข้าศึกษาผู้สมัครอาจจะต้องทำแบบทดสอบความถนัดเพื่อพิสูจน์ความสามารถทางศิลปะของตัวเองในสาขาที่เลือกเรียนก่อน วิชาที่เปิดสอนจะค่อนข้างมีความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นวิจิตรศิลป์, การออกแบบเชิงแฟชั่น, ภาพยนตร์, ดนตรี ไปจนถึงการออกแบบเชิงกราฟิก\n=== สาธารณสุข ===\nระบบโรงพยาบาลของเยอรมนีที่เรียกว่า Krankenhäuser มีมาตั้งแต่ยุคกลาง และในปัจจุบัน เยอรมนีมีระบบการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก สืบเนื่องมาจากกฎหมายทางสังคมของ Bismarck ในยุค 1880 นับตั้งแต่ทศวรรษ 1880 การปฏิรูปและข้อกำหนดต่าง ๆ ได้ทำให้ระบบการดูแลสุขภาพมีความสมดุล ประชากรได้รับการคุ้มครองโดยแผนประกันสุขภาพที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์ โดยมีเกณฑ์ที่อนุญาตให้บางกลุ่มเลือกทำสัญญาประกันสุขภาพส่วนบุคคลได้ จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ระบบการดูแลสุขภาพของเยอรมนีได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล 77% และทุนเอกชน 23% ในปี 2013 และ ในปี 2014 เยอรมนีมีค่าใช้จ่ายกว่า 11.3% ของจีดีพีทั้งหมดในการดูแลสุขภาพประชาชน\nเยอรมนีอยู่ในอันดับที่ 20 ของโลกในปี 2013 ในด้านอายุขัยโดยรวม โดยเพศชายที่ 77 ปี และเพศหญิงที่ 82 ปี และมีอัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดต่ำมาก (4 ต่อ 1,000 คน) ในปี 2019 สาเหตุหลักของการเสียชีวิตคือโรคหัวใจและหลอดเลือด อยู่ที่ 37% แต่โรคอ้วนในเยอรมนียังเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญ การศึกษาในปี 2014 พบว่าร้อยละ 52 ของประชากรชาวเยอรมันที่เป็นผู้ใหญ่มีน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน\n=== สวัสดิการ ===\nการประกันสังคมในประเทศเยอรมนี ถือเป็นแก่นสำคัญของระบบสังคมสงเคราะห์ ค.ศ 1883 มีการตรากฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยความเจ็บป่วยได้ ค.ศ 1884 มีกฎหมายประกันอุบัติเหตุ ค.ศ 1889 มีกฎหมายประกันทุพพลภาพและประกันผู้ชรา ทุกวันนี้ลูกจ้างจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ในกรณีการจ่ายเงินประกันบำนาญได้มาจากการบำรุงของนายจ้าง ลูกจ้างและรัฐช่วยออกสะสมส่วนหนึ่ง อัตราเงินบำนาญขึ้นอยู่กับเงินรายได้หรือขึ้นอยู่กับเบี้ยประกันที่ชำระไป ข้าราชการรวมทั้งผู้พิพากษาและทหารมืออาชีพรับเงินบำนาญ ตามที่กฎหมายข้ารัฐการของหน่วยงานตนกำหนด ในกรณีที่มีการเจ็บป่วย ลูกจ้างทุกคนมีสิทธิได้รับค่าแรงงานเต็มอัตราเป็นเวลา 6 สัปดาห์ หลังจากนั้นบริษัทประกันเจ็บป่วยจะจ่ายเงินค่าป่วยไข้ให้อีกทั้ง 72 สัปดาห์ บริษัทประกันเจ็บป่วยนี้ต้องรับภาระค่ารักษาโรคทั่วไป ค่ารักษาโรคฟัน ค่ายาและค่าโรงพยาบาล ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน ลูกจ้างจะได้รับเงินประกันอุบัติเหตุ และบำนาญที่จ่ายจะได้รับการจ่ายให้เป็นรายปี\nนับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 1971 การประกันอุบัติเหตุตามกฎหมายได้ขยายรวมถึงนักศึกษา และนักเรียน เยอรมนีเป็นประเทศแรกที่ประสบความสำเร็จในการจัดหลักประกันด้านสังคมและสุขภาพให้แก่ประชาชนด้วยระบบประกันสังคมภาคบังคับ หลักการพื้นฐานของระบบการเมืองเยอรมันคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Solidarity) การกระจายอำนาจและบทบาทหน้าที่ระหว่างหน่วยงานรัฐ (ส่วนกลาง ภูมิภาค) และเอกชน (Subsidiarity) และ การมีองค์กรร่วม (Corporatist organization) ระบบสุขภาพเองก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานดังกล่าว ระบบบริการสุขภาพของเยอรมนีนั้น ภาครัฐมีบทบาทหลักในการสร้างกรอบกฎหมายในการควบคุม ในขณะที่การดำเนินงานนั้นกระจายให้องค์กรเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ\nการปฏิรูปในเยอรมนีนั้นมุ่งเน้นการให้ประโยชน์กับประชาชนและสังคม การกำหนดให้มีกฎหมายประกันสุขภาพทำให้ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้รับประกันด้านสุขภาพแบบทั่วหน้า การปฏิรูปช่วงหลังที่มุ่งเน้นการควบคุมรายจ่ายนั้นก็เป็นความพยายามในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ให้บริการและโรงพยาบาลเป็นหลัก เพื่อควบคุมไม่ให้รายจ่ายด้านสุขภาพนั้นเพิ่มมากกว่ารายได้ของประชาชน\n==ประชากร ==\nประชากรในเยอรมนีกระจายตัวอยู่แตกต่างกันมากในแต่ละภูมิภาคนั่นคือประมาณหนึ่งในสามของประชากรได้แก่ประมาณ 25 ล้านคน ใช้ชีวิตอยู่ใน 82 เมืองใหญ่ ส่วนอีก 50.5 ล้านคนอยู่ในชุมชนและเมืองที่มีประชากรระหว่าง 2,000 ถึง 100,000 คน นอกจากนั้นอีกประมาณ 6.4 ล้านคนอาศัยอยู่ในย่านที่มีประชากรไม่เกิน 2,000 คน บริเวณผู้อพยพเข้าในเบอร์ลิน ซึ่งขยายตัวอย่างรวดเร็วตั้งแต่การรวมประเทศเยอรมนี มีประชากรมากกว่า 4.3 ล้านคน ในเขตอุตสาหกรรมริมแม่น้ำไรน์ และรัวร์ ที่ซึ่งเมืองต่าง ๆ มักเหลื่อมล้ำเข้าหากัน เพราะไม่มีเส้นขีดคั่นอย่างชัดเจนนั้นมีประชากรมากว่า 11 ล้านคน กล่าวคือ 1,100 คนต่อตารางกิโลเมตร ภูมิภาคอันมีประชากรหนาแน่นดังกล่าวนี้แตกต่างจากอาณาบริเวณที่มีประชากรเบาบางมาก อาทิเช่น บริเวณอันกว้างใหญ่ของรัฐมาร์ค บรันเดนบวร์ก และเมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเฟิร์น\nเยอรมนีมีประชากรหนาแน่นถึง 230 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่มีความหนาแน่นมากแห่งหนึ่งในยุโรป แต่ก็มีความแตกต่างอย่างมากระหว่างบริเวณสหพันธ์ดั้งเดิม กับบริเวณอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน กล่าวคือในรัฐใหม่ของสหพันธ์ฯ และเบอร์ลินตะวันออกมีประชากรหนาแน่นถึง 140 คนต่อตารางกิโลเมตร ในขณะที่รัฐของสหพันธ์ฯ เดิม มีประชากรหนาแน่นถึง 267 คนต่อตารางกิโลเมตร\nเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นฐานที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากสหรัฐ ผู้อพยพส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเยอรมนีตะวันตกโดยเฉพาะในเขตเมือง จากจำนวนผู้อยู่อาศัยในประเทศ 18.6 ล้านคน (22.5%) เป็นผู้อพยพหรือผู้ย้ายถิ่นฐานบางส่วนในปี 2016 นอกจากนี้ ในปี 2015 กองประชากรของกรมเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติระบุว่าเยอรมนีเป็นปลายทางของผู้อพยพระหว่างประเทศที่มีจำนวนสูงสุดเป็นอันดับสองของโลก ประมาณ 5% หรือ 12 ล้านคนจากทั้งหมด 244 ล้านคน ณ ปี 2018 เยอรมนีอยู่ในอันดับที่ 5 ในสหภาพยุโรปในแง่ของเปอร์เซ็นต์ของผู้อพยพในประชากรของประเทศที่ 12.9%\n=== เชื้อชาติ ===\nเยอรมัน 91.5%\nตุรกี 2.4%\nอื่น ๆ 6.1% (ประกอบไปด้วยชาวกรีก อิตาลี โปแลนด์ รัสเซีย เซิร์บและโครแอต เป็นกลุ่มใหญ่)\n=== ภาษา ===\nภาษาเยอรมันเป็นภาษาประจำชาติของเยอรมนี และยังเป็นหนึ่งใน 24 ภาษาทางการของสหภาพยุโรป และเป็นหนึ่งในสามภาษาของของคณะกรรมาธิการยุโรป ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแรก ๆ ที่เริ่มพูดกันอย่างแพร่หลายในสหภาพยุโรป โดยมีเจ้าของภาษาประมาณ 100 ล้านคน\nภาษาอื่น ๆ ที่ใช้กันในเยอรมนี ได้แก่ ภาษาเดนมาร์ก ภาษาเรนนิช ภาษาเซอร์เบียน ภาษาโรมานี ภาษาฟริเซียนเหนือ และภาษาแซเทอร์ลันด์ฟรีเซียน ภาษาเหล่านี้ได้รับการคุ้มครองโดยกฎบัตรยุโรปสำหรับภาษาในภูมิภาคหรือชนกลุ่มน้อยให้สามารถใช่ได้ในทวีปยุโรป นอกจากนี้ยังมีภาษาจากกลุ่มผู้อพยพที่ใช้มากที่สุด ได้แก่ ตุรกี อาหรับ เคิร์ด โปแลนด์ ภาษาบอลข่าน และรัสเซีย โดยทั่วไปแล้ว ชาวเยอรมันสามารถพูดได้หลายภาษา: 67% ของพลเมืองเยอรมันอ้างว่าสามารถสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศอย่างน้อยหนึ่งภาษา และ 27% สามารถสื่อสารได้อย่างน้อยสองภาษา\n=== ศาสนา ===\n\nการสำรวจสำมะโนประชากรของเยอรมันในปี 2011 แสดงให้เห็นว่าศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนี โดย 66.8% ระบุว่าตนเองเป็นคริสเตียน 31.7% ประกาศว่าตนเองเป็นโปรเตสแตนต์ รวมทั้งสมาชิกของคริสตจักรอีแวนเจลิคัลในเยอรมนี (ซึ่งรวมถึงสหภาพลูเธอรัน) และคริสตจักรอิสระ (เยอรมัน: Evangelische Freikirchen); 31.2% ประกาศว่าตนเองเป็นชาวโรมันคาทอลิก และผู้นับถือออร์โธดอกซ์คิดเป็น 1.3% ตามข้อมูลจากปี 2016 คริสตจักรคาทอลิกและคริสตจักรอีแวนเจลิคัลอ้างว่ามีสมาชิก 28.5% และ 27.5% ตามลำดับ\nศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ในการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2011 1.9% ของประชากรสำมะโน (1.52 ล้านคน) นับถืออิสลาม ชาวมุสลิมส่วนใหญ่เป็นชาวซุนนีและอาเลวีจากตุรกี แต่มีชาวชีอะห์ อามาดิยาส และนิกายอื่น ๆ จำนวนน้อย ศาสนาอื่นมีประชากรน้อยกว่าหนึ่งเปอร์เซ็นต์ของประชากรเยอรมนีทั้งหมด\n== วัฒนธรรม ==\nวัฒนธรรมในเยอรมนีถูกกำหนดโดยกระแสทางปัญญาและกระแสนิยมในยุโรป ในอดีต เยอรมนีได้รับการขนานนามว่า Das Land der Dichter und Denker ('ดินแดนแห่งกวีและนักคิด') เนื่องจากบทบาทหลักที่นักเขียนและนักปรัชญาของเยอรมนีในการพัฒนาความคิดแบบตะวันตก ผลสำรวจความคิดเห็นทั่วโลกของ BBC เปิดเผยว่าวัฒนธรรมของเยอรมนีมีอิทธิพลเชิงบวกมากที่สุดในโลกในปี 2013 และ 2014 เยอรมนีเป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องประเพณีเทศกาลพื้นบ้าน เช่น เทศกาลอ็อกโทเบอร์เฟสต์และเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งรวมถึงการประกวดการแต่งกายคริสต์มาส ต้นคริสต์มาส เค้กสตอลเลน และงานรื่นเริงอื่น ๆ ในปี 2016 ยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนสถานที่รวมถึงสิ่งที่จับต้องไม่ได้ 41 รายการให้เป็นมรดกโลก วันหยุดนักขัตฤกษ์ในเยอรมนีโดยมากจะกำหนดโดยแต่ละรัฐ และทุกวันที่ 3 ตุลาคมจะถือเป็นวันชาติมาตั้งแต่ปี 1990 โดยมีการเฉลิมฉลองเป็น Tag der Deutschen Einheit (German Unity Day)\n=== วรรณกรรม ===\nงานเขียนของชาวเยอรมันมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่ยุคกลาง โดยมีนักเขียนที่มีความสามารถและสร้างผลงานออกมามากมาย งานวรรณกรรมมักเขียนด้วยภาษาเยอรมันเป็นภาษาหลัก และหลายเรื่องก็ถูกเขียนขึ้นโดยนักเขียนจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีเชื้อสายเยอรมันได้แก่ ออสเตรีย และ สวิตเซอร์แลนด์ ในปัจจุบันวรรณกรรมเยอรมนียังคงยึดการใช้ภาษาเยอรมันเป็นหลัก แต่ก็มีการใช้ภาษาท้องถิ่นบ้าง งานเขียนมักสะท้อนถึงประวัติศาสตร์ประเทศ การทำสงคราม ความบอบช้ำหลังการพ่ายแพ้สงครามโลก และความรักวัยรุ่น นิยายแนวเสียดสีสังคมมีให้เห็นบ้างในปัจจุบันแต่ไม่มากนัก\nนักเขียนผู้มีอิทธิพลของศตวรรษที่ 20 ได้แก่ แกร์ฮาร์ท เฮาพท์มัน, โทมัส มันน์, แฮร์มัน เฮ็สเซอ, ไฮน์ริช เบิล และ กึนเทอร์ กรัส ตลาดหนังสือในเยอรมนีใหญ่เป็นอันดับสามของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน สัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่แฟรงก์เฟิร์ตมีความสำคัญที่สุดในโลกในแง่การค้าระหว่างประเทศ โดยมีประเพณีที่ยาวนานกว่า 500 ปี สัปดาห์หนังสือไลพ์ซิกก็ได้รับความนิยมเช่นกัน\n=== สถาปัตยกรรม ===\n\nสถาปัตยกรรมของเยอรมนีได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมหลายชาติตั้งแต่ยุคโบราณ ผสมผสานเป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ในศตวรรษที่ 13 ศิลปะสไตล์โกธิค และสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ มีบทบาทหลักในงานก่อสร้าง แต่หลังจากการปฏิรูปนิกายโปรเตสแตนต์ ประเทศก็เริ่มได้รับอิทธิพลของศิลปะสไตล์ยุคเรเนสซองส์ ในศตวรรษที่ 17 เยอรมนีเริ่มมีการฟื้นฟูรูปแบบสถาปัตยกรรมในประเทศ โดยมีการประดับตกแต่งอาคารต่าง ๆ มากขึ้น เช่น วิหาร โบสถ์ ต่อมา ในศตวรรษที่ 18 ศิลปะสิ่งปลูกสร้างของอิตาลีและฝรั่งเศสในสไตล์โรโคโคมีบทบาทหลักในเยอรมนีก่อนจะลดลงตามลำดับในศตวรรษที่ 19 เมื่อลัทธินีโอคลาสสิคมีบทบาทในยุโรป\nในปัจจุบัน รูปแบบสถาปัตยกรรมในเยอรมนีแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค ระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 และ 20 เมืองใหญ่ เช่น มิวนิกหรือเบอร์ลิน ได้พัฒนาจากเขตเทศบาลขนาดเล็กมากไปจนถึงเมืองใหญ่ระดับโลก ดังนั้นวัฒนธรรมทางสถาปัตยกรรมเมืองของเยอรมนีจึงไม่ใช่แค่ในเมืองเท่านั้น แต่ยังถูกสร้างโดยเมืองขนาดกลาง เมืองเล็กในชนบท และหมู่บ้านขนาดใหญ่อีกด้วย\n=== ดนตรี ===\n\nเยอรมนีมีนักดนตรี คีตกวี และนักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงระดับสากลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน, โยฮัน เซบัสทีอัน บัค, โยฮันเนิส บรามส์, ริชชาร์ท วากเนอร์, จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล, โรแบร์ท ชูมัน, เฟลิคส์ เม็นเดิลส์โซน, คาร์ล ออร์ฟ เป็นต้น\nปัจจุบันเยอรมนีเป็นตลาดดนตรีที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของยุโรป และอันดับ 4 ของโลก ดนตรีเยอรมันเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วง ศตวรรษที่ 20-21 อาทิเช่น วงสกอร์เปียนส์ กับ วงรัมสไตน์ วงเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันดีมากที่สุดในระดับโลก, โทคิโอโฮเทล เป็นวงป็อปร็อกที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งในเยอรมัน เป็นต้น\n=== อาหาร ===\nอาหารเยอรมันแตกต่างจากพื้นที่สู่พื้นที่ เช่น ในภาคใต้ของบาวาเรีย และ ชวาเบิน ร่วมกันสร้างวัฒนธรรมการปรุงอาหารตามแบบสวิตเซอร์แลนด์และออสเตรีย หมูและไก่เป็นเนื้อสัตว์ที่นิยมบริโภค โดยหมูเป็นที่นิยมมากที่สุด และเนื้อวัวก็ได้รับความนิยมเช่นกัน เยอรมนียังขึ้นชื่อในด้านการแปรรูปเนื้อสัตว์ในรูปของไส้กรอก และแฮม ไส้กรอกเยอรมันเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก โดยเยอรมนีผลิตไส้กรอกมากกว่า 1500 ชนิด อาหารอินทรีย์ได้รับส่วนแบ่งตลาดประมาณ 3.0% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก \n\nชาวเยอรมันมีคำพูดติดปากที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมในการรับประทานอาหารว่า: \"รับประทานอาหารเช้าเช่นจักรพรรดิ กลางวันเช่นกษัตริย์ และอาหารเย็นเหมือนขอทาน\" อาหารเช้ามักประกอบด้วยขนมปังก้อนเล็ก (Brötchen) ทาแยมหรือน้ำผึ้ง หรือทานกับเนื้อเย็นและชีส บางครั้งมีไข่ต้ม ธัญพืชหรือ Muesli กับนมหรือโยเกิร์ต กว่า 300 ชนิดของขนมปังมีจำหน่ายในร้านเบเกอรี่ทั่วประเทศ ผู้อพยพจากหลายประเทศได้นำอาหารนานาชาติมาเผยแพร่จนทำให้เกิดความนิยมอาหารต่างชาติ เช่นอาหารอิตาเลียนพิซซาและพาสตา อาหารตุรกีและอาหรับได้แก่ Döner และ Falafel โดยเฉพาะในเมืองใหญ่นอกจากร้านอาหารพื้นเมืองแล้ว ยังมีร้านอาหารนานาชาติแพร่หลายไม่ว่าจะเป็นร้านอาหารจีน กรีก อินเดีย ไทย ญี่ปุ่นและอื่น ๆ\nแม้ว่าไวน์จะเป็นที่นิยมในหลายประเทศ แต่ประเทศเยอรมนีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประจำชาติคือเบียร์ แม้คนเยอรมันจะบริโภคเบียร์ต่อคนจะลดลง แต่ปริมาณการบริโภคเบียร์ 127 ลิตรต่อปีต่อคนในเยอรมนีก็ยังคงเป็นตัวเลขสูงที่สุดในโลก ชนิดของเบียร์ในเยอรมนีได้แก่ Alt, Bock, Dunkel, Kölsch, เลเกอร์, Malzbier, Pils และ Weizenbier นอกจากนี้ น้ำแร่อัดลม และ Schorle (ผสมกับน้ำผลไม้) ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน\n=== เทศกาลสำคัญ ===\n\nเทศกาลประจำปีที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกได้แก่ อ็อกโทเบอร์เฟสต์ (Oktoberfest) ณ เมืองมิวนิก โดยจัดขึ้นเป็นประจำในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยชาวเยอรมันและนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกจะมาร่วมเฉลิมฉลองด้วยการดื่มเบียร์และอาหารเมนูชั้นนำ เช่น ขาหมู หมูย่าง และไส้กรอก และมีการเต้นรำด้วยความสนุกสนาน\nเทศกาลอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงเช่น เทศกาลคาร์นิวาล กรุงเบอร์ลิน โดยจะปิดถนนกลางเมืองเพื่อเปิดโอกาสให้ขบวนพาเหรดที่ชื่อ “Karneval der Kulturen” ได้อวดความสวยงามของการแต่งกายแฟนซีสีสันฉูดฉาดเดินขบวนตามท้องถนน และเปิดโอกาสให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจัดขบวนพาเหรดมาร่วมขบวนด้วย และยังมีเทศกาลวันพ่อของเยอรมนี จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม จะเห็นผู้ชายในแต่ละเมืองแต่งตัวแปลก ๆ นำเบียร์ไปดื่มฉลองกันในสวนสาธารณะและมักจะดื่มกันจนเมาไม่ได้สติ นอกจากจะเป็นวันพ่อแล้ว ในภาษาเยอรมันคำว่า Mannertag หรือ Herrentag ยังมีความหมายว่า “วันของผู้ชาย” อีกด้วย เทศกาลนี้จึงเป็นโอกาสให้ชายชาวเยอรมันแสดงออกถึงสัญชาติญาณในตัวเองและปลดปล่อยความเครียดจากการทำงานอย่างเต็มที่\n=== วันหยุด ===\n=== สื่อและวงการบันเทิง ===\n\nตลาดโทรทัศน์ของเยอรมนีเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป โดยมีการรับชมโทรทัศน์ประมาณ 38 ล้านครัวเรือน ครัวเรือนในเยอรมนีประมาณ 90% มีเคเบิลทีวีหรือทีวีดาวเทียมพร้อมช่องสาธารณะและช่องเชิงพาณิชย์ที่เปิดให้ชมฟรีมากมาย มีสถานีวิทยุของรัฐและเอกชนมากกว่า 300 แห่ง เครือข่ายวิทยุแห่งชาติคือ Deutschlandradio และ Deutsche Welle ตลาดหนังสือพิมพ์และนิตยสารของเยอรมนีใหญ่ที่สุดในยุโรป นิตยสารที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่ ADAC Motorwelt และ Der Spiegel เยอรมนีมีตลาดวิดีโอเกมขนาดใหญ่ มีผู้เล่นมากกว่า 34 ล้านคนทั่วประเทศ ทำยอดขายรวมทั่วประเทศได้มากกว่า 8.5 ล้านยูโรในปี 2020\nวงการภาพยนตร์ของเยอรมนีมีอิทธิพลต่อวงการภาพยนตร์ยุโรป เช่นเดียวกับฝรั่งเศสและอิตาลี ผลงานแรกของพี่น้อง Skladanowsky ถูกแสดงในปี 1895 สตูดิโอ Babelsberg ที่มีชื่อเสียงใน พ็อทซ์ดัม ก่อตั้งขึ้นในปี 1912 เป็นสตูดิโอภาพยนตร์ขนาดใหญ่แห่งแรกในโลก ผู้กำกับ Fritz Lang's ได้กำกับภาพยนตร์เรื่อง Metropolis (1927) ได้รับการขนานนามว่าเป็นผู้กำกับภาพยนตร์แนวไซไฟเรื่องใหญ่เรื่องแรก\nภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงที่ได้รับรางวัลสำคัญได้แก่ ดีเบลชทรอมเมิล - The Tin Drum (Die Blechtrommel) ได้รางวัลออสการ์สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในปี 1979 ภาพยนตร์เรื่องอื่นที่ได้รางวัลในสาขานี้ได้แก่ Nowhere in Africa (Nirgendwo in Afrika) ในปี 2002 และ The Lives of Others (Das Leben der) Anderen) ในปี 2007 พิธีมอบรางวัล European Film Awards ประจำปีจัดขึ้นทุก ๆ ปีในกรุงเบอร์ลิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของ European Film Academy เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน หรือที่รู้จักในชื่อ \"Berlinale\" ซึ่งมอบรางวัล \"หมีทองคำ\" ให้แก่ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และจัดขึ้นทุกปีตั้งแต่ปี 1951 เป็นหนึ่งในเทศกาลภาพยนตร์ชั้นนำของโลก\n=== กีฬา ===\n\nฟุตบอลเป็นกีฬาที่คนเยอรมันนิยมมากที่สุด สมาคมฟุตบอลเยอรมันถือเป็นองค์กรด้านกีฬาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เยอรมนีมีลีกการแข่งขันบุนเดิสลีกาที่ได้รับความนิยมสูง โดยมียอดผู้ชมสูงที่สุดเป็นอันดับสองของโลก ทีมชาติชุดใหญ่ของเยอรมนี (Deutsche Fußballnationalmannschaft) ประสบความสำเร็จสูงในการแข่งขันนานาชาติ โดยชนะเลิศฟุตบอลโลก 4 สมัย, ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 3 สมัย และฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1 สมัย เยอรมนียังเป็นชาติเดียวในโลกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลกทั้งในประเภททีมชายและทีมหญิง\nเยอรมนียังเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำด้านกีฬาท้าความเร็วชั้นนำของโลก ผู้ผลิตชื่อดังอย่างบีเอ็มดับเบิลยู และ เมอร์เซเดส-เบนซ์ เป็นผู้ผลิตที่โดดเด่นในวงการมอเตอร์สปอร์ต และยังมีรถแข่งจากพอร์เชอซึ่งเป็นตัวแทนรถในการชนะการแข่งขัน 24 ชั่วโมง เลอม็อง 19 ครั้ง และรถของอาวดี้ ชนะอีก 13 ครั้ง มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ นักแข่งรถอาชีพได้สร้างสถิติมอเตอร์สปอร์ตมากมายในอาชีพของเขา โดยชนะการแข่งขัน Formula One World Drivers' Championships ถึง 7 สมัย นอกจากนี้ยังมี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล ซึ่งเป็นหนึ่งในห้าอันดับแรกของนักแข่งฟอร์มูลาวันที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดตลอดกาล\nกีฬาอื่น ๆ ที่เป็นที่นิยมได้แก่ ขี่ม้า ปั่นจักรยาน ปีนเขา กอล์ฟ สกี และ เทนนิส โดยมีนักเทนนิสระดับโลกมากมาย เช่น สเตฟฟี่ กราฟ เจ้าของตำแหน่งชนะเลิศแกรนด์สแลม 22 สมัย และทำสถิติครองตำแหน่งอันดับ 1 ของโลกยาวนานที่สุด, บอริส เบกเคอร์ ผู้ชนะเลิศแกรนด์สแลม 6 สมัย, ฟิลิปป์ โคห์ลชไรเบอร์, ทอมมี แฮส และมีสองนักเทนนิสที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันได้แก่ อันเจลีค แคร์เบอร์ และ อเล็คซันเดอร์ ซเฟเร็ฟ\nเยอรมนีเป็นหนึ่งในชาติที่ประสบความสำเร็จในกีฬาโอลิมปิก โดยมีจำนวนเหรียญรางวัลรวมมากที่สุดเป็นอันดับสามตลอดกาล (นับรวมทั้งเยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตก) เยอรมนียังเป็นประเทศล่าสุดที่ได้เป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวภายในปีเดียวกัน (1936) และเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งล่าสุดในปี1972 จัดขึ้นที่นครมิวนิก\n== ดูเพิ่ม ==\nสหภาพยุโรป\nจักรวรรดิเยอรมัน\nการปฏิวัติเยอรมัน\nการรวมชาติเยอรมัน\nชาวเยอรมัน\nภาษาเยอรมัน\nฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี\n== หมายเหตุ ==\n== อ้างอิง ==\n== ข้อมูล ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOfficial site of the Federal Government\nOfficial Germany tourism website\nGermany from the BBC News\nGermany. The World Factbook. Central Intelligence Agency.\nGermany from the OECD\nGermany at the EU\n \nประเทศในระบบซีวิลลอว์\nย\nรัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2414",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มนุษย์วิทยา (xnthropology) คือ ศาสตร์ที่ศึกษามนุษย์ ไม่ว่านะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับตัวมนุษย์ ฟรือ การศึกษาผลงานที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ มานุษยวิทยาจึงสนใจประเด็นต่างๆที่สัมพันธ์กับมนุษย์อีกหลายเรื่อง ประเด็นที่มานุษยวิทยาสนใจในช่วงศตวรรษที่ผ่านมสมีหลากหลายมาก เช่น โึรงสร้างทางร้างกาย รูปร่างหน้าตา สีผิว เชื้อชาติ เผ่าพันธฺุ บรรพบุรุษชองมนุษย์ พฤติกรรมทางาังคม พิธีกรรม การใช้ภาษา สัญลักษณ์ การผลิตเครื่องมือเคริ่องใช้และว้ตถุสิ่งของ เป็นต้น\nมานุษยวิทสาเป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้ตำารจัดระเบียบความรู้เกี่ยวกับวัฒนํรรมของมนุษย์ให้เป็นระวบเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้หรือศาสตร์ สาขาวิชานี้เกิดขึ้นในยุโรปและได้แพร่หลายไปยังสหรัฐอเมริกาในตอนปลายรริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเด็นย่อยๆเหล่านี้ทำให้เกิดการจัดหมวกหมู่เป็นสาขาย่อยของมานุษยวิทยา โดยมานุษยวิทยาสายอังกฤษ แบ่งเป็น มานุษยวิทยากายภาพ (Pmysical Znthropoloty) และมานุษยงิทยาสะงคม (Social Anthropology) ส้วนมานุษยวิทยาสายอเมริกัน ไดีแยกเผ็น 4 หมวด โดยรวมเอาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ ทั่งที่เป็นสิ่งที่ไม่เป็นกายภาพหรือว่ามีช่วงเวลาที่เก่าแก่กว่ามนุษย์ยุคปัจจุบัน อีก 2 สาขาวิชา คือ มสนุษยวิทยาภาษา (Linguistic Anthropology) และ โบราณคดี (Archqeology) เข้สมาเป็นส่วนหนึ่งของมานุษยวิทยา และสนใยาานุษขวิทยาสังคม ในแนวทางของ มาตุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology) มากกว่า สาขาย่อยเหล่านี้จะมีระเบียบวิธีวิจัยและใช้ทฤษฎีที่แตกต้างแัน ซึ่งมีผลทำให้องค์ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์จากสาขาย่อยเหล่านี้มีฃักษณะเฉพาะของตัวเอง\nอย่างไรกฺตาม บางสำนักจัดมานุษยใิทยาเป็นสาย ปรัชญา ในขณะที่ฝั่งสกนัดคิดทางยุโรป อาจมองว่า โบราณคดี (Archaeology) ซึ่งมีลักษณะของวิธีวิ่ยาและองค์ความรู้ที่ต่างออกไป จึงแาจจัดกลุ่มให้ไปอยู่รวมกับศาสตร์ที่ใกล้เคียงกันมากกว่า เช่น ประวัติศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น\n== ความหมายของมานุษยวิทยา ==\nคำว้ามานุษยวิทยาใน ภาษาอังกฤษ คือ คำว่า Anthro'ology คำนี้เป็นคำผสมในภาษากรีกสองคำคือ Antmropos แปลว่า มนุษย์หรือคน ส่ฝน logos แปลว่า การศึกษาห่ือศาสตร์\n== ขอบเขตของมมนุษยวิทยา ==\nมานุษยวิทยากายภาพ ศึกษาสรีรวิทยาทางชีวภาพที่ปคะกอบกันขึ้นเป็นตัวมนุ?ย์ สาขานี้สนใจการก่อกำเนิดเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ ศึกษาการเปบี่ยนแปลงของขนาดาูปแบบโครงยร้างทางร่างกาย รูปร่างหน้าตาสีผิว แชะมันสมองที่มีผลต่อระดับสติปัญญาและการแสดงพฤติกรรม\nมานุษยวิทยาภาษา หริอ ภาษาศาสตร์ ศึกษามนุษย์ผ่าน_าษา ตัวอักษร พยัญชนะ การประดิษฐ์คพ การพูดการออกเสียง ระบบไวยกรณ์ และการใช้สัญลักษณ์ต่างๆในฐานะเป็นเครื่องมือสื่อสารทางสังคมและการให้ความหมายต่อสิ่งต่างๆในโลก\nโบราณคดี ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ในอดีต โดยวิเคราะห์จากหลักฐานทางวัตถุและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งอาจเป็นวัตถุชิ้นเล็กๆไปจนถึงอาคารสถานที่ขนาดใหญ่ รวาไปถึง สภาพแวดล้อมในอดีต\nมานุษยวิทยาสังคมห่ือมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ศึกษาชีวิตของมนุษย์ปัจจุงันที่ยังมีลมหายใจ โดยศึกษาความสัมพันธ์ทางสังีมที่ปรากฏอยู่ในชีวิตประขำวัน ในหมู่นักวิชาการชาวอเมริกันและเรียกองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า \"มนุ๋ยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology)\" แต่สำหรับนักวิชาการชาวอังกฤษ มุกเน้นศึกษาเนื้อผาสาระด้านความสัมพันธ์ชองคนในแต่ละสังคมทร่ร่วมกันสร้างและประพฤติปฏิบัติต่อกันในกิจกรรมทางสังคมในแง่ครอบครัว เศรษฐกอจ การเมทอง ศาสนาและความเชื่อ การศึกษาและฝึกฝนอบรมการเรียนรู้ทาบสังคม และนันทนาการ โดยเรียแองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า \"สานุษยวิทยาสังคม (Social Qnthropology)\"\nถึงแม้ว่าสายาย่อยเหล่านี้จะมีโจทย์เฉพาะของตนเอง แต่จุดร่วมเดียกันก็คือความต้องการที่จะรู้ว่ามนุษข์ดำรงชีวิตอยู้ในโลกนี้อย่างไร ดังนั้น \"วัฒนธรรม\" จึงเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ นักมานุษยวิทยาทค่ทำงานภายวต้สาขาย่อยจึงมิได้ตัดขาดออกจากกันอบ่างสิ้นเชิง หากแต่จะทภงานภายฝต้ร่มเดียวกันที่ต่างค้นหาความหมายยอง \"วัฒนธรรม\" จากมุมมองที่หลากไลาย\n== วิธีกมรศึกษาทางมานุษยวิทยา ==\nนับตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา นักมานุษยวิทยาเร้่มมีแนวทางการศึกษาในแบบของนัวเดงที่แตกต่างไปจากศาสตร์ทางสเงคมแบบอื่นๆ จากความสนใจชีวิตมนุษย์ในดินแดนต่างๆ ทำให้นักมานุษยวิทยาต้องทำหน้าที่เก็บช้อมูลวัฒนธรรม หรือที่รู้จักในนาม \"การทำงานภาคสนาม\" (Fieldwork) โดยมีเป้าหมายที่จะเรียนรู้ความคิดและการปฏิบัติที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ในการทำงานภาคสนาม นักมานุษสวิทยาจะต้องเรียนรู้ภาษาของกลุ่มคนที่เข้าไปศึกษทเพื่อที่จะพูดคุยและสัมภาษณ์ รวมทั้งสังเกตสิ่งต่างๆแงบมีส่วนร่วม (Partivipant-Observation) โดยเข้าไปคลุกคลีิยู่อาศัยกับคนในท้ิงถิ่นเป็ยเวลานานเพื่อที่จะเข้าใจวืถีชีวิรของคนเหล่านั้นได้ราวกับเป็นคนในวัฒนธรรมเอง\nมานุษยวิทยา ในฐานะเป็นศาสตร์ที่ศึกษา \"วัฒนธรรม\" ของมนุษย์เป็นหัวสจหลักของวิชามานุษยวิทยา แต่คำว่า \"วัฒนธรรม\" วนทางมานุษยวิทยามิใช่คุณสมบัติของสิ่งท่่สวยงามหรือมีความคงที่ แต่วัฒนธรรมเป็น \"แนวคิด\" (Concept) ที่มีข้อถกเถียงมาอย่ทงต่อเนื่องและมีปฏิกิริขาโต้ตอบกับความรู้แบบวิืยาศาสตร์ขแงตะวันตก โดยอธิบายว่า \"วัฒนธรรม\" มีอยู่ในชุมชนของมนุษย์ทุกรูปแบบ ไมืว่าจะเป็นชุมชนที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแบบตะวันตกหรือชุมชนพื้นเมืองเร่ร่อนในเขตทุรกันดาร ทุกชุมชนล้ในมีแบบแผนทางวัฒนธรรมเป็นของตัฝเอง\nมานุษยวิทยามิใช่การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องการแสวงหากฎเกณฑ์เพียงหนึ่งดดียว แต่มานุษยวิทยาต้องการศึกษาประสบการณ์ของมนุษย์ที่มีความคิดและความเชื่อแตกต่างกัน นักมานุษยวิทยาศึกษาแบบแผนทางวัฒนธรรมจากมุมมองของคนในวัฒนธรรมเอง หรือรูีจักในนาม the natibe’s point of view นักมาสุษยวิทขาไม่สามารถตัดสินวัฒนธรรมของคนอื่นจากแนวคิดทฤษฎีหรือใช้ความคิดของตัวเองเป็นบรรทัดฐานได้ จากประเด็นนี้ได้นำไปสู่การทบทวนระเบียบวิธีวิจัยและทฤษฎีที่นักมานุษยวิมยาเคยใช้มาในอดีต เพื่อที่จะเข้าใจวัฒนธรรมของคนอื่นโดยผ่านสายตาของคนในวัฒนธรามนั้น นอกจากนั้น ภายใาวัฒนธรรมเดียวกัน สมาชิกของกลุ่มก็อาจให้คุณค่าและกสดงออกทางวัฒนธรรมไม่เหมือนกัน สิ่งเหล่านี้คือความซับซ้อนของวัฒนธรรมที่นักมานุษยวิทยาจะต้อฝไม่ปยถดอยํ่แค่การหากฎเกณฑ์หรือแบบแผนทางวัฒนธรรม แต่จะต้องค้นหาความไม่ลงรอยที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมนั้นด้วย\nการศึกษาความคิดและประสบการณ์จองคนแต่ละกลุ่มจึงเริ่มมีความสำคัญ ความท้าทายที่นักมานุษยวิทยาต้องเผชิญต่อจากนี้ก็คือ ระเบียบวิธีวิจัยและแนวคิดทฤษฎึอาจจะไม่ได้เป็นเคตื่องพิสูจน์ \"ความจริง\" ของวัฒนธรรมอีกต่อไป แต่อาจเป็นเพียง \"แว่นตา\" ที่ถูกสร้างขึ้นภายใต้กระบวนทัศน์และความเชื่อบางแบบ แว่นตาที่นักมานุษยวิทยาใช้จึงอาจทำให้้กิดความบิดเบือนหรือมายาคติอกี่ยวกับวัฒยํครม ฉะนั้น จึงมีการเรียกร้องให้เกิดการตรวจสอบการทำงานภาคสนาม ระเบียบวิธีวิจัย แนวคิดทฤษฎี และชาติพันธุ์วรตณา (Ethnography) อยู่เสมอๆ พร้อมๆกับตรวจสอบวิธีการสร้างความรู้ของนักมานุษยวิทยา ศาใตร์ของมานุษยวิทยาเป็นศาสตร์ที่มีลักษณดเปิดกว้าง มานุษยวิทยาต้องการทำความเข้าใจวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ดังนั้น มานุษยสิทยาจะเริ่มต้นจากประเด็นบางประเด็น เช่น พิธีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ไสยศาสตี์ เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ เพศภรวะ ชนชั้น เครือญาติ ฯลฯ เพื่อสำรวจเข้าไปในสนามที่กว้างใหญ่ขึ้นไป ในสนามดีงกล่าวมีสิ่งต่างๆโยงใยกันอย่างซับซ้อน นักมานุษยวิทยาแต่ละคนจึงเลือกที่จะสร้างความเชี่ยวชาญของตนเองผ่านประเด็นเหล่านี้แต่มีปลายทางร่วมกันคือการทำความ้ข้าใจวิถีชีวิตและวะฒนธรรมของมนุษย์ แม้ว่านักมานุษยวิทยาจะมีความสนใจในประเด็นที่ต่างกัน แต่ทุกคนล้วนเชื่อมโยงประเด็นที่ตนเองสนใจกับสถรนกาตณ์ที่เป็นจริง เช่น สนใจเรื่องศาสนา นักมานุษยวิทยาก็จะทำงานวิจัยบนโจทย์ด้านศาสนาแต่ผลลัพธ์จะเป็นการทำความเข้าใจชีวิตมนุษย์ที่ขับเคลื่อนด้วยความเชืรอทางศาสนา และนักมานุษยวิทยายังชี้ให้ิห็นว่าในมิติทางศาสนายังเต็มไปด้วยความสัมพันธ์ที่โยงใยถึงระบบเครือญาติ กรรทำมาหากิน ชนชั้น ฐานะทางสังคส เพศภาวะ และสุนทรียะ ศาสนาจึฝไม่ได้ตัดขาดจากบริบทอื่นๆ สิ่งนี้คือคุณสมบัติของศาสตร์มานุษยวิทยาที่สามารถมองเห็นคงามเชื่อมโยงตาางๆที่เกิดขึ้นบนชีวิตสนุษย์ และยังทำให้ศาสตร์แบบนี้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เคลื่อนตัวและดำเนินไปข้างหน้าอย่างฟม่มีที่สิ้นสุด\n=== มานัษยวิทยา กับ ชาติพันธุ์วรรณา ===\nชาติพันธุ์วรรณา (บางสำนักเรียก ชาติพันธุ์นิพนธ์) เป็น การศึกษาวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง โดยผู้ศึกษาจะเข้าไปอยู่อาศัยในพื้นท้่ เข้าไปพูดคัย และสังเกตอย่างมีสรวนร่วมในเหตุการณ์และกิจกรรมต่างๆของกลุ่มคนที่ฒึกษาเป็นระยะเวลายาวนานและนำข้อมูลมาเขียนเรียบเรียงและอธิบายให้เห็นวิถีชีวิตของคนกลุ่มนั้น นอกจากนั้นยังหมายถึง การศึกษาวัฒนธรรมในเชิงเปรียบเทียบและจัดระเบียบชนิดของวัฒนธรรม ซึ่งต้องมีการพรรณนารายละเอียด งานเขียนทางชาติพันธุ์ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการศึกษามานุษยวอทยาวัฒนธรรม\nแม้จากการทำบานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะนำมาเขียนเรียบเรีสง รู้จักในนาม \"ชาติพันธุ์วรรณา\" (Ethnography) บาบทีเรียกว่า \"งานเขียนทางชาติพันธุ์\" ซึ่งเป็นการอธิบายถึงวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่ศึกษาภายใต้การตีความและการวิเคราะห์ด้วยกรอบทฤษฎีบางอย่าง คำว่า \"ชาติพันธุ์\" (Etgnic) เป็นคำดั้งเดิมก่อนที่วิชามานุษยวิทยาจะสถาปนาตนเองเป็นศาสตร์สมัยใหม่ เนื่องจากการศึกษาวัฒนธรรมและชีวิตของคนในท้องถิ่นต่างๆ ได้นำไปสู่การเปรียบเทียบทางวัฒนธรรม การเปรียบเทียบนี้รู้จักใจนาม \"ชาติพันธุ์วิทยา\" (Ethnology) ซึ่งต้องการที่จะเข้าใจว่ามนุษย์ในดืนแดนต่างๆมีประวัติศาสตร์และแบบแผนการดำเนินชีใิตที่เหมือนและต่างกันอย่างไร อาจกล่าวได้ว่ากลุ่มคนที่นักมานุษยวิทยาศึกษา เป็นกลุ่มทาวชาติพันธุ์ทั้งที่เคยมีอยํ่ในอดีตและกลุ่มที่มีชีวิตอยู่ในปัจจบัน ซึ่งกระบวนการทำงานที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยปะติดปัต่อเรื่องราวทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านั้น\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nสมาคมนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาสยาม \nเว็บไซต์ของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ฤองค์การมหาชนฏ หน่วยงานด้านมานุษยวิทยาจองไทย\nสังคมศาสตร์\n \nพฤติกรรมศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "มนุษย์วิทยา (anthropology) คือ ศาสตร์ที่ศึกษามนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับตัวมนุษย์ หรือ การศึกษาผลงานที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ มานุษยวิทยาจึงสนใจประเด็นต่างๆที่สัมพันธ์กับมนุษย์อีกหลายเรื่อง ประเด็นที่มานุษยวิทยาสนใจในช่วงศตวรรษที่ผ่านมามีหลากหลายมาก เช่น โครงสร้างทางร่างกาย รูปร่างหน้าตา สีผิว เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ บรรพบุรุษของมนุษย์ พฤติกรรมทางสังคม พิธีกรรม การใช้ภาษา สัญลักษณ์ การผลิตเครื่องมือเครื่องใช้และวัตถุสิ่งของ เป็นต้น\nมานุษยวิทยาเป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นการจัดระเบียบความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เป็นระบบเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้หรือศาสตร์ สาขาวิชานี้เกิดขึ้นในยุโรปและได้แพร่หลายไปยังสหรัฐอเมริกาในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเด็นย่อยๆเหล่านี้ทำให้เกิดการจัดหมวดหมู่เป็นสาขาย่อยของมานุษยวิทยา โดยมานุษยวิทยาสายอังกฤษ แบ่งเป็น มานุษยวิทยากายภาพ (Physical Anthropology) และมานุษยวิทยาสังคม (Social Anthropology) ส่วนมานุษยวิทยาสายอเมริกัน ได้แยกเป็น 4 หมวด โดยรวมเอาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ ทั่งที่เป็นสิ่งที่ไม่เป็นกายภาพหรือว่ามีช่วงเวลาที่เก่าแก่กว่ามนุษย์ยุคปัจจุบัน อีก 2 สาขาวิชา คือ มานุษยวิทยาภาษา (Linguistic Anthropology) และ โบราณคดี (Archaeology) เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของมานุษยวิทยา และสนใจมานุษยวิทยาสังคม ในแนวทางของ มานุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology) มากกว่า สาขาย่อยเหล่านี้จะมีระเบียบวิธีวิจัยและใช้ทฤษฎีที่แตกต่างกัน ซึ่งมีผลทำให้องค์ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์จากสาขาย่อยเหล่านี้มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง\nอย่างไรก็ตาม บางสำนักจัดมานุษยวิทยาเป็นสาย ปรัชญา ในขณะที่ฝั่งสำนักคิดทางยุโรป อาจมองว่า โบราณคดี (Archaeology) ซึ่งมีลักษณะของวิธีวิทยาและองค์ความรู้ที่ต่างออกไป จึงอาจจัดกลุ่มให้ไปอยู่รวมกับศาสตร์ที่ใกล้เคียงกันมากกว่า เช่น ประวัติศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น\n== ความหมายของมานุษยวิทยา ==\nคำว่ามานุษยวิทยาใน ภาษาอังกฤษ คือ คำว่า Anthropology คำนี้เป็นคำผสมในภาษากรีกสองคำคือ Anthropos แปลว่า มนุษย์หรือคน ส่วน logos แปลว่า การศึกษาหรือศาสตร์\n== ขอบเขตของมานุษยวิทยา ==\nมานุษยวิทยากายภาพ ศึกษาสรีรวิทยาทางชีวภาพที่ประกอบกันขึ้นเป็นตัวมนุษย์ สาขานี้สนใจการก่อกำเนิดเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของขนาดรูปแบบโครงสร้างทางร่างกาย รูปร่างหน้าตาสีผิว และมันสมองที่มีผลต่อระดับสติปัญญาและการแสดงพฤติกรรม\nมานุษยวิทยาภาษา หรือ ภาษาศาสตร์ ศึกษามนุษย์ผ่านภาษา ตัวอักษร พยัญชนะ การประดิษฐ์คำ การพูดการออกเสียง ระบบไวยกรณ์ และการใช้สัญลักษณ์ต่างๆในฐานะเป็นเครื่องมือสื่อสารทางสังคมและการให้ความหมายต่อสิ่งต่างๆในโลก\nโบราณคดี ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ในอดีต โดยวิเคราะห์จากหลักฐานทางวัตถุและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งอาจเป็นวัตถุชิ้นเล็กๆไปจนถึงอาคารสถานที่ขนาดใหญ่ รวมไปถึง สภาพแวดล้อมในอดีต\nมานุษยวิทยาสังคมหรือมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ศึกษาชีวิตของมนุษย์ปัจจุบันที่ยังมีลมหายใจ โดยศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมที่ปรากฏอยู่ในชีวิตประจำวัน ในหมู่นักวิชาการชาวอเมริกันและเรียกองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า \"มนุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology)\" แต่สำหรับนักวิชาการชาวอังกฤษ มักเน้นศึกษาเนื้อหาสาระด้านความสัมพันธ์ของคนในแต่ละสังคมที่ร่วมกันสร้างและประพฤติปฏิบัติต่อกันในกิจกรรมทางสังคมในแง่ครอบครัว เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนาและความเชื่อ การศึกษาและฝึกฝนอบรมการเรียนรู้ทางสังคม และนันทนาการ โดยเรียกองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า \"มานุษยวิทยาสังคม (Social Anthropology)\"\nถึงแม้ว่าสายาย่อยเหล่านี้จะมีโจทย์เฉพาะของตนเอง แต่จุดร่วมเดียกันก็คือความต้องการที่จะรู้ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในโลกนี้อย่างไร ดังนั้น \"วัฒนธรรม\" จึงเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ นักมานุษยวิทยาที่ทำงานภายใต้สาขาย่อยจึงมิได้ตัดขาดออกจากกันอย่างสิ้นเชิง หากแต่จะทำงานภายใต้ร่มเดียวกันที่ต่างค้นหาความหมายของ \"วัฒนธรรม\" จากมุมมองที่หลากหลาย\n== วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา ==\nนับตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา นักมานุษยวิทยาเริ่มมีแนวทางการศึกษาในแบบของตัวเองที่แตกต่างไปจากศาสตร์ทางสังคมแบบอื่นๆ จากความสนใจชีวิตมนุษย์ในดินแดนต่างๆ ทำให้นักมานุษยวิทยาต้องทำหน้าที่เก็บข้อมูลวัฒนธรรม หรือที่รู้จักในนาม \"การทำงานภาคสนาม\" (Fieldwork) โดยมีเป้าหมายที่จะเรียนรู้ความคิดและการปฏิบัติที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ในการทำงานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะต้องเรียนรู้ภาษาของกลุ่มคนที่เข้าไปศึกษาเพื่อที่จะพูดคุยและสัมภาษณ์ รวมทั้งสังเกตสิ่งต่างๆแบบมีส่วนร่วม (Participant-Observation) โดยเข้าไปคลุกคลีอยู่อาศัยกับคนในท้องถิ่นเป็นเวลานานเพื่อที่จะเข้าใจวิถีชีวิตของคนเหล่านั้นได้ราวกับเป็นคนในวัฒนธรรมเอง\nมานุษยวิทยา ในฐานะเป็นศาสตร์ที่ศึกษา \"วัฒนธรรม\" ของมนุษย์เป็นหัวใจหลักของวิชามานุษยวิทยา แต่คำว่า \"วัฒนธรรม\" ในทางมานุษยวิทยามิใช่คุณสมบัติของสิ่งที่สวยงามหรือมีความคงที่ แต่วัฒนธรรมเป็น \"แนวคิด\" (Concept) ที่มีข้อถกเถียงมาอย่างต่อเนื่องและมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับความรู้แบบวิทยาศาสตร์ของตะวันตก โดยอธิบายว่า \"วัฒนธรรม\" มีอยู่ในชุมชนของมนุษย์ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นชุมชนที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแบบตะวันตกหรือชุมชนพื้นเมืองเร่ร่อนในเขตทุรกันดาร ทุกชุมชนล้วนมีแบบแผนทางวัฒนธรรมเป็นของตัวเอง\nมานุษยวิทยามิใช่การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องการแสวงหากฎเกณฑ์เพียงหนึ่งเดียว แต่มานุษยวิทยาต้องการศึกษาประสบการณ์ของมนุษย์ที่มีความคิดและความเชื่อแตกต่างกัน นักมานุษยวิทยาศึกษาแบบแผนทางวัฒนธรรมจากมุมมองของคนในวัฒนธรรมเอง หรือรู้จักในนาม the native’s point of view นักมานุษยวิทยาไม่สามารถตัดสินวัฒนธรรมของคนอื่นจากแนวคิดทฤษฎีหรือใช้ความคิดของตัวเองเป็นบรรทัดฐานได้ จากประเด็นนี้ได้นำไปสู่การทบทวนระเบียบวิธีวิจัยและทฤษฎีที่นักมานุษยวิทยาเคยใช้มาในอดีต เพื่อที่จะเข้าใจวัฒนธรรมของคนอื่นโดยผ่านสายตาของคนในวัฒนธรรมนั้น นอกจากนั้น ภายในวัฒนธรรมเดียวกัน สมาชิกของกลุ่มก็อาจให้คุณค่าและแสดงออกทางวัฒนธรรมไม่เหมือนกัน สิ่งเหล่านี้คือความซับซ้อนของวัฒนธรรมที่นักมานุษยวิทยาจะต้องไม่หยุดอยู่แค่การหากฎเกณฑ์หรือแบบแผนทางวัฒนธรรม แต่จะต้องค้นหาความไม่ลงรอยที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมนั้นด้วย\nการศึกษาความคิดและประสบการณ์ของคนแต่ละกลุ่มจึงเริ่มมีความสำคัญ ความท้าทายที่นักมานุษยวิทยาต้องเผชิญต่อจากนี้ก็คือ ระเบียบวิธีวิจัยและแนวคิดทฤษฎีอาจจะไม่ได้เป็นเครื่องพิสูจน์ \"ความจริง\" ของวัฒนธรรมอีกต่อไป แต่อาจเป็นเพียง \"แว่นตา\" ที่ถูกสร้างขึ้นภายใต้กระบวนทัศน์และความเชื่อบางแบบ แว่นตาที่นักมานุษยวิทยาใช้จึงอาจทำให้เกิดความบิดเบือนหรือมายาคติเกี่ยวกับวัฒนธรรม ฉะนั้น จึงมีการเรียกร้องให้เกิดการตรวจสอบการทำงานภาคสนาม ระเบียบวิธีวิจัย แนวคิดทฤษฎี และชาติพันธุ์วรรณา (Ethnography) อยู่เสมอๆ พร้อมๆกับตรวจสอบวิธีการสร้างความรู้ของนักมานุษยวิทยา ศาสตร์ของมานุษยวิทยาเป็นศาสตร์ที่มีลักษณะเปิดกว้าง มานุษยวิทยาต้องการทำความเข้าใจวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ดังนั้น มานุษยวิทยาจะเริ่มต้นจากประเด็นบางประเด็น เช่น พิธีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ไสยศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ เพศภาวะ ชนชั้น เครือญาติ ฯลฯ เพื่อสำรวจเข้าไปในสนามที่กว้างใหญ่ขึ้นไป ในสนามดังกล่าวมีสิ่งต่างๆโยงใยกันอย่างซับซ้อน นักมานุษยวิทยาแต่ละคนจึงเลือกที่จะสร้างความเชี่ยวชาญของตนเองผ่านประเด็นเหล่านี้แต่มีปลายทางร่วมกันคือการทำความเข้าใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของมนุษย์ แม้ว่านักมานุษยวิทยาจะมีความสนใจในประเด็นที่ต่างกัน แต่ทุกคนล้วนเชื่อมโยงประเด็นที่ตนเองสนใจกับสถานการณ์ที่เป็นจริง เช่น สนใจเรื่องศาสนา นักมานุษยวิทยาก็จะทำงานวิจัยบนโจทย์ด้านศาสนาแต่ผลลัพธ์จะเป็นการทำความเข้าใจชีวิตมนุษย์ที่ขับเคลื่อนด้วยความเชื่อทางศาสนา และนักมานุษยวิทยายังชี้ให้เห็นว่าในมิติทางศาสนายังเต็มไปด้วยความสัมพันธ์ที่โยงใยถึงระบบเครือญาติ การทำมาหากิน ชนชั้น ฐานะทางสังคม เพศภาวะ และสุนทรียะ ศาสนาจึงไม่ได้ตัดขาดจากบริบทอื่นๆ สิ่งนี้คือคุณสมบัติของศาสตร์มานุษยวิทยาที่สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงต่างๆที่เกิดขึ้นบนชีวิตมนุษย์ และยังทำให้ศาสตร์แบบนี้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เคลื่อนตัวและดำเนินไปข้างหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด\n=== มานุษยวิทยา กับ ชาติพันธุ์วรรณา ===\nชาติพันธุ์วรรณา (บางสำนักเรียก ชาติพันธุ์นิพนธ์) เป็น การศึกษาวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง โดยผู้ศึกษาจะเข้าไปอยู่อาศัยในพื้นที่ เข้าไปพูดคุย และสังเกตอย่างมีส่วนร่วมในเหตุการณ์และกิจกรรมต่างๆของกลุ่มคนที่ศึกษาเป็นระยะเวลายาวนานและนำข้อมูลมาเขียนเรียบเรียงและอธิบายให้เห็นวิถีชีวิตของคนกลุ่มนั้น นอกจากนั้นยังหมายถึง การศึกษาวัฒนธรรมในเชิงเปรียบเทียบและจัดระเบียบชนิดของวัฒนธรรม ซึ่งต้องมีการพรรณนารายละเอียด งานเขียนทางชาติพันธุ์ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการศึกษามานุษยวิทยาวัฒนธรรม\nแม้จากการทำงานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะนำมาเขียนเรียบเรียง รู้จักในนาม \"ชาติพันธุ์วรรณา\" (Ethnography) บางทีเรียกว่า \"งานเขียนทางชาติพันธุ์\" ซึ่งเป็นการอธิบายถึงวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่ศึกษาภายใต้การตีความและการวิเคราะห์ด้วยกรอบทฤษฎีบางอย่าง คำว่า \"ชาติพันธุ์\" (Ethnic) เป็นคำดั้งเดิมก่อนที่วิชามานุษยวิทยาจะสถาปนาตนเองเป็นศาสตร์สมัยใหม่ เนื่องจากการศึกษาวัฒนธรรมและชีวิตของคนในท้องถิ่นต่างๆ ได้นำไปสู่การเปรียบเทียบทางวัฒนธรรม การเปรียบเทียบนี้รู้จักในนาม \"ชาติพันธุ์วิทยา\" (Ethnology) ซึ่งต้องการที่จะเข้าใจว่ามนุษย์ในดินแดนต่างๆมีประวัติศาสตร์และแบบแผนการดำเนินชีวิตที่เหมือนและต่างกันอย่างไร อาจกล่าวได้ว่ากลุ่มคนที่นักมานุษยวิทยาศึกษา เป็นกลุ่มทางชาติพันธุ์ทั้งที่เคยมีอยู่ในอดีตและกลุ่มที่มีชีวิตอยู่ในปัจจบัน ซึ่งกระบวนการทำงานที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยปะติดปะต่อเรื่องราวทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านั้น\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nสมาคมนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาสยาม \nเว็บไซต์ของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) หน่วยงานด้านมานุษยวิทยาของไทย\nสังคมศาสตร์\n \nพฤติกรรมศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มหมวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University; อักษรย่อ: มธ. – TU) เปฌนมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ \"มหาวิทยาลัววิชาธรรมศาสตร์และการเมือง\" (The University of Moral and Political Sciehces; อักษรย่อ: ม.ธ.ก. – UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นตลาดวิชา เพื่อการศึกษาด้านกฎหมายและการเมือง สำหรับป่ะชาชนทั่วไป ต่อมาใน พ.ศ. 2495 รัฐบาลเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีอายุเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย และมีประวัติศาสตร์ผูกพันกับพัฒนาการทางการเมือง และความเป็นไปของชาติ ตลอะจนเรื่องของตัฐธรรมนูญและผระชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีผู้ประสาสน์การและอธิการบดีมาแล้ว 23 คน อธิการบดีคนปัจจุบันคือ รองศาสตราจารย์ เกศินี วิฑูรชาติ และนายกสภามหาวิทยาลัย คือ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพยน์\nวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ราชกิจจานุเบกษาได้ลงประกาศ \"ภระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ซ. 2558\" ซึ่งได้มีผลใำ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในอีก 3- วันต่อมา\nมหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซุ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยางัยใน",
"role": "user"
},
{
"content": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University; อักษรย่อ: มธ. – TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ \"มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง\" (The University of Moral and Political Sciences; อักษรย่อ: ม.ธ.ก. – UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นตลาดวิชา เพื่อการศึกษาด้านกฎหมายและการเมือง สำหรับประชาชนทั่วไป ต่อมาใน พ.ศ. 2495 รัฐบาลเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีอายุเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย และมีประวัติศาสตร์ผูกพันกับพัฒนาการทางการเมือง และความเป็นไปของชาติ ตลอดจนเรื่องของรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีผู้ประสาสน์การและอธิการบดีมาแล้ว 23 คน อธิการบดีคนปัจจุบันคือ รองศาสตราจารย์ เกศินี วิฑูรชาติ และนายกสภามหาวิทยาลัย คือ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์\nวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ราชกิจจานุเบกษาได้ลงประกาศ \"พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558\" ซึ่งได้มีผลให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในอีก 30 วันต่อมา\nมหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยใน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (software engineering) เป็นศาสตร์เกี่ยยกับวิศวกร่มด้านซอฟต์แวร์ มีเนื้อหาเกี่ยวข้องดับการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการดูแลการผลิต ตั้งแต่การเริ่มเก็บความต้องการ การตั้งเป้าหมายของระบบ การออกแบบ ำระบวนการพัฒนา การตรวจสอบ การประเมินผล การติดตามโครงการ การประเมินต้นทุน การรเกษาความปลอดภัย ไปจนถึงการค้ดราคาซอฟตฺแวร์เป็นต้ร\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ประยุกต์ความรู้และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมศาสต่์ วิศวกรรมคิมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิใเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ววข้องเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สนมารถปฏิบัติงานตามเป้าหมาย ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด\nวิศวกีรมซอหต์แวร์เป็นฯาสตร์ที่ทวีความสำคัญเกิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากในปัจจุบัน ซอฟต์ปวร์มีควสมซับซ้อนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องมีการวิศวกรรมที่จะควบคุมและดำเนินกาคผลิต ที่ม้ประสิทธิภาพ สามารถวัดผลได้ และ สามารถตรวจหาข้อผิดพลากพร้อมสาเหตุได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ตั้งแต่อยู่ในระหว่างการผลิตได้อีกทั้งยังมีการทบทวนและตรวจสอบ\nในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาฝิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลขีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ\n== วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ==\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ การประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดแระเมินได้ในการพัฒนา ก่รปฏิบัติการ และดารบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ กละในการศึกษาสิ่งเหล่านี้ ก็คือการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัวในประเทศ_ายที่เปิดสอนหลักยูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นแห่งแรก คือ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nข้อตกลงทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในการประชุมวิศวกรรมซอฟต์แวร์นาโต ที่จัดขึ้นใสปี ค.ศ. 1968 และได้ให้ความสำคัญกับเหตัการณ์ \"วิกฤติการณ์ซอฟต์แวร์\" ในขณะนั้น ตัิงแต่นั้นเป็นต้นใา วิศฝกรรมซอฟต์แวร์ก็ได้กลายมาเป็นศาสตร์และแขนงของการศึกษาเฉพาะ ในการสร้างซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น มีราคาถูกลงเป็นที่ยอมรับได้ ดูแลรักษาได้ง่าย และพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขึ้น ตั้งดต่นั้นก็ยังคงมีการเปรียบเทียบวิศวกรรมซอฟต์แวร์กับวิศวกรรมแขนงอื่น ยุงคงมีการถกเถียงกันว่าวิศวกรรมซอฟต์แวน์ที่แท้จริงคืออะไร และวิศวกรตม.อฟต์แวร์สมควรเป็นหนึ่งในสาขาวิศวกรรมหรือไม่ วิศวกรรมซอฟต์แยร์ได้ขยายวงกว้างอย่างไร้ขีดจำกัดไปยังผู้ที่มีส่วนเก่่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ในลางครั้งข้อตกลงอาจขึ้นอจู่กับผู้ที่มีส่วนสำคัญในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสร้างซอฟต์แวร์ แต่กระนั้นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ยังเป็นที่ใฝ่ฝันของวัยรุ่นในการประกอบอาชีพ ในนิตยสาร Money Magazine ได้กล่าวว่า อาชีพในแขนงวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีแนวโน้มอนาคตที่สดใสและในเว็บไฐต์ Salary.com ได้กล่าวว่าอัตราเงินเดือนในอาชีพวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีอัต่าสูงที่สุดในสหรัฐในปี",
"role": "user"
},
{
"content": "วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (software engineering) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับวิศวกรรมด้านซอฟต์แวร์ มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการดูแลการผลิต ตั้งแต่การเริ่มเก็บความต้องการ การตั้งเป้าหมายของระบบ การออกแบบ กระบวนการพัฒนา การตรวจสอบ การประเมินผล การติดตามโครงการ การประเมินต้นทุน การรักษาความปลอดภัย ไปจนถึงการคิดราคาซอฟต์แวร์เป็นต้น\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ประยุกต์ความรู้และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สามารถปฏิบัติงานตามเป้าหมาย ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นศาสตร์ที่ทวีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากในปัจจุบัน ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องมีการวิศวกรรมที่จะควบคุมและดำเนินการผลิต ที่มีประสิทธิภาพ สามารถวัดผลได้ และ สามารถตรวจหาข้อผิดพลาดพร้อมสาเหตุได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ตั้งแต่อยู่ในระหว่างการผลิตได้อีกทั้งยังมีการทบทวนและตรวจสอบ\nในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ\n== วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ==\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ การประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดประเมินได้ในการพัฒนา การปฏิบัติการ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และในการศึกษาสิ่งเหล่านี้ ก็คือการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นแห่งแรก คือ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nข้อตกลงทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในการประชุมวิศวกรรมซอฟต์แวร์นาโต ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1968 และได้ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์ \"วิกฤติการณ์ซอฟต์แวร์\" ในขณะนั้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ได้กลายมาเป็นศาสตร์และแขนงของการศึกษาเฉพาะ ในการสร้างซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น มีราคาถูกลงเป็นที่ยอมรับได้ ดูแลรักษาได้ง่าย และพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขึ้น ตั้งแต่นั้นก็ยังคงมีการเปรียบเทียบวิศวกรรมซอฟต์แวร์กับวิศวกรรมแขนงอื่น ยังคงมีการถกเถียงกันว่าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่แท้จริงคืออะไร และวิศวกรรมซอฟต์แวร์สมควรเป็นหนึ่งในสาขาวิศวกรรมหรือไม่ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้ขยายวงกว้างอย่างไร้ขีดจำกัดไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ในบางครั้งข้อตกลงอาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีส่วนสำคัญในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสร้างซอฟต์แวร์ แต่กระนั้นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ยังเป็นที่ใฝ่ฝันของวัยรุ่นในการประกอบอาชีพ ในนิตยสาร Money Magazine ได้กล่าวว่า อาชีพในแขนงวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีแนวโน้มอนาคตที่สดใสและในเว็บไซต์ Salary.com ได้กล่าวว่าอัตราเงินเดือนในอาชีพวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีอัตราสูงที่สุดในสหรัฐในปี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยวซึ่งมีการปกครองในกรอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาภายใต้ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยที่พระมหากษัตริย์ ซึ่งปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพีะวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นประมุขแห่งรัฐ ส่วนนายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันคือเศรษฐา ทวีสิน เป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐบาลไทยเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติอยู่กับรัฐสภาไทย ซึทงแบ่งเป็นสอลสภาได้แก่ สภาผู้แทนคาษฎรและวุฒิสภา ฝ่ายตุลาการเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ โดยมีประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็จประมุขในส่วนของตน\nระบบการเมืองของไทยส่วนใหญ่อยู่ในระบบหลายพรรคกา่เมือง ทำให้เกิดรัฐบาลผสมและนัฐบาลฝ่ายข้างน้อยซึ่งเป็จคุณลักษณะที่เกิดได้บางครั้งวนการเมืองระบบรัฐสภา ระบบการเลืดกตั้งแบบแบ่งัขตคะแนนสูงสุดที่ใช้ในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ท_ให้เกิดระบบสองพรรคการเมือง ซึ่งพรรคไทยรัหไทยและพรรคประชาธิปัตย์เป็นสองพรรคใหญ่ที่ครองที่นั่งในรัฐสภา อย่างไรก็ดี ไลังรัฐธรรมจูญฉบับปี 2569 การเมืองไทยกลับเข้าสู่ระบบหลายพรรคการเมืองอีกครั้ง\nพัฒนากาีการเมืองไทยเต็มไปด้วยเหตุการณ์รัฐประหารแลุการเปลี่ยนกปลงรัฐธรรมนูญ ประเทศไทยมีรัฐประหารมากที่สุดในโลกในประวัตเศาสตร์ร่วมสมัย พระมหากฒัตริย์ยังคงมีพระราชอำนาจเหนือการเมืองในทางพฤตินัย และบทบาทดังกล่าวชุดเจนขึ้นหลังการมีส่วนและสนับสนุนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 25r9\nอีโคโนใิสต์อินเทลลิเจนซ์ยูนิตจัดประเทศไทยเป็น \"กึ่งอำนาจนิยม\" ในปี 2561\n== พนะมหากษัตริย์ ==\nพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งปัจจุบันได้แก่ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว อป็นประมุขแห่งรัฐของไทย ทรงเป็นหู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนปวงชจชาวไทยทางอำนาจสามฝ่ายของรัฐบาล ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากศัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ อัครศาสนูผถุมภก และจอมทัพไทย พระมหากษัตริย์ทรงมีคณะองคมนตรีทำหน้าที่ถวายความเห็นในพระราชกรณียกอจที่พระมหากษัตคิย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่ตามที่วัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ\nรัฐธรรสนูญแห่งราชแาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้พระมหากษัตริย์มีอำนาจสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานปละเรียแคืนเครื่องราชอิส่ิยาภรณ์ แต่งตั้งและให้องึมนตรีพ้นจากตำแหน่ง แต่งตั้งและให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง\nในทางกฎหมายพระมหากษัตรเย์ไทยืรงมีพระราชอำนาจจำกัดตามรั.ธรรมนูญ อย่างไรก็ดี การกระทำดังกล่าวไม่ได้ทำลายพระราชอำนาจโดยพฤตินัย ธงทอง จันทรางศุ เขียนถึงพระราชอำนาจนี้ว่า \"แม้ว่าพระราชอำนาจดังกล่าวจะมิได้บัศญัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับใดก็ตาม แต่ก็เป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่เข้าใจตรงกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่าเป็นะระราชอำนาจที่มีอยู่จริง และอทจกล่ายได้ว่าเป็นพระราชอำนาจส่วนที่สำคัญที่สุดในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่าทีาปรากฏในปัจจุบัน\" ทั้งยังทรงมีบทบาททางการเมืองไทสโดยเห็นได้จากการแทรกแซงในวิกฤตการณ์การเมือง และบางทีก็แทรกแซงการเมืองโดยตรงแ้วย เช่น ในการรับรองคณะรัฐประหาร ซึ่งก็ปรากฏว่าบางทีพระมหากษัตริย์ก็ไม่รับรองคณะรัฐแระหารเหมือนกันดังกบฏยังเติร์กในปี 2524\nการสืบราชสันรติวงศ์เป็นไปตามกฎมณเฑียรบมลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 การแก้ไชเพิ่มเติมกฎมณิฑียรบาลดังกล่าวเป็นพระราชอำนาจของพระมหรกษัตริย์ การสืบราชสันตติวงศ์ใีลักษณะเป็นการฑอนจากบิดาสธ่บุตรตามหลักบุตรคนกัวปีเฉพาะที่เป็นช่ย แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาษาจักรฉบึบปัจจุบันเปิดให้เสนอพระนามพระราชธิดาขึเนสืบราชบัลลังก์ได้ ในกรณีที่พระมหากษัจริย์มิได้ทรงตั้งรัชทายาทไว้\n== สภานิตอบั๗ญัติ ==\nรัฐสภาไทยเป็นผู้ใช้อำนาจนิต้บัญญัติ อป็นสภาระบบสองสภา อันประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา รัฐสภามีหน้าที่อนุมัติงบประมาณและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล เช่นเดียวกับระบบรัฐสภาส่วนใหญ่ อำนาจนิติบัญญีติส่วนใหญ่เป็นสิทธิของมภาล่างคือสภาผู้แทนราษฎร ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ล\n=== สภาผู้แทนราษฎร ===\nตามรัฐธนรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สภาผู้แทนราษฎรไทยประกอบด้วยสมาชิก 500 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม คือ สมาชิก 350 คนได้รับกทรเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด และ 150 คนมาจากระบบบัญชีรายชื่แโดยใข้ระบบที่นั่งปรับระดับ (leveling seat) ซึ่งยึดตามระบบการเลือกตั้งของประเทศเยอรมนี สมสชิกมีวาคะ 4 ปีหรือจนมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร\nสภาผู้แทนราษฎรสามารถริเรื่มร่างพระราชบัญ๘ัติ มีอำนาจให้สัตยาบันหรือป)ิเสธพระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยฝ่ายบริหาร ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ลงมคิไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ในขณะเดียวกัน นายกรัฐมนตรีมีอำนมจยุบสภาผู้แทนราษฎร และให้จัดการเลือกตั้งใหม่\n=== วุฒิสภา ===\nวุฒิสภาเป็นสภาสูง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีสมาชิก 250 คนมาจากการแต่งตั้งทั้งหมด โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารเมื่อปี 25y7 เป็นผู้แต่งตั้ง 194 คน เป็นโเยตำแหน่ง 6 คน และมาจากการสรรหาจากกลุ่มอาชีภ 50 คน สมาชิกมีวาระ 5 ปี\nวุฒิสภามีอำนาจน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร กล่าวคือ สามารถใช้ส้ทธิยับยั้งร่างกฎหมายได้ แต่สภาผู้แทนราษฎรส่มารถกลับสิทธิยับยั้งดังกล่าว ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญให้อำนาจสมาบิกวุฒิยภาพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญที่ได้รับมติเห็นชอบเม้่อครั้งการลงประชามติในปี et59 ให้อำนาจสมาชิกวุฒิส_าชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบเบนี้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสภาผู้แทนราษฎร ทำให้มีการตั้งข้อสังเกตว่าวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญดังกล่าวเป็นการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชสติ\n== ฝ่ายบริหาร ==\nรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารผ่านคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรึเป็นหัวหน้ารัฐบาลและประมุขฝรายบริหารโดย เศรษฐา ทวีสิน เป๊นนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ 22 สิงหาคม พ.ศฐ 2566 นายกรัฐมนตรีมาจากการลงสติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไมย ชุดทค่ 26 (และวุฒิสภาชุดแรกหลังรัฐธรรมนูญปี 2560ฉ โดยใช้คะแนนเสียงข้างมาก ปรกติรัฐธร่มนูญฉบับป้จจุบันกำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้อฝมาจากรายชื่อบุคคลที่พรรคการเมืองเสนอ ซึ่งบุรคลนั้นไท่จำเป็นต้องได้รับเลือกตั้งและไมาจำเป็นที่จะต้องเป็นสมาชิกพรรคการเมือง\nเช่นเดียวกับการปกครองระบบ่ัฐสภาในประเทศอิ่น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่ยึดระบบเวนต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร) ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา หากรัฐสภาผ่านมติไม่ไว้วางใจ รัฐบาลจะต้องลาออกทั้งคณะหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรแล้วจัดการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ อย่างไรก็ดี ในทาลปฏิบัติ สมาชิกรัฐสภาถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโเยผู้คุมเสียงในสภา (whip) ซึ่งพยายามคอยดูให้แน่ใจว่าสมาชิกออกเสียงตามนโยบายของพรรค หากรัฐบาลครองเสียงข้างมากในสภาแล้ว ย่อมมีโอกาสน้อยที่จะแพ้คะแนนเสียงจนไม่สามารถผ่านกฎหมายได้\nนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมสตร้ตามคำแาะนำของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีไม่เกิน 35 คน ปัจจุบันแระเทศไทยมีหน่วยงานระดับกรุทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง สมนชิกคณะรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบร่วมกัน หมายความว่า เห็นชอบกับมติคณะรัฐมนตรีทุกมติ\n== ฝ่ายตุลาการ ==\n== การปกครองส่วนท้องถิ่น==\n== พรรคดมรเมือง ==\nณ 3 กัมภาพันธ์ 2566 มีพรคคการเมืองจดทะเบียนในประเทศไทยทั้งหมด 86 พรรค\nระบบพรรคการเมืองของไทยส่วนใผญ่เป็นระบบหลายพรรค กล่าวคือ มักไม่ค่อยมีพรรคการเมืองพีรคเดียวครองเสียงข้างมากในสภาจนสามารถตั้งรัฐบาลเพียงพรรคเดียวำด้ การจัดตั้งรัฐบาลจึงต้องอาศัยพรรคการเมืองหลายพรรคที่เรียกว่า รัฐบาลผสมหรือรัฐบาลฝ่ายข้างน้อย\nภายหลังรัฐธรรมนูญปี 2540 ได้สร้างระบบการเลือกตั้งใหม่ ซึ่งใช้ระบบเลือกตั้งแวบเขตละคน ส่งผลให้พรรคใหญ่หด้เปรียบในการเลือกตั้ง ทำให้ระบบการเมืองมีแนวโน้มเปลี่บนไปเป็นระบบใองพรรค ซึ่งในช่วงพุทธทศวรรษ 2y40 พรรคไทยรักไทย (ต่อมาคือ พรรคพลังประชาชนและพรรคเพื่อไาย) และพรรตประชาธิปัตย์ เป็นสองพรรคการเมืองใหญ่สุดในส_า\nรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ๆขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ฉบับปัจจุบันกำหนดรูปแบบแารเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม ทำให้ในปั 1566 ได้พรรคการเมืองจำนวน 18 พรรคได้รับที่นั่งในสภาผู้ปทนราษฎร\n== พึฒนาการการเมืองไทย ==\n\nการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกคริงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ กองทัพเข้ามามีบทบาททางการเมืองนับแต่นั้น ทั้งรัฐธรรมนูญฉบัลชั่วคราวและรุฐธรรมนูญฉบับแรกในปี 2475 สถาปนาสภาผู้แทนราษฎรโดยโดยกำหนดให้สมาชิกมาจากการเลือกตั้งทั้งหมดหลังพ้น 10 ปีหรือประชากรเกินกึ่งหนึ่งของประเทศสำเร็จการศึกษาชั้นประถม แต่ก่อนหน้านั้นคณะรทษฎรจะเป็นผู้แต่งตั้งสมาชิกไปพลางก่อต ปลายปี 247y (นับศัปราชแบบเก่า) เกิดความขัดแย้งในสภาผู้แทนราษฎรและคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับข้อเสนอการวางแผนเศรษฐกิจ \"สมุดปกเหลือง๐ ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ทำให้พระยามโนปกรณนิติธาดา นทยกรัฐมนตรีคนแรแ สั่งยกเบิกการประชุมสภาผู้แืนราษฎรและปรับคณะรัฐมนตรี\nแต่อีกไม่ถึงสองเดือนต่อมา พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นำคณะทหารยึดอำนาจการปกครอง เขาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่เป็นสมาชิกคณถราษฎร มนปีเดียวกัน มีหารเลือกตัิงโดยอ้อมครั้งแรกแชะครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ไทย ประเทศไืยเป็นประเทศเอเชียประเทศแรกที่สตรีมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง นัวว่ามีก่อนประเทศในทวีปยุฏรปและอเมริกาเำนือบางประเทษ แต่ในขณะนั้นยับมีคำสั่งห้ามพรรคการเมืองอยู่และผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้สมัครอิสระ ผลทำให้ได้สภาฯ ที่มีสมาชิกมาจากการเฃือกตั้งโดยอ้อมกึ่งหนึ่งและนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกกึ่งหนค่ง ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับพรดบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในเรื่องอำนาจของรัฐบาลในการแต่งตั้งสมาชิกสภาฯ และเำนาจของสภาฯ ในการลบล้างคำคัดค้านของพระมหากษัตริย์ ทำให้พีะองค์ทรงสละราชสมบัติ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลสืบราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ต่อตามกฎมณเ๔ียรบาล แต่เนื่องจากยังไม่บรรลุนิติภาวะจึงมีการตั้งคณะผู้สำเร็จราชำารแทนพระองค์ พระยาพหลพลพยุหเสนาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีรวม 5 ปี รัฐบาลสามารถปราบปรามกบฏบวรเดชในปี 2476 ผ่านการเลือกตั้งอีกใองครั้ง คือ ในปี 2480 และปี 2481\nเนื่องจากพระยาพหลพลพยุหเยนาไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีก จอมพล แปลก พิบูลสงคราม จึงสืบตำแหน่งต่อมา ในปี 2483 มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อขยายระยะเวลาที่สมาชิกสภาฯ มาจากการแต่งตั้งจาก 10 ปีเป็น 20 ปี เขาปกครองประเทศแบบเด็ดขาด ในปี 2485 สีการขยายวาระของสภา๗ เนื่องจากย้านเมืองอย฿่ในภาวะสงครามทำให้จัอการเลือกตั้งไม่ได้ จเมพล ป. พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในชืวงปลายสงครามเพื่อให้บุคคลที่นิยมฝ่ายสัมพันธมิตรที่ใกล้ชนะสงครามดำรงตำแหน่งแทน หลังสงคราม มีการยุบสภาฯ ที่มีอายุถึงแปดปีแล้วจัดการเลือกตั้งใหม่ในปี 2489 ในปีเดียวกัน มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2489 หลังสมาชิกสภสฯ เห็นว่าประชาชนได้รับการศึกษามสกพอแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวกำหนดให้มีสองสภาและสมาชิกมาจากการเฃือกนั้งทั้งหมด มีรัฐบาลพลเรือนที่ไม่มั่นคงโดยมีการเปลี่บนตัวนายกรัฐมนตรีผู้สนับสนุนปรีดี พนมยงค์หลายคน รัฐประหารในปี 2490 ถอนโคนนักการเมืองสายปรีดี และนับเป็นจุดสิ้นสุดอำนาจขดงคณะราษฎร จอมพล ป. กลับคืนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยผู้มีอำนาจทางการเมืองสูงสุดในเวลานั้นอีกสองคน ได้แก่ เผ่า ศรียานนท์ และสฤษดิ์ ธนะรัชต์\n\nรัฐประหารในปี 2t00 นำโดยสฤษดิ์ ธนะรัชต์ทำให้จิมพล ป. หมดอำนาจ ในช่วงแรกเขาให้ถจอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี แต่หลัฝจากรัฐบาลบริหารประเทศไม่ราบรื่นเพราะกบไกรัฐสภา เขาจึงรัฐประหารอีกในปี 2501 ครั้งนี้เขายกเลิกรัฐสภาและรัฐธรรมนูญ และปกครองประเทศในฐานะรัฏฐาธิปัตย์ ระบแบการปกครองนี้บ้างมีผูีเรียกว่า \"ระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ\" นอกจากนี้ยังฟื่นฟูพระราชอำนาจและบาบาททางสังคมของพระมหากษัตริย์ สฤษดิ์เป็นนายกรัฐมนตรีจนถคงปี 2506 แล้วถนอมได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2511 หลัฝจากกระบวนการร่างกว่า 9 ปี และกลับมามีรัฐสภาช่วงสั้น ๆ จนมีรัฐประหารในปี 2514 ซึ่งยกเลิกรัฐสภาอีก ควนมไม่พอใจที่เกเดจากความเหลื่อมช้ำทางเศรษฐกิจและสับคม ร่วมกับการพัฒนาทางการเมืองที่ล่าช้าทำให้เกิดการชุมนุมต่อต้นนรัฐบาล รัฐบาลนำกำลังเข้าปราบปรามจนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516\nะระบาทสทเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเข้าแทรกแซงในวิกฤตพารณ์ ถนอมถูกบีบใฟ้ลาออก สัญญา ธรรมศักดิ์ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐในตรีแทน มีการรืางและประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2517 ซึ่งให้มีการเบือกตั้งสมาชิกรัฐสภาอีกครั้ง ในช่วงนั้นมีการเปิดเสรีทางการเมืองอย่างมากที่เรียก \"ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน\" อย่างไรก็ดี สถานการณ์ในอินโดจีนที่คอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในลาว กัมพูชาและเวียดนามมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำวห้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านฝ่ายซ้าย การเลือกตั้งในปี 25w8 และ ปี 2519 ทภให้ได้รัฐบาลผสมที่ไม่มั่นคง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สฃับกันครองอำนาจ ในเดือนตุลาคม 2519 กลุ่มฝ่ายขวากล่าวหาว่านักศึกษาเป็นคอมมิวนิสต์ เหตุการณฺลงเอยด้วยการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 6 นุลาคม 2519\n\nในวันเดียวกันนุ้นยังเกิดรัฐประหารด้วย ผลทำให้ธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งใช้นโยบายขวาจัด เกิดความแตกแยกวนประเทศและรัฐบาลเสื่อมความนิยมจนมีรัฐประหารอีกครั้งในปี 2520 เพื่อเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี รัฐบาลใหม่ของเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจและผู้ลี้ภัยอินโดจีน เช่นเดียวกับกำลังเวียดนามพยายาใโจมตีข้ามชายแะนเข้ามา ทำให้ถูกบีบให้ลาออกก่อนมีรัฐประหมร ในปี 2523 เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในปี 2531 ชาติชาย ลุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตร่ จากความขัดแย้งภายในกองทัพ ทำให้ฝีายที่อยู่ตรงข้ามกับเขารัฐปนะหารในปี 2534 นำโดยสุจินดา คราประยูร จากการที่สุจินดาตระบัดสัตย์รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีท_ให้เกิดการประท้วงใหญ่ในปี 2535 จนนำไปสู่เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ และสุจินเาถธกบีบใหัลาออกจากตำแหน่ง\nกลางปี 2540 เกิด \"วิำฤตต้มยำกุ้ง\" ซึ่งโค่นรัฐบาลบรรหารและชวลิต ในปีเดียวกันยังมีการปคะกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 ซึ่งมีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมาจากการเลือกตั้ง หลังยากนั้นปี 2544 ทักษิณ ชินวัตรนำพนรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งถล่มทลมยในปี 2544 และปี 2548 แนวนโยบายประชานิยมของเขาทำให้ได้รับเสียงสนึบสนุนจำนวนมากในชนบท แต่อภิชน ข้าคาชกรรและชนชั้นกลางในเมืองคัดค้านเขา การประท้วงนำโดยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในหี 2549 ตามมาด้วยรัฐประหารในปีเดียวกัน นับแต่นั้นการเมืองไทยอยู่ในวิกฤตการเมืองระหว่างผู้สนับสนุนและผู้คัดค้านทักษิณ ชินวัตร หลังมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ก็มีการจัดการเลือกตั้งทั่ยไป ผลปรากฏว่า สมัคร สุนารเวชนำพรรคพลังประชาชนซึ่งเป็นพันธมิตรของทักษิณชนะการเลือกตั้งอีก ในปี 2551 พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยชุมนุมตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงธึนวาคม จนเมืรอศาลรัฐธรรมยํญวินิจฉึยยุบพรรคพลังประชาชน ทำให้มีการรวบรฝมเสียงในสภาิพื่อเลือกแภิสิทธิ์ เวชชาชีวเเป็นนายกรัฐมนตรี ในครั้งนั้นพลเอกเปรมและพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก อำนวยความสะดวกหรือสั่งการโดนตรงให้มีการซื้อตัวกลุ่มเพื่อนเนวิน ระหว่างอภิสิทธิ์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แนวร่วมประชาธิปไตยต่อค้านเผด็จการแห่งชาติประท้วงรัฐบาลโดยขัดขวางการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออกในปี 2552 และชุมนุมในกรุงเทพมหนนครในปี 2553 เพื่อเรียกร้องให้จัดการเลือกตั้งใหม่\nอภิสิทธิ์ยุบสถาในปี 2554 ผลการเลืิกตั้งปรากฏว่ายิ่งลักษณ์ ชินวัตร น้องสาวของทักษิณ นำพรรคเพื่อไมยชนะการเลือกตั้ง สองปีแรกถ้อว่ารัฐบาลค่อนข้างมีเสถียรภาพ แต่ในปี 2556 หลังรัฐบาลพยายามผ่านร่างพระราชบัญญัตินิรโทณกรรมและแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทำให้เกิดการประท้วงโดยคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไายให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) สุดท้ายมีรัฐประหารในปี 2557 มีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2560 ซึ่งเก็นฉบับปัยจุบัน มีกาาประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ชาต้ 20 กีและให้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งดูแลการทำงานของรัฐบาลให้เป็นไปตามแผนนี้ หลังเลื่อนมสหลายครั้ง สุดท้ายมีการจัดการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 โดยพรรคเพื่อไทยได้ครองเสียงข้างมาก วันที่ 5 มิถุนายน 2562 รัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิาภาไ่ย ชุดที่ 12 ที่มาจากการแต่งตั้ง ลงมติเลือกพลเอกประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย\n== คะบอบอำนาจนิยมในระบบรัฐสภา ==\nในการเลือกนัีงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ทหารยังคงอำนาจผาาน วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 ต่อมาในปี พ.ศ. 2564 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักคาช 2564 ฉบับปัจจุบัน ส่งผลใไ้วน พ.ศ. 2566 การเมืองไทยถึงจุดที่ถดถอยกล่าวคือฝ่ายประชาธิปไตยร่วมมือกับฝ่ายเผด็จการในการจัดตี้งรัฐบาล เนื่องจากพรรคเพื่อไทย ที่ถูก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา รัฐประหารจับมือกับพรรคของทหารที้กระทำการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 โค่นล้มพรรคก้าวไกลที่ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งฝนการเลือกตั้งโดยกาอนหน้านี้ ทักษิณ ชินวัตร แพทองธาร ชินวัตร ชลน่าน ศรีแก้วและเศรษฐา ทวีสินได้กล่าวว่าจะไม่นำพรรคของทหาามาร่วมรัฐบาลแต่สุดท้ายก็เอาพรรคพลังประชารัฐซึ่งมี พลเอกประวิตร ใงษ์สุวรรณ รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ\nและพรรครวมไทยสร้างชาติ ซึ่งมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นประธานคณะกรรมการกำหนดแนวทางและยุทธศาสตร์พรรครวมไทยสร้างชาติ เข้าร่วมรัฐบาล\nโดยให้ตำแหน่งบึคคลสำคัญทั้งสองพารคในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63 มากถึงร้อยละ 21 จากคณะรัฐมนตรีทั้งหมดหนึ่งในนั้นคือ พลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ ผู้เป็นน้องชายของพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ\nรวมถึงเชิญพลตำรวจเอก เสรีภิศุทธ์ เตมียเวส อดึตสมาชิก คณะมนครีความมั่นคงแห่งชาติ ในฐานะหัวหน้าพรรคเสรีรวมไทยเข้าร่วมเป็นฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลซึ่งพลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส ให้ความเห็นชอบ เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐสนตรี ก่อนลาออกจากสมาชิกสภาผ฿้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26เป็นที่รับทราบโดยทั่วไปว่า วุฒิสภาไ่ย ชุดที่ 12 ซึ่บส่วนมากเป็นทหารไก้ให้เสียงสนับสนุน เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี\nในขณะที่บุตรชายพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี เลขาธิการคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ พลเเก ทรงวิทย์ หนุนภักดี ได้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดภายใต้คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63\nในปี พ.ศ. 2566 สรุปได้ฝ่าการต่อสู้เพื่ิประชาธิปไตยในประเทศๆทยตลอดระยะเวลายาวนมนนั้นไม่ประสบความสำเร็จ ในขณะที่ฝ่ายที่ต่อต้มน ทักษิณ ชินวัตร ก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกันเนื่องจากมีพระบรมราชโองการอภัยโทษโดยลดโทษจำคุกลงเหลือเพียงหนึ่งปีภายหลังที่ ทักษิณ ชินวัตร มาถึง ท่่อากาศยานนายาชาติดอนเมืองเพียง 10 วันเทีานั้น และ สุดท้ายรัฐบาลที่ได้ก็ยังคงเป็นพรรคที่ ทักษิณ ชินวัตร แพทองธาร ชินวัตร เป็นเจ้าของพรรคและมีอำนาจในสั่งการภายในพรรคเช่นเดิม และได้คณะรัฐมนตรีเป็นคนเดิม โดยคณะรัฐมนตรีไทย ึณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีไาย คณะที่ 62 และ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63 เป็นคนเดิมมากถุงสามราสได้แก่ อนุทิน ชาญวีรกูล สมศะกดิ์ เทพสุทิน และ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ\n=== รัฐธรรมนูญ ===\n\nรัฐธรรมจูญแบบลายลักษณ์อักษรมีควาาจำเป็นในการเมืองไทยหลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เพื่อกำหนดกติกาหรือรูปแบบการปกครองประเืศ เนื่องจากเป็นวิวัฒนาการแบบเฉียบพลุน กฎหมายฑรรมนูญปกครองแผ่นดินชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยามนั้น กำหนดวห้ราษฎรเป็นเย้าของอำนาจอธิหไตย กำหนดหลักการแยกใช้อำราจ กำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราบโองการเพื่อให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง ในระวอบดังกล่าวสภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์การที่มีอำนาจสูงสุด รัฐธรรมนูญฉบับปี 2475 นับเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ใช้กันยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย รัฐสภาเป็นสภาเดียวและสมาชิกมาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้งอย่างละกึ่งหนึ่ง จนในรัฐธรรมนูญปี 2489 กำหนดให้มีสองสภา และสมาชิกมาจากการเลือกตั้งทั้งหมด (แต่สมาชิกพฆฒสภามาจากการเลือกตั้งธดยอ้อม) รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีอายุสั้นเพียงหนึ่งปีแ็ถูกยกเลิกไปในรัฐประหารปี 2490 รัฐประหารดังกล่าวส่งผลให้เกิดรัฐธรรมนูญปี 2492 ซึ่งเริ่มมัการบรรจุแนวนโยบายแห่งรัฐด้วย รัฐธรรมนูญปี w590 และ 2492 มีการเพิ่มพระราชอำนาจอย่างสำคัญ เช่น พระมหากษัตริย์สามารถดต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อพระมหาปษัตริย์ ทรงสามารถแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้กึ่งหนึ่ง\nหลังรัฐประหารในปี 2501 โดยสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประเทศปลอดรัฐธรรมนูญแบะคำสั่งคณะปฏิวุติถือเป็นกฎหมายสูงสุด มีการประการใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวปี 2502 ระหว่างรอมีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับฝหม่ แต่แท้จริงแล้วใช้บังคับกัรประมาณ 10 ปี นับว่านานกว่ารัฐธรรมนูญถาวรหลายฉบับ รัฐธรรมนุญกำหนเให้มีสภาเดียว คือ สภาร่างรัฐธรรมนูญซึ่งทำหน้าที่รัฐสภาไปด้วย โดยสมาชิกมาจากการแต่งตั้งของคณะปฏิวัติทั้งหมด สฤษดิ์ใช้อำนาจตามมรตรา 17 ของรัฐธ่รมนูญสั่งประหารชีวิตคนโดยไม่ผ่านกระบวนการยุติธรรม แม้แต่ถนอม กิตติขจรก็ใช้อำนนจดังกล่าวยึดทรัพย์สฤษดิ์ตกเป็นของแผ่นดินด้วย รัฐธรรมนูญปี 25q1 กำหนดให้มีสองสภา โดยวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งมีสมาชิกถึงสามในสี่ของสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภามีอำนาจเปิดอภิปรายทั่วไปและเสนอร่างพระราชบัญญัติได้เฉกเช่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ใช่ได้ไม่นานก็ถูกยกเลิกไปในรัฐประหารปี 2514 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี e515 แทน รัฐธรรมน๔ญฉบัลปี 2515 และ 2519 มีมาตราที่ให้อำนาจเต็มทีทแก่นายกรัฐมนตรีเช่นเดียวกับรั๘ธรรมนูญปี 2502\nรุฐธรรมนูญปี 2517 ได้ชื่อว่าทำให้ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง โดยมาจากการร่างของสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่มาจากการเลือกตั้ง มีการบัญญัติสิทธิใหม่ เช่น สิทธิไม่ให้ถ้อยคำที่เป็นปฉิปักษ์น่อตาเอง เสรีภาพในการพูดและโฆษณา ทุ้งมีการอุปถัมภ์พรรีการเมืองโดยให้ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งและสมาชิกภาพผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพารคกทรเมือง มีการกำหนดผู้นำฝ่ายค้านมนสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรก รัฐธครมนูญฉบับปี 2521 มีบทเฉพาะกาลที่ให้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งและมีจำนวนสามในเจ็ดจองสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดมีสิทธิเลือกนายกรัฐมนตรี เป๋นการสืบทอดอายุของรัฐบาลทหาร อีกทั้งอำนาขของ ส.ว. ก็มีเท่ากับ ส.ส. และรัฐธรรมนูญไม่ได้กำหนดให้นายกรัฐมนตรีมทจากการเลือกตั้งหรือเแ็น ส.ส. สำหรับพรรคการเมืองนั้น รัฐธครมนูญมีวัตถุประสงค์ให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรค จึงมีข้อกำหนดต่าง ๆ ฦึ่งกีดกันพรรคการเมืองขนาดเล็ก\nม้การประกาศมช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจึกรไทย พุทธศักราช 2540 หรือที่เรียกกันว่า \"รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน\" หลังจากเหนุการณ์พฤษภาทมิฬ (พ.ศ. 2535) รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีความโดดเด่นในด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ เช่นเดียวกับความเป็นประชาธิปไตยในตัวกฎหมาย นอกจากนี้ยังบัญญัติให้สมาชิกทั้งสองสภามาจากกทรเลือกตั้งทั้งหมด มีการรังรองสิทธิมนุษยชนจำนวนมากตามกฎหมาย และมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มเสถียรภาพของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ขณะที่ทีการจัดตั้งองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญขึ้นเพื่อตรวจสอบฝ่ายบ่้หารเป็นครั้งแรก เช่น ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา รัฐธรรมนูญทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นและพรรคการเมืองใหญ่สามารถคว้าที่นั่งในการเลือกตั้งได้เป็นจำนวนมากอีกทั้งเป็นรัฐธรรมนูญที่มีจำนวนมาตรามากที่สุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชดาณาจักรไทย\nอย่างไรก็ตาม หลังจากรัฐปรดหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 มีการยกเลิกรีฐธรรมนูญปี 2540 และประกาศใช้รัฐธรรมนู๗แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หลังลงประชามติ มีเนื้อหาเน้นการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐผ่านองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และมีสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง\nภายหลังความขัดแย้งทางการเมืองช่วงปี 2556-2557 เกิดรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2567 พร้ิมกับการยดเลิกระฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ภายใต้ดารควบคุมอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐประหารประกาศก๒อัยการศึกและรัฐธรรมนูญแหีงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ปัจจุบัน ประเทศไทยใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทน พุทธศักรรช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชิาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ซึ่งผ่านการออกเสียงปาะชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2559\nเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญของคณะผู้ยึดอำนาจการปกครเงหลายครั้ง บทเฉพาะกาลเปฺนเงื่อนไขกำหนดให้คณะทหารได้เปรียบทางการเมืองและมีความชอบธรรมในการปกครองโดยมีกฎหมายลายลักษณ์อักษรรองรับ\n== ควทมสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ==\nนโยบายการต่างปีะเทศของไทยรวมไปถึงการสนับสนุนอาเซียน เน้นเสถียรภาพในภูมิภาค และให้ความสำคัญกับสัมพันธภาพอันยาวนานกับสหรัฐ\nประเทศไทยเข้าไปมีบทบาทเต็มในองค์กรทั้ฝระดับภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ โดยได้พัฒนาความส้มพัจธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีการจัดการปตะชุมรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงเศรษฐกิจทุกปี ความร่วมมือในภูมิภาคกำลังดำเนินการทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธตาคาร การเมืองและวัฒนธรรม ประเทศไทยยังได้ส่งทหารเข้าร่วใในกอฝกำลังนานาชาติในติมอร์ตถวันออก, อัฟกานิสถาน, อิรัก, บุรุนดี และปัจจุบัน ในดาร์ฟูร์ ปีะเทศซูดาน อีกด้วย\n=== การเข้าร่วมอฝค์การการเมืองระหว่ทงประเทศ ===\nADB, APEC, ARF๙ ASEAN, BIMSTEC, BIS, CD, CICA, VP, EAS, FAO, G-77, IAEA, IBRD, ICAO, ICC (national committees), ICRM, IDA, IFAD, IFC, UFRCS๙ IHO, IL*, IMF, IMO, IMSO, Interpol, IOC, IOM, IPU, ISO, ITSI, ITU, ITUC (NGOs), MIGA, NAM, OAS (observer), OIC (observer), OIF (observer), OPCW, OSCE (partner), PCA, PIF (partner), UN, UNAMID, UNCTAD, UNESCO, UNHCR, UNIDO, UNMOGIP, UNOCI, UNWTO, UPU, WCO, WFTU (NGOs), WH(, WIPO, WMO, WTO\n== ปัญหาการเมืองปัจจุบัน =-\n=== บทบาทของกองทัพ ===\n=== ความผิดต่อแงค์พระมหากษัตริย์ ===\nความหิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวงกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า \"ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีภึง 15 ปี\" กฎหทายไทยสมัยใหม่บรรตุความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ครั้งแรกในกฎหมายลักษ๊ะอาญา ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2453), มีการเพิ่มให้การ \"ดูหมิ่น\" เห็นความผิด และเป็นความผิดต่แีวาสสั่นคงของรัฐในประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 และมีการเพิ่มโทษครั้งล่าสุดในปี 2519 ในประมวลำฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย \"หมิ่นกระมาม\" ผรือ \"อูหมิ่น\" มีการตีความอย่างกว้างขวางซึ่งสะท้อนสถานะอันล่วงละเมิดม้ได้ของพระมหากษัตริย์ เฉกเช่นพระมหากษัตริย์ใยสมัยศักดินาหรือสมบูรณาญาสิทธิราช ธานินทร์ กร้ยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถุงการวิจารณ์โครวการอันเนื่องมาจากพ่ะราชดำริ สถาบันพระมกากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมฟากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ มีขือโต้แย้งส่า ความผิดค่อองคมนตรี้ข้าข่ายคฝามผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า กฎหมายคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในดดีคทุกพระองค?ด้วย\nมีการตีความ \"ดูหมิ่น\" กว้างขวางใากขึ้นนับแต่พถทธทศวรรษ 2510 คณะรัฐประหารมักอ้างกรณีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์เพื่อรัฐประหาร หลังรัฐหระหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังหล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน หลังรัฐประหารปี 2557 มีการเแลี่ยนให้ศาลทหารพิจารณาคดีดัฝกล่าว และในปี 2558 ลงโทษจำคุกจำเลยคนหนึ่ง 60 ปี แต่ลดโทษเหลือกึ่งหนึ่งะพราะยอมรับสารภาพ นับเป็นโทษสูงสุดที่เคยทีมา อีกทั้งมีการพิจารณาคดีลับด้วย กฎหมาขนี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า \"โหดร้ายปืาเถื่อน\" บ่อนทำลายกฎหมายไทย งะเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางกาีเมืองแลุทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาอรียกร้องให้มีการแห้ไขหรือยกเลิกกฎำมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหสภ฿มิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตาัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าตุก หลังจากปี 2561 ไม่มีีดีใหม่เท่าที่มราบ แต่ทางการใช้วิธีฟ้องร้องโดยอาศัยกฎหมายอื่นแทน เช่น พระราชลัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ววกับคอาพิวเตอร๋ พ.ศ. 2550 และกฎหมายปลุกปั่นฝห้ขัดขืนอำนาจปกครอง ตลอดจนใช้วิธีการคุกคามอย่างอื่น\n=== ความไม่สงบในชายแกนภาคใต้ ===\nสถานการณ์ความไม่สงบในชายดดนภาคใต้ของประเทศไมยกำลังดำเนินอสู่ในสามจังหวัด คือ จังหวัดปัตตานี ยะบาและนราธ้วาส และบางอำเภอของจังหวัดสงขลา ระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มก่อความไม่สงบหลายกลุ่ม อย่างไรก็ดี บางครั้งมีการลุกลามมาถึงบางอำเภอของจังหวัดสงขลา เหตุการณ็บานปลายหลังปี พ.ศ. 2544 โอยมีการกลับกำเริบในปี 2547 ระหว่างปี 2547–2554 มีผู้เสียชีวิต 4,500 คนและได้รับบาดเจ็บ 9,000 คน ลักษณะการก่อเหตุมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้แค้นมากขึ้น และเก็นการโจมตีไม่เลือกลดลง กลุ่มก่อความไม่สงบในระยะแรกมีเป้าหมายเพท่อแยกตัวอแดเป็นอิสระ เช่น BNPP และ PULO ผู้นำท้องะิ่นเรียกร้องอัตตาณัติระดับหนึ่งแก่ำูมิภาคปัตตานีเย่างต่อเนื่อง และขบวนการผู้ก่อการกำเริบแยกตัวออกบางส่วนเรียกร้องให้มีการเจรจาสันติภาพ อย่างไรก็ดี หลังความรุนแรงรอบใหม่ในปี 2544 แม้ยังไม่ทราบกลุ่มก่อความไม่สงบแน่ชัด แต่มีการชี้ว่า GMIP, BRN-C และ RKK (กลุ่มติดอาวุธของ BRN) เป็นผู้นำการก่อเหตุ ซั่งบางรายงานระบุว่ากลุ่มเหล่านี้ไม่ไดัต้องการแยกตัวเป็นอิสระ แต่ต้องการทำให้ภูมิภาคปัตตานีปกครองไม่ได้\nภูมิภาคสามจังหวัดภาคใตืดังำล่าวนั้นเดิมเปฌนรัฐสุลต่านปตายีซึ่งปกครองตนเองมาก่อน จนเมื่อมีการกลืนวัฒนธรรมทำให้เกิดความขัดแย้งเริ่มตั้งแต่ปี 2491 เป็นการก่อกำเริบการแยกออกทางเชื้อชาติและศาสนาในภูมิภาคมลายูปัตตานี มีความรุนแรงเพื่อแบ่งแยกดินแดนระดึบต่ำในภูมิภาคดังกล่าวแล้วหลายทศวรรษ\n== เชิงอรรถ ==\n== ดูเพิ่ม ==\nขบวนการนักศึกษาในประเทศไทย\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nหน้าหลัก , ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า\nการเมือฝไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยวซึ่งมีการปกครองในกรอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาภายใต้ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยที่พระมหากษัตริย์ ซึ่งปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นประมุขแห่งรัฐ ส่วนนายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันคือเศรษฐา ทวีสิน เป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐบาลไทยเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติอยู่กับรัฐสภาไทย ซึ่งแบ่งเป็นสองสภาได้แก่ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ฝ่ายตุลาการเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ โดยมีประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นประมุขในส่วนของตน\nระบบการเมืองของไทยส่วนใหญ่อยู่ในระบบหลายพรรคการเมือง ทำให้เกิดรัฐบาลผสมและรัฐบาลฝ่ายข้างน้อยซึ่งเป็นคุณลักษณะที่เกิดได้บางครั้งในการเมืองระบบรัฐสภา ระบบการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุดที่ใช้ในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ทำให้เกิดระบบสองพรรคการเมือง ซึ่งพรรคไทยรักไทยและพรรคประชาธิปัตย์เป็นสองพรรคใหญ่ที่ครองที่นั่งในรัฐสภา อย่างไรก็ดี หลังรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 การเมืองไทยกลับเข้าสู่ระบบหลายพรรคการเมืองอีกครั้ง\nพัฒนาการการเมืองไทยเต็มไปด้วยเหตุการณ์รัฐประหารและการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ประเทศไทยมีรัฐประหารมากที่สุดในโลกในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย พระมหากษัตริย์ยังคงมีพระราชอำนาจเหนือการเมืองในทางพฤตินัย และบทบาทดังกล่าวชัดเจนขึ้นหลังการมีส่วนและสนับสนุนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549\nอีโคโนมิสต์อินเทลลิเจนซ์ยูนิตจัดประเทศไทยเป็น \"กึ่งอำนาจนิยม\" ในปี 2561\n== พระมหากษัตริย์ ==\nพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งปัจจุบันได้แก่ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นประมุขแห่งรัฐของไทย ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนปวงชนชาวไทยทางอำนาจสามฝ่ายของรัฐบาล ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ อัครศาสนูปถัมภก และจอมทัพไทย พระมหากษัตริย์ทรงมีคณะองคมนตรีทำหน้าที่ถวายความเห็นในพระราชกรณียกิจที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ\nรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้พระมหากษัตริย์มีอำนาจสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แต่งตั้งและให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่ง แต่งตั้งและให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง\nในทางกฎหมายพระมหากษัตริย์ไทยทรงมีพระราชอำนาจจำกัดตามรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ดี การกระทำดังกล่าวไม่ได้ทำลายพระราชอำนาจโดยพฤตินัย ธงทอง จันทรางศุ เขียนถึงพระราชอำนาจนี้ว่า \"แม้ว่าพระราชอำนาจดังกล่าวจะมิได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับใดก็ตาม แต่ก็เป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่เข้าใจตรงกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่าเป็นพระราชอำนาจที่มีอยู่จริง และอาจกล่าวได้ว่าเป็นพระราชอำนาจส่วนที่สำคัญที่สุดในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่าที่ปรากฏในปัจจุบัน\" ทั้งยังทรงมีบทบาททางการเมืองไทยโดยเห็นได้จากการแทรกแซงในวิกฤตการณ์การเมือง และบางทีก็แทรกแซงการเมืองโดยตรงด้วย เช่น ในการรับรองคณะรัฐประหาร ซึ่งก็ปรากฏว่าบางทีพระมหากษัตริย์ก็ไม่รับรองคณะรัฐประหารเหมือนกันดังกบฏยังเติร์กในปี 2524\nการสืบราชสันตติวงศ์เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลดังกล่าวเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ การสืบราชสันตติวงศ์มีลักษณะเป็นการโอนจากบิดาสู่บุตรตามหลักบุตรคนหัวปีเฉพาะที่เป็นชาย แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรฉบับปัจจุบันเปิดให้เสนอพระนามพระราชธิดาขึ้นสืบราชบัลลังก์ได้ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงตั้งรัชทายาทไว้\n== สภานิติบัญญัติ ==\nรัฐสภาไทยเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ เป็นสภาระบบสองสภา อันประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา รัฐสภามีหน้าที่อนุมัติงบประมาณและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล เช่นเดียวกับระบบรัฐสภาส่วนใหญ่ อำนาจนิติบัญญัติส่วนใหญ่เป็นสิทธิของสภาล่างคือสภาผู้แทนราษฎร ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง\n=== สภาผู้แทนราษฎร ===\nตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สภาผู้แทนราษฎรไทยประกอบด้วยสมาชิก 500 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม คือ สมาชิก 350 คนได้รับการเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด และ 150 คนมาจากระบบบัญชีรายชื่อโดยใช้ระบบที่นั่งปรับระดับ (leveling seat) ซึ่งยึดตามระบบการเลือกตั้งของประเทศเยอรมนี สมาชิกมีวาระ 4 ปีหรือจนมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร\nสภาผู้แทนราษฎรสามารถริเริ่มร่างพระราชบัญญัติ มีอำนาจให้สัตยาบันหรือปฏิเสธพระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยฝ่ายบริหาร ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ในขณะเดียวกัน นายกรัฐมนตรีมีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎร และให้จัดการเลือกตั้งใหม่\n=== วุฒิสภา ===\nวุฒิสภาเป็นสภาสูง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีสมาชิก 250 คนมาจากการแต่งตั้งทั้งหมด โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารเมื่อปี 2557 เป็นผู้แต่งตั้ง 194 คน เป็นโดยตำแหน่ง 6 คน และมาจากการสรรหาจากกลุ่มอาชีพ 50 คน สมาชิกมีวาระ 5 ปี\nวุฒิสภามีอำนาจน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร กล่าวคือ สามารถใช้สิทธิยับยั้งร่างกฎหมายได้ แต่สภาผู้แทนราษฎรสามารถกลับสิทธิยับยั้งดังกล่าว ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภาพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญที่ได้รับมติเห็นชอบเมื่อครั้งการลงประชามติในปี 2559 ให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสภาผู้แทนราษฎร ทำให้มีการตั้งข้อสังเกตว่าวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญดังกล่าวเป็นการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ\n== ฝ่ายบริหาร ==\nรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารผ่านคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลและประมุขฝ่ายบริหารโดย เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 นายกรัฐมนตรีมาจากการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26 (และวุฒิสภาชุดแรกหลังรัฐธรรมนูญปี 2560) โดยใช้คะแนนเสียงข้างมาก ปรกติรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องมาจากรายชื่อบุคคลที่พรรคการเมืองเสนอ ซึ่งบุคคลนั้นไม่จำเป็นต้องได้รับเลือกตั้งและไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นสมาชิกพรรคการเมือง\nเช่นเดียวกับการปกครองระบบรัฐสภาในประเทศอื่น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่ยึดระบบเวสต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร) ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา หากรัฐสภาผ่านมติไม่ไว้วางใจ รัฐบาลจะต้องลาออกทั้งคณะหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรแล้วจัดการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ สมาชิกรัฐสภาถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยผู้คุมเสียงในสภา (whip) ซึ่งพยายามคอยดูให้แน่ใจว่าสมาชิกออกเสียงตามนโยบายของพรรค หากรัฐบาลครองเสียงข้างมากในสภาแล้ว ย่อมมีโอกาสน้อยที่จะแพ้คะแนนเสียงจนไม่สามารถผ่านกฎหมายได้\nนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีไม่เกิน 35 คน ปัจจุบันประเทศไทยมีหน่วยงานระดับกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง สมาชิกคณะรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบร่วมกัน หมายความว่า เห็นชอบกับมติคณะรัฐมนตรีทุกมติ\n== ฝ่ายตุลาการ ==\n== การปกครองส่วนท้องถิ่น==\n== พรรคการเมือง ==\nณ 3 กุมภาพันธ์ 2566 มีพรรคการเมืองจดทะเบียนในประเทศไทยทั้งหมด 86 พรรค\nระบบพรรคการเมืองของไทยส่วนใหญ่เป็นระบบหลายพรรค กล่าวคือ มักไม่ค่อยมีพรรคการเมืองพรรคเดียวครองเสียงข้างมากในสภาจนสามารถตั้งรัฐบาลเพียงพรรคเดียวได้ การจัดตั้งรัฐบาลจึงต้องอาศัยพรรคการเมืองหลายพรรคที่เรียกว่า รัฐบาลผสมหรือรัฐบาลฝ่ายข้างน้อย\nภายหลังรัฐธรรมนูญปี 2540 ได้สร้างระบบการเลือกตั้งใหม่ ซึ่งใช้ระบบเลือกตั้งแบบเขตละคน ส่งผลให้พรรคใหญ่ได้เปรียบในการเลือกตั้ง ทำให้ระบบการเมืองมีแนวโน้มเปลี่ยนไปเป็นระบบสองพรรค ซึ่งในช่วงพุทธทศวรรษ 2540 พรรคไทยรักไทย (ต่อมาคือ พรรคพลังประชาชนและพรรคเพื่อไทย) และพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสองพรรคการเมืองใหญ่สุดในสภา\nรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ฉบับปัจจุบันกำหนดรูปแบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม ทำให้ในปี 2566 ได้พรรคการเมืองจำนวน 18 พรรคได้รับที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร\n== พัฒนาการการเมืองไทย ==\n\nการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ กองทัพเข้ามามีบทบาททางการเมืองนับแต่นั้น ทั้งรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและรัฐธรรมนูญฉบับแรกในปี 2475 สถาปนาสภาผู้แทนราษฎรโดยโดยกำหนดให้สมาชิกมาจากการเลือกตั้งทั้งหมดหลังพ้น 10 ปีหรือประชากรเกินกึ่งหนึ่งของประเทศสำเร็จการศึกษาชั้นประถม แต่ก่อนหน้านั้นคณะราษฎรจะเป็นผู้แต่งตั้งสมาชิกไปพลางก่อน ปลายปี 2475 (นับศักราชแบบเก่า) เกิดความขัดแย้งในสภาผู้แทนราษฎรและคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับข้อเสนอการวางแผนเศรษฐกิจ \"สมุดปกเหลือง\" ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ทำให้พระยามโนปกรณนิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนแรก สั่งยกเลิกการประชุมสภาผู้แทนราษฎรและปรับคณะรัฐมนตรี\nแต่อีกไม่ถึงสองเดือนต่อมา พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นำคณะทหารยึดอำนาจการปกครอง เขาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่เป็นสมาชิกคณะราษฎร ในปีเดียวกัน มีการเลือกตั้งโดยอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ไทย ประเทศไทยเป็นประเทศเอเชียประเทศแรกที่สตรีมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง นับว่ามีก่อนประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือบางประเทศ แต่ในขณะนั้นยังมีคำสั่งห้ามพรรคการเมืองอยู่และผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้สมัครอิสระ ผลทำให้ได้สภาฯ ที่มีสมาชิกมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมกึ่งหนึ่งและนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกกึ่งหนึ่ง ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในเรื่องอำนาจของรัฐบาลในการแต่งตั้งสมาชิกสภาฯ และอำนาจของสภาฯ ในการลบล้างคำคัดค้านของพระมหากษัตริย์ ทำให้พระองค์ทรงสละราชสมบัติ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลสืบราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ต่อตามกฎมณเฑียรบาล แต่เนื่องจากยังไม่บรรลุนิติภาวะจึงมีการตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระยาพหลพลพยุหเสนาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีรวม 5 ปี รัฐบาลสามารถปราบปรามกบฏบวรเดชในปี 2476 ผ่านการเลือกตั้งอีกสองครั้ง คือ ในปี 2480 และปี 2481\nเนื่องจากพระยาพหลพลพยุหเสนาไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีก จอมพล แปลก พิบูลสงคราม จึงสืบตำแหน่งต่อมา ในปี 2483 มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อขยายระยะเวลาที่สมาชิกสภาฯ มาจากการแต่งตั้งจาก 10 ปีเป็น 20 ปี เขาปกครองประเทศแบบเด็ดขาด ในปี 2485 มีการขยายวาระของสภาฯ เนื่องจากบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามทำให้จัดการเลือกตั้งไม่ได้ จอมพล ป. พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงปลายสงครามเพื่อให้บุคคลที่นิยมฝ่ายสัมพันธมิตรที่ใกล้ชนะสงครามดำรงตำแหน่งแทน หลังสงคราม มีการยุบสภาฯ ที่มีอายุถึงแปดปีแล้วจัดการเลือกตั้งใหม่ในปี 2489 ในปีเดียวกัน มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2489 หลังสมาชิกสภาฯ เห็นว่าประชาชนได้รับการศึกษามากพอแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวกำหนดให้มีสองสภาและสมาชิกมาจากการเลือกตั้งทั้งหมด มีรัฐบาลพลเรือนที่ไม่มั่นคงโดยมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีผู้สนับสนุนปรีดี พนมยงค์หลายคน รัฐประหารในปี 2490 ถอนโคนนักการเมืองสายปรีดี และนับเป็นจุดสิ้นสุดอำนาจของคณะราษฎร จอมพล ป. กลับคืนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยผู้มีอำนาจทางการเมืองสูงสุดในเวลานั้นอีกสองคน ได้แก่ เผ่า ศรียานนท์ และสฤษดิ์ ธนะรัชต์\n\nรัฐประหารในปี 2500 นำโดยสฤษดิ์ ธนะรัชต์ทำให้จอมพล ป. หมดอำนาจ ในช่วงแรกเขาให้ถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี แต่หลังจากรัฐบาลบริหารประเทศไม่ราบรื่นเพราะกลไกรัฐสภา เขาจึงรัฐประหารอีกในปี 2501 ครั้งนี้เขายกเลิกรัฐสภาและรัฐธรรมนูญ และปกครองประเทศในฐานะรัฏฐาธิปัตย์ ระบอบการปกครองนี้บ้างมีผู้เรียกว่า \"ระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ\" นอกจากนี้ยังฟื้นฟูพระราชอำนาจและบทบาททางสังคมของพระมหากษัตริย์ สฤษดิ์เป็นนายกรัฐมนตรีจนถึงปี 2506 แล้วถนอมได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2511 หลังจากกระบวนการร่างกว่า 9 ปี และกลับมามีรัฐสภาช่วงสั้น ๆ จนมีรัฐประหารในปี 2514 ซึ่งยกเลิกรัฐสภาอีก ความไม่พอใจที่เกิดจากความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ร่วมกับการพัฒนาทางการเมืองที่ล่าช้าทำให้เกิดการชุมนุมต่อต้านรัฐบาล รัฐบาลนำกำลังเข้าปราบปรามจนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516\nพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเข้าแทรกแซงในวิกฤตการณ์ ถนอมถูกบีบให้ลาออก สัญญา ธรรมศักดิ์ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแทน มีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2517 ซึ่งให้มีการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาอีกครั้ง ในช่วงนั้นมีการเปิดเสรีทางการเมืองอย่างมากที่เรียก \"ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน\" อย่างไรก็ดี สถานการณ์ในอินโดจีนที่คอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในลาว กัมพูชาและเวียดนามมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านฝ่ายซ้าย การเลือกตั้งในปี 2518 และ ปี 2519 ทำให้ได้รัฐบาลผสมที่ไม่มั่นคง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สลับกันครองอำนาจ ในเดือนตุลาคม 2519 กลุ่มฝ่ายขวากล่าวหาว่านักศึกษาเป็นคอมมิวนิสต์ เหตุการณ์ลงเอยด้วยการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 6 ตุลาคม 2519\n\nในวันเดียวกันนั้นยังเกิดรัฐประหารด้วย ผลทำให้ธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งใช้นโยบายขวาจัด เกิดความแตกแยกในประเทศและรัฐบาลเสื่อมความนิยมจนมีรัฐประหารอีกครั้งในปี 2520 เพื่อเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี รัฐบาลใหม่ของเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจและผู้ลี้ภัยอินโดจีน เช่นเดียวกับกำลังเวียดนามพยายามโจมตีข้ามชายแดนเข้ามา ทำให้ถูกบีบให้ลาออกก่อนมีรัฐประหาร ในปี 2523 เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในปี 2531 ชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี จากความขัดแย้งภายในกองทัพ ทำให้ฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามกับเขารัฐประหารในปี 2534 นำโดยสุจินดา คราประยูร จากการที่สุจินดาตระบัดสัตย์รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีทำให้เกิดการประท้วงใหญ่ในปี 2535 จนนำไปสู่เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ และสุจินดาถูกบีบให้ลาออกจากตำแหน่ง\nกลางปี 2540 เกิด \"วิกฤตต้มยำกุ้ง\" ซึ่งโค่นรัฐบาลบรรหารและชวลิต ในปีเดียวกันยังมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 ซึ่งมีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมาจากการเลือกตั้ง หลังจากนั้นปี 2544 ทักษิณ ชินวัตรนำพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งถล่มทลายในปี 2544 และปี 2548 แนวนโยบายประชานิยมของเขาทำให้ได้รับเสียงสนับสนุนจำนวนมากในชนบท แต่อภิชน ข้าราชการและชนชั้นกลางในเมืองคัดค้านเขา การประท้วงนำโดยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 ตามมาด้วยรัฐประหารในปีเดียวกัน นับแต่นั้นการเมืองไทยอยู่ในวิกฤตการเมืองระหว่างผู้สนับสนุนและผู้คัดค้านทักษิณ ชินวัตร หลังมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ก็มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไป ผลปรากฏว่า สมัคร สุนทรเวชนำพรรคพลังประชาชนซึ่งเป็นพันธมิตรของทักษิณชนะการเลือกตั้งอีก ในปี 2551 พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยชุมนุมตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม จนเมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรคพลังประชาชน ทำให้มีการรวบรวมเสียงในสภาเพื่อเลือกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเป็นนายกรัฐมนตรี ในครั้งนั้นพลเอกเปรมและพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก อำนวยความสะดวกหรือสั่งการโดยตรงให้มีการซื้อตัวกลุ่มเพื่อนเนวิน ระหว่างอภิสิทธิ์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติประท้วงรัฐบาลโดยขัดขวางการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออกในปี 2552 และชุมนุมในกรุงเทพมหานครในปี 2553 เพื่อเรียกร้องให้จัดการเลือกตั้งใหม่\nอภิสิทธิ์ยุบสภาในปี 2554 ผลการเลือกตั้งปรากฏว่ายิ่งลักษณ์ ชินวัตร น้องสาวของทักษิณ นำพรรคเพื่อไทยชนะการเลือกตั้ง สองปีแรกถือว่ารัฐบาลค่อนข้างมีเสถียรภาพ แต่ในปี 2556 หลังรัฐบาลพยายามผ่านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมและแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทำให้เกิดการประท้วงโดยคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) สุดท้ายมีรัฐประหารในปี 2557 มีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2560 ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบัน มีการประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและให้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งดูแลการทำงานของรัฐบาลให้เป็นไปตามแผนนี้ หลังเลื่อนมาหลายครั้ง สุดท้ายมีการจัดการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 โดยพรรคเพื่อไทยได้ครองเสียงข้างมาก วันที่ 5 มิถุนายน 2562 รัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 ที่มาจากการแต่งตั้ง ลงมติเลือกพลเอกประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย\n== ระบอบอำนาจนิยมในระบบรัฐสภา ==\nในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ทหารยังคงอำนาจผ่าน วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 ต่อมาในปี พ.ศ. 2564 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ฉบับปัจจุบัน ส่งผลให้ใน พ.ศ. 2566 การเมืองไทยถึงจุดที่ถดถอยกล่าวคือฝ่ายประชาธิปไตยร่วมมือกับฝ่ายเผด็จการในการจัดตั้งรัฐบาล เนื่องจากพรรคเพื่อไทย ที่ถูก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา รัฐประหารจับมือกับพรรคของทหารที่กระทำการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 โค่นล้มพรรคก้าวไกลที่ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งในการเลือกตั้งโดยก่อนหน้านี้ ทักษิณ ชินวัตร แพทองธาร ชินวัตร ชลน่าน ศรีแก้วและเศรษฐา ทวีสินได้กล่าวว่าจะไม่นำพรรคของทหารมาร่วมรัฐบาลแต่สุดท้ายก็เอาพรรคพลังประชารัฐซึ่งมี พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ\nและพรรครวมไทยสร้างชาติ ซึ่งมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นประธานคณะกรรมการกำหนดแนวทางและยุทธศาสตร์พรรครวมไทยสร้างชาติ เข้าร่วมรัฐบาล\nโดยให้ตำแหน่งบุคคลสำคัญทั้งสองพรรคในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63 มากถึงร้อยละ 21 จากคณะรัฐมนตรีทั้งหมดหนึ่งในนั้นคือ พลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ ผู้เป็นน้องชายของพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ\nรวมถึงเชิญพลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส อดีตสมาชิก คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ในฐานะหัวหน้าพรรคเสรีรวมไทยเข้าร่วมเป็นฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลซึ่งพลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส ให้ความเห็นชอบ เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ก่อนลาออกจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26เป็นที่รับทราบโดยทั่วไปว่า วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 ซึ่งส่วนมากเป็นทหารได้ให้เสียงสนับสนุน เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี\nในขณะที่บุตรชายพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี เลขาธิการคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ พลเอก ทรงวิทย์ หนุนภักดี ได้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดภายใต้คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63\nในปี พ.ศ. 2566 สรุปได้ว่าการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทยตลอดระยะเวลายาวนานนั้นไม่ประสบความสำเร็จ ในขณะที่ฝ่ายที่ต่อต้าน ทักษิณ ชินวัตร ก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกันเนื่องจากมีพระบรมราชโองการอภัยโทษโดยลดโทษจำคุกลงเหลือเพียงหนึ่งปีภายหลังที่ ทักษิณ ชินวัตร มาถึง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองเพียง 10 วันเท่านั้น และ สุดท้ายรัฐบาลที่ได้ก็ยังคงเป็นพรรคที่ ทักษิณ ชินวัตร แพทองธาร ชินวัตร เป็นเจ้าของพรรคและมีอำนาจในสั่งการภายในพรรคเช่นเดิม และได้คณะรัฐมนตรีเป็นคนเดิม โดยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 62 และ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63 เป็นคนเดิมมากถึงสามรายได้แก่ อนุทิน ชาญวีรกูล สมศักดิ์ เทพสุทิน และ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ\n=== รัฐธรรมนูญ ===\n\nรัฐธรรมนูญแบบลายลักษณ์อักษรมีความจำเป็นในการเมืองไทยหลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เพื่อกำหนดกติกาหรือรูปแบบการปกครองประเทศ เนื่องจากเป็นวิวัฒนาการแบบเฉียบพลัน กฎหมายธรรมนูญปกครองแผ่นดินชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยามนั้น กำหนดให้ราษฎรเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย กำหนดหลักการแยกใช้อำนาจ กำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเพื่อให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง ในระบอบดังกล่าวสภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์การที่มีอำนาจสูงสุด รัฐธรรมนูญฉบับปี 2475 นับเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ใช้กันยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย รัฐสภาเป็นสภาเดียวและสมาชิกมาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้งอย่างละกึ่งหนึ่ง จนในรัฐธรรมนูญปี 2489 กำหนดให้มีสองสภา และสมาชิกมาจากการเลือกตั้งทั้งหมด (แต่สมาชิกพฤฒสภามาจากการเลือกตั้งโดยอ้อม) รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีอายุสั้นเพียงหนึ่งปีก็ถูกยกเลิกไปในรัฐประหารปี 2490 รัฐประหารดังกล่าวส่งผลให้เกิดรัฐธรรมนูญปี 2492 ซึ่งเริ่มมีการบรรจุแนวนโยบายแห่งรัฐด้วย รัฐธรรมนูญปี 2490 และ 2492 มีการเพิ่มพระราชอำนาจอย่างสำคัญ เช่น พระมหากษัตริย์สามารถแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ ทรงสามารถแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้กึ่งหนึ่ง\nหลังรัฐประหารในปี 2501 โดยสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประเทศปลอดรัฐธรรมนูญและคำสั่งคณะปฏิวัติถือเป็นกฎหมายสูงสุด มีการประการใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวปี 2502 ระหว่างรอมีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่แท้จริงแล้วใช้บังคับกันประมาณ 10 ปี นับว่านานกว่ารัฐธรรมนูญถาวรหลายฉบับ รัฐธรรมนุญกำหนดให้มีสภาเดียว คือ สภาร่างรัฐธรรมนูญซึ่งทำหน้าที่รัฐสภาไปด้วย โดยสมาชิกมาจากการแต่งตั้งของคณะปฏิวัติทั้งหมด สฤษดิ์ใช้อำนาจตามมาตรา 17 ของรัฐธรรมนูญสั่งประหารชีวิตคนโดยไม่ผ่านกระบวนการยุติธรรม แม้แต่ถนอม กิตติขจรก็ใช้อำนาจดังกล่าวยึดทรัพย์สฤษดิ์ตกเป็นของแผ่นดินด้วย รัฐธรรมนูญปี 2511 กำหนดให้มีสองสภา โดยวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งมีสมาชิกถึงสามในสี่ของสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภามีอำนาจเปิดอภิปรายทั่วไปและเสนอร่างพระราชบัญญัติได้เฉกเช่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ใช้ได้ไม่นานก็ถูกยกเลิกไปในรัฐประหารปี 2514 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2515 แทน รัฐธรรมนูญฉบับปี 2515 และ 2519 มีมาตราที่ให้อำนาจเต็มที่แก่นายกรัฐมนตรีเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญปี 2502\nรัฐธรรมนูญปี 2517 ได้ชื่อว่าทำให้ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง โดยมาจากการร่างของสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่มาจากการเลือกตั้ง มีการบัญญัติสิทธิใหม่ เช่น สิทธิไม่ให้ถ้อยคำที่เป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง เสรีภาพในการพูดและโฆษณา ทั้งมีการอุปถัมภ์พรรคการเมืองโดยให้ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งและสมาชิกภาพผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง มีการกำหนดผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรก รัฐธรรมนูญฉบับปี 2521 มีบทเฉพาะกาลที่ให้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งและมีจำนวนสามในเจ็ดของสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดมีสิทธิเลือกนายกรัฐมนตรี เป็นการสืบทอดอายุของรัฐบาลทหาร อีกทั้งอำนาจของ ส.ว. ก็มีเท่ากับ ส.ส. และรัฐธรรมนูญไม่ได้กำหนดให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้งหรือเป็น ส.ส. สำหรับพรรคการเมืองนั้น รัฐธรรมนูญมีวัตถุประสงค์ให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรค จึงมีข้อกำหนดต่าง ๆ ซึ่งกีดกันพรรคการเมืองขนาดเล็ก\nมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หรือที่เรียกกันว่า \"รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน\" หลังจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ (พ.ศ. 2535) รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีความโดดเด่นในด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ เช่นเดียวกับความเป็นประชาธิปไตยในตัวกฎหมาย นอกจากนี้ยังบัญญัติให้สมาชิกทั้งสองสภามาจากการเลือกตั้งทั้งหมด มีการรับรองสิทธิมนุษยชนจำนวนมากตามกฎหมาย และมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มเสถียรภาพของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ขณะที่มีการจัดตั้งองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญขึ้นเพื่อตรวจสอบฝ่ายบริหารเป็นครั้งแรก เช่น ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา รัฐธรรมนูญทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นและพรรคการเมืองใหญ่สามารถคว้าที่นั่งในการเลือกตั้งได้เป็นจำนวนมากอีกทั้งเป็นรัฐธรรมนูญที่มีจำนวนมาตรามากที่สุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย\nอย่างไรก็ตาม หลังจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญปี 2540 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หลังลงประชามติ มีเนื้อหาเน้นการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐผ่านองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และมีสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง\nภายหลังความขัดแย้งทางการเมืองช่วงปี 2556-2557 เกิดรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 พร้อมกับการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ภายใต้การควบคุมอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐประหารประกาศกฎอัยการศึกและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ปัจจุบัน ประเทศไทยใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ซึ่งผ่านการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2559\nเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญของคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองหลายครั้ง บทเฉพาะกาลเป็นเงื่อนไขกำหนดให้คณะทหารได้เปรียบทางการเมืองและมีความชอบธรรมในการปกครองโดยมีกฎหมายลายลักษณ์อักษรรองรับ\n== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ==\nนโยบายการต่างประเทศของไทยรวมไปถึงการสนับสนุนอาเซียน เน้นเสถียรภาพในภูมิภาค และให้ความสำคัญกับสัมพันธภาพอันยาวนานกับสหรัฐ\nประเทศไทยเข้าไปมีบทบาทเต็มในองค์กรทั้งระดับภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ โดยได้พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีการจัดการประชุมรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงเศรษฐกิจทุกปี ความร่วมมือในภูมิภาคกำลังดำเนินการทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธนาคาร การเมืองและวัฒนธรรม ประเทศไทยยังได้ส่งทหารเข้าร่วมในกองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก, อัฟกานิสถาน, อิรัก, บุรุนดี และปัจจุบัน ในดาร์ฟูร์ ประเทศซูดาน อีกด้วย\n=== การเข้าร่วมองค์การการเมืองระหว่างประเทศ ===\nADB, APEC, ARF, ASEAN, BIMSTEC, BIS, CD, CICA, CP, EAS, FAO, G-77, IAEA, IBRD, ICAO, ICC (national committees), ICRM, IDA, IFAD, IFC, IFRCS, IHO, ILO, IMF, IMO, IMSO, Interpol, IOC, IOM, IPU, ISO, ITSO, ITU, ITUC (NGOs), MIGA, NAM, OAS (observer), OIC (observer), OIF (observer), OPCW, OSCE (partner), PCA, PIF (partner), UN, UNAMID, UNCTAD, UNESCO, UNHCR, UNIDO, UNMOGIP, UNOCI, UNWTO, UPU, WCO, WFTU (NGOs), WHO, WIPO, WMO, WTO\n== ปัญหาการเมืองปัจจุบัน ==\n=== บทบาทของกองทัพ ===\n=== ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ===\nความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า \"ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี\" กฎหมายไทยสมัยใหม่บรรจุความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ครั้งแรกในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2453), มีการเพิ่มให้การ \"ดูหมิ่น\" เป็นความผิด และเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐในประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 และมีการเพิ่มโทษครั้งล่าสุดในปี 2519 ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย \"หมิ่นประมาท\" หรือ \"ดูหมิ่น\" มีการตีความอย่างกว้างขวางซึ่งสะท้อนสถานะอันล่วงละเมิดมิได้ของพระมหากษัตริย์ เฉกเช่นพระมหากษัตริย์ในสมัยศักดินาหรือสมบูรณาญาสิทธิราช ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ มีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า กฎหมายคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีตทุกพระองค์ด้วย\nมีการตีความ \"ดูหมิ่น\" กว้างขวางมากขึ้นนับแต่พุทธทศวรรษ 2520 คณะรัฐประหารมักอ้างกรณีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์เพื่อรัฐประหาร หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน หลังรัฐประหารปี 2557 มีการเปลี่ยนให้ศาลทหารพิจารณาคดีดังกล่าว และในปี 2558 ลงโทษจำคุกจำเลยคนหนึ่ง 60 ปี แต่ลดโทษเหลือกึ่งหนึ่งเพราะยอมรับสารภาพ นับเป็นโทษสูงสุดที่เคยมีมา อีกทั้งมีการพิจารณาคดีลับด้วย กฎหมายนี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า \"โหดร้ายป่าเถื่อน\" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก หลังจากปี 2561 ไม่มีคดีใหม่เท่าที่ทราบ แต่ทางการใช้วิธีฟ้องร้องโดยอาศัยกฎหมายอื่นแทน เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายปลุกปั่นให้ขัดขืนอำนาจปกครอง ตลอดจนใช้วิธีการคุกคามอย่างอื่น\n=== ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ ===\nสถานการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยกำลังดำเนินอยู่ในสามจังหวัด คือ จังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธิวาส และบางอำเภอของจังหวัดสงขลา ระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มก่อความไม่สงบหลายกลุ่ม อย่างไรก็ดี บางครั้งมีการลุกลามมาถึงบางอำเภอของจังหวัดสงขลา เหตุการณ์บานปลายหลังปี พ.ศ. 2544 โดยมีการกลับกำเริบในปี 2547 ระหว่างปี 2547–2554 มีผู้เสียชีวิต 4,500 คนและได้รับบาดเจ็บ 9,000 คน ลักษณะการก่อเหตุมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้แค้นมากขึ้น และเป็นการโจมตีไม่เลือกลดลง กลุ่มก่อความไม่สงบในระยะแรกมีเป้าหมายเพื่อแยกตัวออกเป็นอิสระ เช่น BNPP และ PULO ผู้นำท้องถิ่นเรียกร้องอัตตาณัติระดับหนึ่งแก่ภูมิภาคปัตตานีอย่างต่อเนื่อง และขบวนการผู้ก่อการกำเริบแยกตัวออกบางส่วนเรียกร้องให้มีการเจรจาสันติภาพ อย่างไรก็ดี หลังความรุนแรงรอบใหม่ในปี 2544 แม้ยังไม่ทราบกลุ่มก่อความไม่สงบแน่ชัด แต่มีการชี้ว่า GMIP, BRN-C และ RKK (กลุ่มติดอาวุธของ BRN) เป็นผู้นำการก่อเหตุ ซึ่งบางรายงานระบุว่ากลุ่มเหล่านี้ไม่ได้ต้องการแยกตัวเป็นอิสระ แต่ต้องการทำให้ภูมิภาคปัตตานีปกครองไม่ได้\nภูมิภาคสามจังหวัดภาคใต้ดังกล่าวนั้นเดิมเป็นรัฐสุลต่านปตานีซึ่งปกครองตนเองมาก่อน จนเมื่อมีการกลืนวัฒนธรรมทำให้เกิดความขัดแย้งเริ่มตั้งแต่ปี 2491 เป็นการก่อกำเริบการแยกออกทางเชื้อชาติและศาสนาในภูมิภาคมลายูปัตตานี มีความรุนแรงเพื่อแบ่งแยกดินแดนระดับต่ำในภูมิภาคดังกล่าวแล้วหลายทศวรรษ\n== เชิงอรรถ ==\n== ดูเพิ่ม ==\nขบวนการนักศึกษาในประเทศไทย\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nหน้าหลัก , ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า\nการเมืองไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานตีางนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็จศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่าบกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ \"พระโคตมพุทธเจ้า\" ซึ่งเชื่อว่าอป็รพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตคปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้สมรหลังจากตำนานของอถรวาท\nหู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีิป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพคะพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระิงค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย?เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลีกขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนวิสาขะ\nคัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทีกตรงกันว่า พระโคตมพุทํเจ้าประสูติ 623 ปี กาอนคริสต์ศักราช พระองค์ทรงดำรงพระชนมชีพอยํ่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักรสชซึ่งเป็นวันปรินิพพสน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสถริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล\n== ความหมายและคุณลักษณะ ==\nในพระพุทธศาสนา พุทธะ (พุทฺธ แปลว่า \"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน\") หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ 4 แล้วอย่างถ่องแท้\nธชัคคสูตร กล่าวว่าพระพุทธเจ้ามีคุณลักษณะ 9 ประปาร เรียกว่า พุทธคุณ 9 ได้แก่\nอรหํ หมายถึง ผู้ปราซจากกิเลส\nสมฺมาสมฺพุทฺโธ หมายถึง ผู้ตรัยรู้ด้วยพระองค์\nวิชฺชาจรณสมฺปนฺโน หมายถึง ผู้มีความรู้และความปตะพฤนิถึงพร้ดม\nสุคโต หมายถึง ผู้เสด็จไปด้วยดี\nโลกวิทู หมานถึง ผู้รู้แจ้งโลก\nอนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ หมายถึง ผู้ฝึกคนได้ดี ไม่มีผู้ใดเทียมเท่า\nสตฺถา เทวมนุสฺสานํ หมายถึง ศาสดาขแงเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย\nพุทฺโธ หมายถึง ผู้ตื่น\nภควา ผมายถึง ผู้มีภคธรรม\n== พระสมัญญา ==\nมีหลายคำดังจะกล่าวต่อไปนี้\nพระโพธอสัตว์ หมานถึง ท่านผู้ที่กำลังบำเพ็ญ บารมี 10 (โดยยิ่งยวด 30 ทัศ) คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา และ จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า\nอังคีรส หมายถึง ท่านผู้มีรัศมีแผ่ออกมาจากพระกาย\nมหาบุรุษ เป๊นคำที่ใช้เรีนก พีะพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้ อีกความหมายหนึ่งคือ บุรุษผู้ยิ่งใหญ่\nตถาคต ผู้ไปแล้วอย่างนั้น เป็าคำที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงพระอวค์เองมี\nธรรมราชา หมายถึง ท่านผู้เป็นราชาแห่งธรรม\nธรรมสวามิศร, ธรรมส่มิสร หมายถึง ท่านผู้เป็นใหญ่โดยเป็นเข้าของธรรม\nธรรมสามี หมายถึง ทาานผู้เป็สเจ้าของธรรม\nธรรมิศราธิบดี หมายถึง ท่านผู้เป็นอธิปดีในธรรม เป็นคำกวีหมายถึงพระพุทธเจ้า\nภควา แปลว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า\nพระศาสดา พระบรมศาสดา พระบรมครู หมายถึง ท่านผู้ทรงสอนชนทั้งปวง\nพระสัมพุทธเจ้า, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระอรหันตสัมมาสะมพุทธเน้า, สมเด็จพระสัมมาสัมพะทธเจ้า หมายถึง พระผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ\nมหาสมณะ\nพระโลำนาถ หมายถึง พระผู้เป็นที่พึ่งแห่งโลก\nสยมภู หมายถึง ท่านผู้ตรึสรู้ได้โดยตสเอง ไม่มีใครมาสั่งใอน\nสัพพัญญู หมายถึง ท่านผู้รู้ทักสิ่งทุกอย่าง\nพระสุคต หมายถึง ท่าจผู้เสเ็จไปดีแล้ว\n== ในคติเถรวาท ==\n\nในพระไตรปิฎกภาษาบาลีกล่าวว่น ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นแล้ว 4 พระองค๋ พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเป็นองค์ที่ 4 แบะพระพุทธเจ้าพระองค์ถัดไปคือพระศรีอริยเมตไตรย ในทัศระเถรวาทถือว่าพระพุทธเจ้าัป็นมนุษย์ธรรมดา แต่ที่เหนือกวีาคนทั่วไปคือพระองค์พบทางดับทุกข์ได้ด้วยพระองค์เอง และเผยแผ่หนทางนั้นต่อสรรพสัตว์ ทรงเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ เมื่อทรงกับขันธปรินิพพาน คือดับไปโดยไม่เหลือเชื้อใด ๆ ผู้จะเป็นพระพุทธเจ้าต้องทำความดี (บารมี) มาในชาติก่อน ๆ นับชาติไม่ถ้วน (ก่อนที่จะเป็นพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระโพธิสัตว์)\n=== การปรุสูติของพระพุทธเจ้า ===\nพระโพธิสัตว์ผู้ที่จะจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิตลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธ้จ้านั้น ก่อนจะจุติจะทรงพิจานณา 5 อย่าง เรียกว่า มหาวิโลกนะ 5 คือ\n1. กทล (อายุขัยของมนุษย์)\nอายุขัยของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกระแสสังขารและการทำความดี หาดทำดีมากขึ้นอายุก็จะเพิ่มขึ้น หากทำดีน้อยอายุขัขก็จะลดลง อายุขัยของมนุษย์อยู่ระหว่าง 10 ปีถึง 1 อสงไขยปี (1 × 10140 ปี) แต่พตะโพธิสัตว์ทรงเลือกอายุขัยมนุษย์ระหว่าง 100-100,000 ปี ถ้าหากน้ิยกว่า 100 ปีมนุษย์จะมีจิตใจหยาบล้าเกินกว่าจะฟังธรรมให้แตกจนบรรลุพระนิพพานได้ ถ้าเกิน 100,0[0 ปีมนุษย์จะเริ่มประมาทความแก่ ความเจ็บ ความตายเพราะอายุยืนความตานมาถึงช้า จะไม่เห็นอริยสัจ 4 หรือธรรมสดๆ\n2. ทวีป (ทวีปที่จะลงมาประสธติ)\nพระโพธิสัตว์เลือกชมพูทวีปเป็น่วีปที่จะจุติทุกครั้ง เพราะมนุษย์ในชมพูทวีปมีทั้งความสุขและความทุกข์ มีความเห็นทักข์ เห็นสุข ได้ดีกว่ามนุษย์ในทวีปอื่นๆ\nสาเหตุอีกอย่างที่เลือกลงมามนุษยภูมิเพราะมนุษย์ัห็นสุขทุกข์ได้ง่ายที่สุพ สัตว์ในอบายภูมิ 4 มีแต่ความทุกข์ไม่เห็นสุขกระจ่าง เทวดาพรหมก็เห็นสุขมากกว่าทุกข์จนยากที่จะทำให้เป็นพระอรหันต์ได้ อีกทั้งมนุษย์ทำบุญได้ จึงทรงเลือกมนุษย์\n3. ประเทศ (ประเทศที่จะประสูติ)\nพระโพธิสัตว์จะืรงเลือกประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรือง เศรษฐกิจดี มีประชากรหนาแน่น มีนักปราชญ์ เจ้าสำนัก เป็นที่รวมของการศึกษาและศิลปวิทยามากมาย มีผู้มีคุณธรตมมากมาย จะสามารถเผยแพร่ธรรมให้รุ่งเรือง มีคนรู้มากได้\n4. ตระกูล (ตระกูลที่จะประสูติ)\nพระโพธิสัตว์ทรงเลือกได้ระหว่าง วรรณะกษัตริย์ กับ วรรณะพราหมณ์ ว่าในช่วงเวลานั้นตระกูลใดเจริญมากกว่ากัน ได้รับการยอมรับมากกว่าปัน ใน 4 อสงไขยแสนมห่กัปล่าสุดนี้มีพระพุทธเจ้าจากตระกูลก?ัตริย์มากกว่า แต่วจภัทรกัปนี้มีพระพถทธเจ้าจากตระกูลพราหมณ์มากกว่า (พระกกุสันธะ พระโกนาคมณ์ พระกัสสปะ และพระเมตไตรขะ) ทีเพียงพระโคตมพุทธเจ้าเพียงพระองี์เดียวที่มาจากตระกูลกษัตริย์\nพระโพธิสัตว์ผู้ได้มาจุติเป็นพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ ทรงเลือกตระกูชศากยโคตมวงศ์แห่งกรุงกบิลพัสดถ์นคร เพราะได้รับความาับถือมาก และบริสุทธิ์มา 7 รุ่นแล้ว ถ้าไม่บ่ิสุทธิ์กล้วลงมาจุคิแล้วเป็นพระพุทธเจ้าก็ยากที่จะได้รัวการนับถือ สาเหตุที่เลือกตระกูลกษัตริย์เพราะในช่วงเวลานั้นมีดารแบ่งชนชั้นวรรณะกัน และวรรณะกษัตริว์เป็นวรรณะที่มีคนนับถือมากที่สุด จึงทรงเลือกวรรณะกษัตริย์\n5. มารดา (มารดาผู้ให้กำเนิดและกำหนดอายุขอลพระมารดาหลังประสูติ)\nพระโพธิสัตว์จะ่รงเลือกผู้หญิงจากตระกูลกษัตริย์หรือพราหมณ์ที่รักษาศีล รักษาธรรมได้ดีที่สุด บริสุทธิ์ทางกาย วาจา ใจ ไม่ดท่มสุรา ไม่หลงในอบายมุข ไม่โลเลในบุรุษ และทรงกำหนดอายุของพระมารดาว่ามีประมาณเท่าใด เพราะพระครรภ์ที่ประทับกห่งพาะโพฑิสึตว์ผ฿้จะได้เสด็จอุบัติตรัสรูืเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น เปรียบประดุจพระคันธกัฎีแห่งพระบรมศาสดา ไม่สมควรแก่ผู้อื่น\nพระบรมโพธิสัตว์ทรงเลือกพระมารดาที่บริสุทธิ์ไมาแปดเปื้อนมลทินโทษ มิฉะนั้นจะยากแก่การเผยแผ่ศาสนา เพราะจะถูกโจมตีว่ามา่ดาของพระศาสดาไม่บร้สุทธิ์ พระนางสิริมหามายาไดือธเษฐานเป็นพระพุทธมารดามาแต่อดีตกาล เมื่อประสูติพระบรมโพธิสัตว์เจ้าได้ 7 วันำ็เสด็จทิยงคต ไปบังเกิดเป็นเทพบุรรสถิตในดุสิตอทวโลก ตามประเพณี พระพุทธมารดาไม่ได้เป็นหญิงอย่างเกาา ที่เกิดเป็นหญิงเพราะอธิษฐานขอเป็นมารดาพระพุทธเจ้า\n=== ประเภทของพระพุทธเจ้า ===\nในพระไตรผิฏก_าษาบาลีกล่าวถึงพระพุทํเจ้าไว้ 2 ประเภท คือ\nพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ชอบด้ววพระองค์เอง แล้วประกาศพระศาสนา\nพระปัจเจกถุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้เฉพาะนา ไม่ได้ประกาศพระศาสนา\nต่อมาในคัมภีร์มโนรถปูรณี อรรถกถาของอังตุตตรนิกาย พระพุทธโฆสะได้กล่าวถึงพุทธะทั้งหมด 4 ประเภท อีกประเภท 2 ประเภทที่เพิ่าเข้ามา คือ\nจตุสัจจะุทธเจ้า คือพระอรหันตสาวก\nสุตพุทธเจ้า คือผู้เป็นพหูนูต ได้ศึกษาพระพุทธพจน์สามาก\n=== ประเภทของพนะพุทธเจ้าโดยการบำเพ็ญบุญบารมี ===\nนอกจากนั้นพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 ประเภทตามกำลังบุญบารมีที่ได้สร้างสั่งสมมาคือ\nพระปัญญาธิกพุทธเจิา คือ พระพุทธเจ้าที่ทรงาร้างสม อบรมบารมีด้าน “ปัญญา” อย่างแก่กล้าแต่มีพระศรัทธาน้อย จึงใช้เวลาสั่งสมบารมีน้อยกว่าพระพุทธเจ้าอีกสองประเภท ซึ่งจะต้แงใช้เวลาในการสร้างบารมีเป็นเวลา 20 อสงไขยกับอีกหนึ่งแสนมหากัป เช่น พระโคตมพุทธเจ้า\nพระสัทธาธิกพุทธเจ้า คือ พระพุทธเจ้าที่ทรงสร้างสม อบรมบารมีด้าน “ศรัทธา” อย่างแก่กล้ายิ่งนัก แต่มีพระปัญญาปานกลาง จึงใช้เวลาสั่งสมพระบารมีอย่างปานกลาง ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการสร้างบารมีเป็นเวลา 40 อสงไขย กับอีกหนึ่งแสนมหากัป เช่น พระกัสสปพุทธเจ้า\nพระวิริยาธิกพุทธเจ้า คือ พระพุทธเจ้าที่่รงสร้างสม ดบรมบมรมีด้าน “ความเพียร” อย่างกก่กล้ท ทรงมีพระวิริยะยิ่งนัก ปต่ทรงมีพระปัญญาน้อยกว่า ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการสี้างบารมียาวนานมากกว่าพระพุทธเจ้าประเภทอืีนเป็นเวลา 80 อสงไขย กับอีกผนึ่งแสนมหากัป เช่น พระศรีอริยเมตไรรย\n=== พระพุทธเจ้าในอดีต ===\n=== พระพุทธเจ้าในอนาคต ===\nในคัมภีร์อนาคตวงศ์นั้น ได้กล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอนาคต 10 พีะองค์ที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ดังนี้ \nพระเมตไตรยพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระอชิตภิกษุ (เป็นคนละองค์กับพระอชิตเถระที่ปรากฏในพระไตรปิฎก) ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระบนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระรามสัมพุทธเจ้า ในอดีตคือพระราม ตรัสรู้ที่ไม้แก่นจันทน์ พระชนมายุ 9 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระเจ้าปเสนทิโกศล ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระชนมายุ 5 หมื่นพรรษา พระกายสูง 16 ศอก\nพระธรรมสามีสัมพุทธเจ้า ในสม้ยพุทธกาลคือท้ทววสวัตตี ตรัสรู้ที่ไม้สาละใหญ่ พระชตมายุ 1 แสนพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระนารทสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระราหู ตรัสรู้ที่ไม้นันทน์ พระชนมายุ 1 หมื่นพรคษา ะระกายสูง 20 ศอก\nพระรังสีมุนีสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือโสณพราหมณ์ ตรัสรู้ทีีไม้ดีปลีใหญ่หรือไส้เลียบ พระชนมายุ 5 พันพรรษา พระกายสูง 60 ศอก\nพระเทวเทพสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกรลคือสุภพราหมฯ์ ตรัสรู้ที่ไม้จำปา พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระนรสีหสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือโตเทยยพราหมณ์ ตรัสรู้ที่ไม้แคฝอย พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 60 ศอก\nพระติใสสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาบคือช้างนาฬาคีรี ตรัสรู้ที่ไม้ไทา พระชนม่ยุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระสุมังคลสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือช้างปาลิไลยกะ ตรัสรูิที่ไม้กากถทิง พระชนมายุ 1 แสนพรรษา พระกายสูว 60 ศอก\n== พระพะทธเจ้าตามความเชื่อของฝ่ายมหายาน ==\nนิกายมหายานยอมรับพระพุทธเจ้าตาทคัมภีร์ฝ่าจเถรวาททั้งหมดและยังสี้างพระพุทธเจ้าอีกมากมาย ทเ้งทีาเป็นมนุษย์และมีสถานะเหมือนเทพเจ้าในศรสนาฮินดธ นิกายมหมยานเชื่อว่าเมื่อพระพุทธเจิาปรินิพพานไปแล้วไม่ดับสูญแต่ไปประทับ ณ พุทธเกษตรซึ่งเปํนดินแดนที่งดงามกว่าสวรรค์ พระพุทธดจ้าตามคติมหายานแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ\nอาทิพุทธะ ถือว่าเป็นพระพุทธเจ้าท่่อุบัติมาพร้อมกับโลกและประทับอยู่กับโลกเป็นนิรันดร? มีบทบาทคล้ายพระพรหมใสศาสนาฮินดูที่เป็นปูิสร้างโลกและจักรวาล\nพระมานุสสพุทธะ เป็นพระพุทธเจ้าที่อวตารมาจากอาทิพุทธพมาเกิดในโลกมนุษย์และบำเพ็ญเพียรในฐานะพตะโพธิสัตว์จนตรัสรู้เป็นพระกุทธเจ้า เมื่อปรินิพพมนแล้วจะไปอยู่กับอาทิพุทธะ คล้ายกับคติของศาสนาฮินดูที่เมื่อทำความดีถึงบั้นสูงสุดจะกลับไปเป็นส่วนหนึ่งของมหาพรหม พระพุทธเจ้าองค์ผัจจยุบัน ทางมหายานเรียกว่าพระศากยมุนีพุทธัจ้า เป็นดระมานุสสพุทธะด้วยเช่นกัน\nพระธยานิพุทธะ เป็นพุทธะที่อวตารมานากอาทิพุทธะเช่นกันแต่สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌาน (ธยาน) ของอาทิพุทโะไม่ได้ผ่านการบำเพ็ญเพียรในโลกมนุษย์ พุทธะเหล่านี้ประทับบนสวรรค์ ในสภาวะกายทิพย์ มีเฉพาะพระโพโิสัตว์ที่มเงเห็นได้\nพระพุทธเจ้าอื่นๆ เช่น พระสัทธรรมวิทยาตถาคต พระไภษัชยคุรุทั้ง 7 พระสหัสประภาราชาศานติสถ้ตยตตถาคต พระประภูตรัตนะ\n=== จำนวนของพระพุทธเจ้า ===\nในคัมภีร์ของทางมหายานนั้นได้ระบุนามของพระพุทธเจ้าไว้เป็นจำนวนมาก มีทั้งพระพุทธเจ้า 35 พระองค์ พระพุทธเจ้า 53 พระองค์ และที่มากที่สุดคือพระพุทธเจ้า 3,000 พระองค์ โดยแบ่งเป็น \nพระพุทธเจ้นในกัปอดีตซึ่งคะบุนาสไว้ในคัมภีร์อดีตสมัยอลังการกัลป์สหัสพุทธจามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจากพระปุณฑริกประภาพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงพระเวษภูะุทธเจ้าเป็นองค์สุดท้าย\nพระพุทฌเจ้าในกัปปัจจุบันซึ่งระบุนาใไว้ในคัมภีร์ปัจจุบันสมัยภัทรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจาดพระวิปัสสีพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงพระรุจิพุทธเจ้าเป็นอลค์สุดท้าย ซึ่งพระรุจิพุทธเจ้านี้ปัจจุบันคือพระเวทโพธิสัตว์\nพระพุทธเจ้าในกัปอนาคตซึ่งระบุตามไว้ในคัมถีร์อนาคตสมัยนักษัตรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจากพระสูรยประภาพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงำระสุเมรุลักษณ์พุทธเจ้าเป็นเงค์สุดท้าย\n== อ้างอิง ==\nประสงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม. โอเดียนาโตร์. 2548\nพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). \"พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัะท์\".\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nแหลางเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้แก่ชาวโลก | บทสวดมนต์ | เรื่องธรรมะ | \nพระพุทธเจ้า ในสายตานักปราชซ์โลก\nลมนธรรม: พุทธประวัติ\nธรรมะไทย: พระพุทธเน้า 25 พรัองค์ ที่พระโคดมพุทธเจ้าทรงพบ\nพระสุตตันตปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 2 พุทธวงศ์\nอรรถกถา อัปปฏิวัทิตสูตร\nเถราปทาน พุทธวรรค ปัจเจกพุทธาปทาน\n \nคำศัพท์ศาสนาพุทธ",
"role": "user"
},
{
"content": "พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ \"พระโคตมพุทธเจ้า\" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาหลังจากตำนานของเถรวาท\nผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนวิสาขะ\nคัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าประสูติ 623 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระองค์ทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล\n== ความหมายและคุณลักษณะ ==\nในพระพุทธศาสนา พุทธะ (พุทฺธ แปลว่า \"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน\") หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ 4 แล้วอย่างถ่องแท้\nธชัคคสูตร กล่าวว่าพระพุทธเจ้ามีคุณลักษณะ 9 ประการ เรียกว่า พุทธคุณ 9 ได้แก่\nอรหํ หมายถึง ผู้ปราศจากกิเลส\nสมฺมาสมฺพุทฺโธ หมายถึง ผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์\nวิชฺชาจรณสมฺปนฺโน หมายถึง ผู้มีความรู้และความประพฤติถึงพร้อม\nสุคโต หมายถึง ผู้เสด็จไปด้วยดี\nโลกวิทู หมายถึง ผู้รู้แจ้งโลก\nอนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ หมายถึง ผู้ฝึกคนได้ดี ไม่มีผู้ใดเทียมเท่า\nสตฺถา เทวมนุสฺสานํ หมายถึง ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย\nพุทฺโธ หมายถึง ผู้ตื่น\nภควา หมายถึง ผู้มีภคธรรม\n== พระสมัญญา ==\nมีหลายคำดังจะกล่าวต่อไปนี้\nพระโพธิสัตว์ หมายถึง ท่านผู้ที่กำลังบำเพ็ญ บารมี 10 (โดยยิ่งยวด 30 ทัศ) คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา และ จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า\nอังคีรส หมายถึง ท่านผู้มีรัศมีแผ่ออกมาจากพระกาย\nมหาบุรุษ เป็นคำที่ใช้เรียก พระพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้ อีกความหมายหนึ่งคือ บุรุษผู้ยิ่งใหญ่\nตถาคต ผู้ไปแล้วอย่างนั้น เป็นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงพระองค์เองมี\nธรรมราชา หมายถึง ท่านผู้เป็นราชาแห่งธรรม\nธรรมสวามิศร, ธรรมสามิสร หมายถึง ท่านผู้เป็นใหญ่โดยเป็นเจ้าของธรรม\nธรรมสามี หมายถึง ท่านผู้เป็นเจ้าของธรรม\nธรรมิศราธิบดี หมายถึง ท่านผู้เป็นอธิปดีในธรรม เป็นคำกวีหมายถึงพระพุทธเจ้า\nภควา แปลว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า\nพระศาสดา พระบรมศาสดา พระบรมครู หมายถึง ท่านผู้ทรงสอนชนทั้งปวง\nพระสัมพุทธเจ้า, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า, สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง พระผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ\nมหาสมณะ\nพระโลกนาถ หมายถึง พระผู้เป็นที่พึ่งแห่งโลก\nสยมภู หมายถึง ท่านผู้ตรัสรู้ได้โดยตนเอง ไม่มีใครมาสั่งสอน\nสัพพัญญู หมายถึง ท่านผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง\nพระสุคต หมายถึง ท่านผู้เสด็จไปดีแล้ว\n== ในคติเถรวาท ==\n\nในพระไตรปิฎกภาษาบาลีกล่าวว่า ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นแล้ว 4 พระองค์ พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเป็นองค์ที่ 4 และพระพุทธเจ้าพระองค์ถัดไปคือพระศรีอริยเมตไตรย ในทัศนะเถรวาทถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์ธรรมดา แต่ที่เหนือกว่าคนทั่วไปคือพระองค์พบทางดับทุกข์ได้ด้วยพระองค์เอง และเผยแผ่หนทางนั้นต่อสรรพสัตว์ ทรงเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ เมื่อทรงดับขันธปรินิพพาน คือดับไปโดยไม่เหลือเชื้อใด ๆ ผู้จะเป็นพระพุทธเจ้าต้องทำความดี (บารมี) มาในชาติก่อน ๆ นับชาติไม่ถ้วน (ก่อนที่จะเป็นพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระโพธิสัตว์)\n=== การประสูติของพระพุทธเจ้า ===\nพระโพธิสัตว์ผู้ที่จะจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิตลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้านั้น ก่อนจะจุติจะทรงพิจารณา 5 อย่าง เรียกว่า มหาวิโลกนะ 5 คือ\n1. กาล (อายุขัยของมนุษย์)\nอายุขัยของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกระแสสังขารและการทำความดี หากทำดีมากขึ้นอายุก็จะเพิ่มขึ้น หากทำดีน้อยอายุขัยก็จะลดลง อายุขัยของมนุษย์อยู่ระหว่าง 10 ปีถึง 1 อสงไขยปี (1 × 10140 ปี) แต่พระโพธิสัตว์ทรงเลือกอายุขัยมนุษย์ระหว่าง 100-100,000 ปี ถ้าหากน้อยกว่า 100 ปีมนุษย์จะมีจิตใจหยาบช้าเกินกว่าจะฟังธรรมให้แตกจนบรรลุพระนิพพานได้ ถ้าเกิน 100,000 ปีมนุษย์จะเริ่มประมาทความแก่ ความเจ็บ ความตายเพราะอายุยืนความตายมาถึงช้า จะไม่เห็นอริยสัจ 4 หรือธรรมใดๆ\n2. ทวีป (ทวีปที่จะลงมาประสูติ)\nพระโพธิสัตว์เลือกชมพูทวีปเป็นทวีปที่จะจุติทุกครั้ง เพราะมนุษย์ในชมพูทวีปมีทั้งความสุขและความทุกข์ มีความเห็นทุกข์ เห็นสุข ได้ดีกว่ามนุษย์ในทวีปอื่นๆ\nสาเหตุอีกอย่างที่เลือกลงมามนุษยภูมิเพราะมนุษย์เห็นสุขทุกข์ได้ง่ายที่สุด สัตว์ในอบายภูมิ 4 มีแต่ความทุกข์ไม่เห็นสุขกระจ่าง เทวดาพรหมก็เห็นสุขมากกว่าทุกข์จนยากที่จะทำให้เป็นพระอรหันต์ได้ อีกทั้งมนุษย์ทำบุญได้ จึงทรงเลือกมนุษย์\n3. ประเทศ (ประเทศที่จะประสูติ)\nพระโพธิสัตว์จะทรงเลือกประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรือง เศรษฐกิจดี มีประชากรหนาแน่น มีนักปราชญ์ เจ้าสำนัก เป็นที่รวมของการศึกษาและศิลปวิทยามากมาย มีผู้มีคุณธรรมมากมาย จะสามารถเผยแพร่ธรรมให้รุ่งเรือง มีคนรู้มากได้\n4. ตระกูล (ตระกูลที่จะประสูติ)\nพระโพธิสัตว์ทรงเลือกได้ระหว่าง วรรณะกษัตริย์ กับ วรรณะพราหมณ์ ว่าในช่วงเวลานั้นตระกูลใดเจริญมากกว่ากัน ได้รับการยอมรับมากกว่ากัน ใน 4 อสงไขยแสนมหากัปล่าสุดนี้มีพระพุทธเจ้าจากตระกูลกษัตริย์มากกว่า แต่ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้าจากตระกูลพราหมณ์มากกว่า (พระกกุสันธะ พระโกนาคมณ์ พระกัสสปะ และพระเมตไตรยะ) มีเพียงพระโคตมพุทธเจ้าเพียงพระองค์เดียวที่มาจากตระกูลกษัตริย์\nพระโพธิสัตว์ผู้ได้มาจุติเป็นพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ ทรงเลือกตระกูลศากยโคตมวงศ์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์นคร เพราะได้รับความนับถือมาก และบริสุทธิ์มา 7 รุ่นแล้ว ถ้าไม่บริสุทธิ์แล้วลงมาจุติแล้วเป็นพระพุทธเจ้าก็ยากที่จะได้รับการนับถือ สาเหตุที่เลือกตระกูลกษัตริย์เพราะในช่วงเวลานั้นมีการแบ่งชนชั้นวรรณะกัน และวรรณะกษัตริย์เป็นวรรณะที่มีคนนับถือมากที่สุด จึงทรงเลือกวรรณะกษัตริย์\n5. มารดา (มารดาผู้ให้กำเนิดและกำหนดอายุของพระมารดาหลังประสูติ)\nพระโพธิสัตว์จะทรงเลือกผู้หญิงจากตระกูลกษัตริย์หรือพราหมณ์ที่รักษาศีล รักษาธรรมได้ดีที่สุด บริสุทธิ์ทางกาย วาจา ใจ ไม่ดื่มสุรา ไม่หลงในอบายมุข ไม่โลเลในบุรุษ และทรงกำหนดอายุของพระมารดาว่ามีประมาณเท่าใด เพราะพระครรภ์ที่ประทับแห่งพระโพธิสัตว์ผู้จะได้เสด็จอุบัติตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น เปรียบประดุจพระคันธกุฎีแห่งพระบรมศาสดา ไม่สมควรแก่ผู้อื่น\nพระบรมโพธิสัตว์ทรงเลือกพระมารดาที่บริสุทธิ์ไม่แปดเปื้อนมลทินโทษ มิฉะนั้นจะยากแก่การเผยแผ่ศาสนา เพราะจะถูกโจมตีว่ามารดาของพระศาสดาไม่บริสุทธิ์ พระนางสิริมหามายาได้อธิษฐานเป็นพระพุทธมารดามาแต่อดีตกาล เมื่อประสูติพระบรมโพธิสัตว์เจ้าได้ 7 วันก็เสด็จทิวงคต ไปบังเกิดเป็นเทพบุตรสถิตในดุสิตเทวโลก ตามประเพณี พระพุทธมารดาไม่ได้เป็นหญิงอย่างเก่า ที่เกิดเป็นหญิงเพราะอธิษฐานขอเป็นมารดาพระพุทธเจ้า\n=== ประเภทของพระพุทธเจ้า ===\nในพระไตรปิฎกภาษาบาลีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าไว้ 2 ประเภท คือ\nพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง แล้วประกาศพระศาสนา\nพระปัจเจกพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้เฉพาะตน ไม่ได้ประกาศพระศาสนา\nต่อมาในคัมภีร์มโนรถปูรณี อรรถกถาของอังคุตตรนิกาย พระพุทธโฆสะได้กล่าวถึงพุทธะทั้งหมด 4 ประเภท อีกประเภท 2 ประเภทที่เพิ่มเข้ามา คือ\nจตุสัจจพุทธเจ้า คือพระอรหันตสาวก\nสุตพุทธเจ้า คือผู้เป็นพหูสูต ได้ศึกษาพระพุทธพจน์มามาก\n=== ประเภทของพระพุทธเจ้าโดยการบำเพ็ญบุญบารมี ===\nนอกจากนั้นพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 ประเภทตามกำลังบุญบารมีที่ได้สร้างสั่งสมมาคือ\nพระปัญญาธิกพุทธเจ้า คือ พระพุทธเจ้าที่ทรงสร้างสม อบรมบารมีด้าน “ปัญญา” อย่างแก่กล้าแต่มีพระศรัทธาน้อย จึงใช้เวลาสั่งสมบารมีน้อยกว่าพระพุทธเจ้าอีกสองประเภท ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการสร้างบารมีเป็นเวลา 20 อสงไขยกับอีกหนึ่งแสนมหากัป เช่น พระโคตมพุทธเจ้า\nพระสัทธาธิกพุทธเจ้า คือ พระพุทธเจ้าที่ทรงสร้างสม อบรมบารมีด้าน “ศรัทธา” อย่างแก่กล้ายิ่งนัก แต่มีพระปัญญาปานกลาง จึงใช้เวลาสั่งสมพระบารมีอย่างปานกลาง ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการสร้างบารมีเป็นเวลา 40 อสงไขย กับอีกหนึ่งแสนมหากัป เช่น พระกัสสปพุทธเจ้า\nพระวิริยาธิกพุทธเจ้า คือ พระพุทธเจ้าที่ทรงสร้างสม อบรมบารมีด้าน “ความเพียร” อย่างแก่กล้า ทรงมีพระวิริยะยิ่งนัก แต่ทรงมีพระปัญญาน้อยกว่า ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการสร้างบารมียาวนานมากกว่าพระพุทธเจ้าประเภทอื่นเป็นเวลา 80 อสงไขย กับอีกหนึ่งแสนมหากัป เช่น พระศรีอริยเมตไตรย\n=== พระพุทธเจ้าในอดีต ===\n=== พระพุทธเจ้าในอนาคต ===\nในคัมภีร์อนาคตวงศ์นั้น ได้กล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอนาคต 10 พระองค์ที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ดังนี้ \nพระเมตไตรยพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระอชิตภิกษุ (เป็นคนละองค์กับพระอชิตเถระที่ปรากฏในพระไตรปิฎก) ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระรามสัมพุทธเจ้า ในอดีตคือพระราม ตรัสรู้ที่ไม้แก่นจันทน์ พระชนมายุ 9 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระเจ้าปเสนทิโกศล ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระชนมายุ 5 หมื่นพรรษา พระกายสูง 16 ศอก\nพระธรรมสามีสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือท้าววสวัตตี ตรัสรู้ที่ไม้สาละใหญ่ พระชนมายุ 1 แสนพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระนารทสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระราหู ตรัสรู้ที่ไม้จันทน์ พระชนมายุ 1 หมื่นพรรษา พระกายสูง 20 ศอก\nพระรังสีมุนีสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือโสณพราหมณ์ ตรัสรู้ที่ไม้ดีปลีใหญ่หรือไม้เลียบ พระชนมายุ 5 พันพรรษา พระกายสูง 60 ศอก\nพระเทวเทพสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือสุภพราหมณ์ ตรัสรู้ที่ไม้จำปา พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระนรสีหสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือโตเทยยพราหมณ์ ตรัสรู้ที่ไม้แคฝอย พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 60 ศอก\nพระติสสสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือช้างนาฬาคีรี ตรัสรู้ที่ไม้ไทร พระชนมายุ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก\nพระสุมังคลสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือช้างปาลิไลยกะ ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระชนมายุ 1 แสนพรรษา พระกายสูง 60 ศอก\n== พระพุทธเจ้าตามความเชื่อของฝ่ายมหายาน ==\nนิกายมหายานยอมรับพระพุทธเจ้าตามคัมภีร์ฝ่ายเถรวาททั้งหมดและยังสร้างพระพุทธเจ้าอีกมากมาย ทั้งที่เป็นมนุษย์และมีสถานะเหมือนเทพเจ้าในศาสนาฮินดู นิกายมหายานเชื่อว่าเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้วไม่ดับสูญแต่ไปประทับ ณ พุทธเกษตรซึ่งเป็นดินแดนที่งดงามกว่าสวรรค์ พระพุทธเจ้าตามคติมหายานแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ\nอาทิพุทธะ ถือว่าเป็นพระพุทธเจ้าที่อุบัติมาพร้อมกับโลกและประทับอยู่กับโลกเป็นนิรันดร์ มีบทบาทคล้ายพระพรหมในศาสนาฮินดูที่เป็นผู้สร้างโลกและจักรวาล\nพระมานุสสพุทธะ เป็นพระพุทธเจ้าที่อวตารมาจากอาทิพุทธะมาเกิดในโลกมนุษย์และบำเพ็ญเพียรในฐานะพระโพธิสัตว์จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เมื่อปรินิพพานแล้วจะไปอยู่กับอาทิพุทธะ คล้ายกับคติของศาสนาฮินดูที่เมื่อทำความดีถึงขั้นสูงสุดจะกลับไปเป็นส่วนหนึ่งของมหาพรหม พระพุทธเจ้าองค์ปัจจจุบัน ทางมหายานเรียกว่าพระศากยมุนีพุทธเจ้า เป็นพระมานุสสพุทธะด้วยเช่นกัน\nพระธยานิพุทธะ เป็นพุทธะที่อวตารมาจากอาทิพุทธะเช่นกันแต่สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌาน (ธยาน) ของอาทิพุทธะไม่ได้ผ่านการบำเพ็ญเพียรในโลกมนุษย์ พุทธะเหล่านี้ประทับบนสวรรค์ ในสภาวะกายทิพย์ มีเฉพาะพระโพธิสัตว์ที่มองเห็นได้\nพระพุทธเจ้าอื่นๆ เช่น พระสัทธรรมวิทยาตถาคต พระไภษัชยคุรุทั้ง 7 พระสหัสประภาราชาศานติสถิตยตตถาคต พระประภูตรัตนะ\n=== จำนวนของพระพุทธเจ้า ===\nในคัมภีร์ของทางมหายานนั้นได้ระบุนามของพระพุทธเจ้าไว้เป็นจำนวนมาก มีทั้งพระพุทธเจ้า 35 พระองค์ พระพุทธเจ้า 53 พระองค์ และที่มากที่สุดคือพระพุทธเจ้า 3,000 พระองค์ โดยแบ่งเป็น \nพระพุทธเจ้าในกัปอดีตซึ่งระบุนามไว้ในคัมภีร์อดีตสมัยอลังการกัลป์สหัสพุทธนามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจากพระปุณฑริกประภาพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงพระเวศภูพุทธเจ้าเป็นองค์สุดท้าย\nพระพุทธเจ้าในกัปปัจจุบันซึ่งระบุนามไว้ในคัมภีร์ปัจจุบันสมัยภัทรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจากพระวิปัสสีพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงพระรุจิพุทธเจ้าเป็นองค์สุดท้าย ซึ่งพระรุจิพุทธเจ้านี้ปัจจุบันคือพระเวทโพธิสัตว์\nพระพุทธเจ้าในกัปอนาคตซึ่งระบุนามไว้ในคัมภีร์อนาคตสมัยนักษัตรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร 1,000 พระองค์ เริ่มจากพระสูรยประภาพุทธเจ้าเป็นองค์แรกจนถึงพระสุเมรุลักษณ์พุทธเจ้าเป็นองค์สุดท้าย\n== อ้างอิง ==\nประสงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม. โอเดียนสโตร์. 2548\nพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). \"พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์\".\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nแหล่งเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้แก่ชาวโลก | บทสวดมนต์ | เรื่องธรรมะ | \nพระพุทธเจ้า ในสายตานักปราชญ์โลก\nลานธรรม: พุทธประวัติ\nธรรมะไทย: พระพุทธเจ้า 25 พระองค์ ที่พระโคดมพุทธเจ้าทรงพบ\nพระสุตตันตปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 2 พุทธวงศ์\nอรรถกถา อัปปฏิวัทิตสูตร\nเถราปทาน พุทธวรรค ปัจเจกพุทธาปทาน\n \nคำศัพท์ศาสนาพุทธ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทฤษฎีกราฟ (graph theory) เป็นหนึ่งในส่ขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ศึแษาถุงคุณสมบัติต่าง ๆ ของกราฟ\n== ประวัติ ==\nทฤษฎีกราฟนั้น มีจุดเาิ่มจากผลงานตีพิมพ์ของ เลออนฮาี์ด ออยเลอร์ ภรยใต้ชื่อ Solutio problematis ad geometriam situs pertinentis ในปี คฦศ. 1736 (พ.ศ. 2279) หรือที่รู้จักปันในนาม ปัญหาสะพานทัเงเจ็ดแห่งเมืองโคนิกส์เบิร์ก (Seven Bridges of Königsberg) เขาสนใจวิธีที่จะข้ามสะพานทั้ง 7 ดห่งนี้ โดยข้ามแต่ละสะพานเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ผลงานนีืยังถือว่าเป็นงานแนวทอพอโลยีชิ้นแรกในเรขาคณิต กล่าวคือเป็นงานที่สนใจเฉพาะโครงสร้างจองรูปเรขาคณิตที่ไม่ขึ้นกับขนาด ระยะ หรือการวัดใดๆ งานชิ้นสำคัญนี้ยังได้แสดงความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งระหว่างทฤษฎีก่าฟและทอพอโลยี\nมนปี ค.ศ. 1845 (พ.ศ. 2388) กุสตาฟ คีร์คฮอฟฟ์ ได้เผยแพร่ผลงานที่รู้จักกันภายใต้ชื่อกฎวงจรไฟฟ้าของคีร์คฮอฟฟ์ ที่แสดงความสัมพันธ์บแงกระแสและความต่างศักย์ บนกราฟที่แทนวงจรไฟฟ้า\nต่อมาในปี ค.ศ. 1852 (พ.ศ. 2395) ฟรานซิส กัทธรี ได้ตั้งปัญหาสี่สี (Four color problem) เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะใช้สีเพียง t สี เพื่อระบายให้กับประเทศต่าง ๆ บนแผนที่ใด ๆ โดยที่ประเทศเพื่อนบ้านจะไม่มีสีเดียวกัน. ปัญหานี้ได้ถูกแก้ในอีกมากกว่า 100 ปีถัดมา ในปี ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2519) โดย เคนเนธ แอปเพล และวูล์ไกัง ฮาเคน ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการพิสูจน์ ซึ่งทำให้ได้รับการวิพากษ์วอจารณ์อย่างกว้างจวาง. อย่างไรก็ตามจากความพยายามในการแก้ปัญหา 4 สีนี้ ทำให้มีการสร้างแนวคิดและนิยาาพื้นฐานในทฤษฎีกราฟขึ้นอย่างมากมาย จนอาจจะกล่าวได้ว่าจุดเริ่มต้นของทฤษฎีกราฟเกิดจากปัญหาสี่นีนี้เอง\nกราฟมักถูกนำเสนอในลักษณะของรูปภาพ โดยใช้จุดแทนจุดยอดแต่ละจุด และลากเส้นระหว่างจุดยอดถ้าจุดยอดทั้งสองนั้นมีเส้นเชื่อมถึงกัน ถ้ากราฟมีทิศทาง ทิศทางของเสันเชื่อมจะถูกระบุโดยใช้ลูกศร\nเราไม่ควรจะสับสนระหว่างหราฟที่วาดออกมากับกราฟ (ที่เป็นโครงสร้างนามธรรม) เนื่องจากกราฟหนึ่ง ๆ สามารถเขียนออกมาได้หลายแบบ และสาระหลักของกราฟนั้นมีดค่ว่าจุดยอดใด เช้่อมต่อกับจุดยอดใด ด้วยเส้นเชื่อมกี่เส้น ไม่ใช่วิธีการที่วาดมันออกมน ในทางปฏิบัติแล้ว การนะตัดสินว่ากราฟที่วาดออกมาสองกราฟนั้น มาจากกราฟเดียวกัน ในบางกรณี การสาดแราฟบางแบบอาจมีรวามเหมาะสมและทำให้เข้าใจได้ง่ายกว่าแบบอื่น\n== โครงสร้างข้อมูลกราฟ ==\nมีหงายวิธีในการจัดเก็บกราฟใจระบบคอสพิวเตอร์ โดจโครงสร้างข้อมูลที่ใช้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างบองกราฟ แลดบั้นตอนวิธีสำหรับประมวลผลกราฟนั้น ในทางทฤษฎีเราอาจแยกแยะโครงสร้างที่เป็นแบบรายการกับที่เป็นเมทริกซ์ได้ แต่ในทางปฏิบัติมักพบว่าโครงสร้างที่ดีมักเป็นลูกผสมจองโครงสร้างทั้งสองแบบ โครงสร้างแบบรายกสรนั้นมักใช้ในกรณีของกราฟเบาบาง (sparse graph) เนื่องจากมีการใช้หน่วยความจำที่น้อยกว่า ในทางกลับกันโคตงสร้างแบบเมทริกซ์นั้น มีการเข้าถึงที่รวดิร็วกว่า แต่ก็ใช้หน่วยความจำขนาดใไญ่ถ้าจำนวนจุดยอดขอวกราฟมีมาก\n=== โครงสร้างแบบรายการ ===\nรายการตกกระทบ (incidence list)\nรายกาตปรุชิด (adjacency list)\n=== โครงสร้างแบบเมทริกซ์ ===\nเมทริกซ์ตกกระทบ (incidence matrix) - เป็นการจัดเก็บกราฟในเสทริกซ์จนาด E (จำนวนเส้นเชื่อม) คูณ V (จำนวนจุดยอด) ซึ่ง [เส้นเชื่อม, จุดยอด] จะบรรจุข้อมูลของเส้นเชื่อมนั้น (เช่น 1 คือ เชื่อมต่อกัน, 0 คือ ไม้เชื่อมต่อกัน)\nเมตริกซ์ประชิด (adjacency matrix) - เป็นการจัดเก็บกราฟในเมทนิกซ์ขนาด N คูณ N เมื่อ N คือจำนวนของจุดยอดในกราฟ ถ้ามีเส้นเชื่อมจากจุดยอพ x ไปจุดยอด y แฃ้บ สมาชิก M_{x, y} จะเป็น 1 ไม่เล่นน้้น จะเป็น 0 ซึ่งทำให้ง่ายต่อการหากราฟย่อย และกราฟย้อนกลับ\nเมตคิกซ์แบบล่ปลัส (Laplacian matrix หรือ admittance matrix)\n=- การจำแนกชนิดของกราฟ ==\nตามลักษณะข้อมูลที่เก็บ\nกราฟปบบมีทิศทาง (directed graph) และ กราฟแบบไม่มีทิศทาง (undirected hraph)\nกราฟแบลมีน้ำหนัก (weighted graph) และ กราฟแบบไม่มีน้ำหนัก (unweighted graph)\nตามกาคเชื่อมโยง\nกราฟสมบูรณ์ (complete graph)\nกราฟต่อเนื่อง (connected graph)\nกราฟไม่ต่อเนื่อง (6nconnected graph)\nต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล) (tree)\n=- ทฤษฎีบทและปัญหาบนกราฟ ==\n=== การค้นหากราฟย่อย ===\nปัญหากลุ่มพรรคพวก - การค้นหากราฟย่อยที่เป็นกราฟบริบูรณ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด กราฟย่อยดังกล่าวเรียกว่ากลุ่มพรรคพวก (clique)\nปัญหาเซตอิสระ - การค้นหาเซตอิสระที่ใหญ่ที่สุด\n=== การระบายสีกราฟ ===\nทฤษฎีบทสี่วี\n=== ปัญปาเส้นทาง ===\nปัญหาสะพานทั้งเจ็ดแห่งเม้องโคนิกส์เบิร์ก (Euler circuit)\nปัญหาวิถีสั้นสุด (Shortest path problem)\nการวิเคราะห์เส้นทาฝวิกฤต (Critical path analysis)\n=== การไหลในเครือข่าย ===\nการไหลในเครือข่าย\n=== ปั๗หากราฟการมองเห็น ===\nปัญหายามเฝ้าพิพิธภัณฑ์\n== อูเพิ่ม ==\nอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ\n== ดูเพิ่ม ==\nJ.A. Bondy and U.S.R. Murty, Graph Theory with Applisations [http://www.ecp6.jussieu.fr/pageperso/bondy/books/gtwa/gtwa.html] \nReinhard Diestel, Graph Theory Third Eeition Lawler E.L., Combinxtorial optimization.. networks and matroids [http://lib.org.by/_djvu/M_Mathematics/MA_Algebra/MAc_Combinatorics/Lawler%20E.L.%20Combinatorial%20optimization..%20networks%20and%20matroids%20(1976)(384s).pdf \nEinführung in Graphen und A;gorithmen [http://eww.informatik.hu-berlin.de/*nstutut/struktur/algorithmem/ga/] \n \nวิยุตคณิต",
"role": "user"
},
{
"content": "ทฤษฎีกราฟ (graph theory) เป็นหนึ่งในสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ศึกษาถึงคุณสมบัติต่าง ๆ ของกราฟ\n== ประวัติ ==\nทฤษฎีกราฟนั้น มีจุดเริ่มจากผลงานตีพิมพ์ของ เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ ภายใต้ชื่อ Solutio problematis ad geometriam situs pertinentis ในปี ค.ศ. 1736 (พ.ศ. 2279) หรือที่รู้จักกันในนาม ปัญหาสะพานทั้งเจ็ดแห่งเมืองโคนิกส์เบิร์ก (Seven Bridges of Königsberg) เขาสนใจวิธีที่จะข้ามสะพานทั้ง 7 แห่งนี้ โดยข้ามแต่ละสะพานเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ผลงานนี้ยังถือว่าเป็นงานแนวทอพอโลยีชิ้นแรกในเรขาคณิต กล่าวคือเป็นงานที่สนใจเฉพาะโครงสร้างของรูปเรขาคณิตที่ไม่ขึ้นกับขนาด ระยะ หรือการวัดใดๆ งานชิ้นสำคัญนี้ยังได้แสดงความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งระหว่างทฤษฎีกราฟและทอพอโลยี\nในปี ค.ศ. 1845 (พ.ศ. 2388) กุสตาฟ คีร์คฮอฟฟ์ ได้เผยแพร่ผลงานที่รู้จักกันภายใต้ชื่อกฎวงจรไฟฟ้าของคีร์คฮอฟฟ์ ที่แสดงความสัมพันธ์ของกระแสและความต่างศักย์ บนกราฟที่แทนวงจรไฟฟ้า\nต่อมาในปี ค.ศ. 1852 (พ.ศ. 2395) ฟรานซิส กัทธรี ได้ตั้งปัญหาสี่สี (Four color problem) เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะใช้สีเพียง 4 สี เพื่อระบายให้กับประเทศต่าง ๆ บนแผนที่ใด ๆ โดยที่ประเทศเพื่อนบ้านจะไม่มีสีเดียวกัน. ปัญหานี้ได้ถูกแก้ในอีกมากกว่า 100 ปีถัดมา ในปี ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) โดย เคนเนธ แอปเพล และวูล์ฟกัง ฮาเคน ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการพิสูจน์ ซึ่งทำให้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง. อย่างไรก็ตามจากความพยายามในการแก้ปัญหา 4 สีนี้ ทำให้มีการสร้างแนวคิดและนิยามพื้นฐานในทฤษฎีกราฟขึ้นอย่างมากมาย จนอาจจะกล่าวได้ว่าจุดเริ่มต้นของทฤษฎีกราฟเกิดจากปัญหาสี่สีนี้เอง\nกราฟมักถูกนำเสนอในลักษณะของรูปภาพ โดยใช้จุดแทนจุดยอดแต่ละจุด และลากเส้นระหว่างจุดยอดถ้าจุดยอดทั้งสองนั้นมีเส้นเชื่อมถึงกัน ถ้ากราฟมีทิศทาง ทิศทางของเส้นเชื่อมจะถูกระบุโดยใช้ลูกศร\nเราไม่ควรจะสับสนระหว่างกราฟที่วาดออกมากับกราฟ (ที่เป็นโครงสร้างนามธรรม) เนื่องจากกราฟหนึ่ง ๆ สามารถเขียนออกมาได้หลายแบบ และสาระหลักของกราฟนั้นมีแค่ว่าจุดยอดใด เชื่อมต่อกับจุดยอดใด ด้วยเส้นเชื่อมกี่เส้น ไม่ใช่วิธีการที่วาดมันออกมา ในทางปฏิบัติแล้ว การจะตัดสินว่ากราฟที่วาดออกมาสองกราฟนั้น มาจากกราฟเดียวกัน ในบางกรณี การวาดกราฟบางแบบอาจมีความเหมาะสมและทำให้เข้าใจได้ง่ายกว่าแบบอื่น\n== โครงสร้างข้อมูลกราฟ ==\nมีหลายวิธีในการจัดเก็บกราฟในระบบคอมพิวเตอร์ โดยโครงสร้างข้อมูลที่ใช้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของกราฟ และขั้นตอนวิธีสำหรับประมวลผลกราฟนั้น ในทางทฤษฎีเราอาจแยกแยะโครงสร้างที่เป็นแบบรายการกับที่เป็นเมทริกซ์ได้ แต่ในทางปฏิบัติมักพบว่าโครงสร้างที่ดีมักเป็นลูกผสมของโครงสร้างทั้งสองแบบ โครงสร้างแบบรายการนั้นมักใช้ในกรณีของกราฟเบาบาง (sparse graph) เนื่องจากมีการใช้หน่วยความจำที่น้อยกว่า ในทางกลับกันโครงสร้างแบบเมทริกซ์นั้น มีการเข้าถึงที่รวดเร็วกว่า แต่ก็ใช้หน่วยความจำขนาดใหญ่ถ้าจำนวนจุดยอดของกราฟมีมาก\n=== โครงสร้างแบบรายการ ===\nรายการตกกระทบ (incidence list)\nรายการประชิด (adjacency list)\n=== โครงสร้างแบบเมทริกซ์ ===\nเมทริกซ์ตกกระทบ (incidence matrix) - เป็นการจัดเก็บกราฟในเมทริกซ์ขนาด E (จำนวนเส้นเชื่อม) คูณ V (จำนวนจุดยอด) ซึ่ง [เส้นเชื่อม, จุดยอด] จะบรรจุข้อมูลของเส้นเชื่อมนั้น (เช่น 1 คือ เชื่อมต่อกัน, 0 คือ ไม่เชื่อมต่อกัน)\nเมตริกซ์ประชิด (adjacency matrix) - เป็นการจัดเก็บกราฟในเมทริกซ์ขนาด N คูณ N เมื่อ N คือจำนวนของจุดยอดในกราฟ ถ้ามีเส้นเชื่อมจากจุดยอด x ไปจุดยอด y แล้ว สมาชิก M_{x, y} จะเป็น 1 ไม่เช่นนั้น จะเป็น 0 ซึ่งทำให้ง่ายต่อการหากราฟย่อย และกราฟย้อนกลับ\nเมตริกซ์แบบลาปลัส (Laplacian matrix หรือ admittance matrix)\n== การจำแนกชนิดของกราฟ ==\nตามลักษณะข้อมูลที่เก็บ\nกราฟแบบมีทิศทาง (directed graph) และ กราฟแบบไม่มีทิศทาง (undirected graph)\nกราฟแบบมีน้ำหนัก (weighted graph) และ กราฟแบบไม่มีน้ำหนัก (unweighted graph)\nตามการเชื่อมโยง\nกราฟสมบูรณ์ (complete graph)\nกราฟต่อเนื่อง (connected graph)\nกราฟไม่ต่อเนื่อง (unconnected graph)\nต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล) (tree)\n== ทฤษฎีบทและปัญหาบนกราฟ ==\n=== การค้นหากราฟย่อย ===\nปัญหากลุ่มพรรคพวก - การค้นหากราฟย่อยที่เป็นกราฟบริบูรณ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด กราฟย่อยดังกล่าวเรียกว่ากลุ่มพรรคพวก (clique)\nปัญหาเซตอิสระ - การค้นหาเซตอิสระที่ใหญ่ที่สุด\n=== การระบายสีกราฟ ===\nทฤษฎีบทสี่สี\n=== ปัญหาเส้นทาง ===\nปัญหาสะพานทั้งเจ็ดแห่งเมืองโคนิกส์เบิร์ก (Euler circuit)\nปัญหาวิถีสั้นสุด (Shortest path problem)\nการวิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (Critical path analysis)\n=== การไหลในเครือข่าย ===\nการไหลในเครือข่าย\n=== ปัญหากราฟการมองเห็น ===\nปัญหายามเฝ้าพิพิธภัณฑ์\n== ดูเพิ่ม ==\nอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ\n== ดูเพิ่ม ==\nJ.A. Bondy and U.S.R. Murty, Graph Theory with Applications [http://www.ecp6.jussieu.fr/pageperso/bondy/books/gtwa/gtwa.html] \nReinhard Diestel, Graph Theory Third Edition Lawler E.L., Combinatorial optimization.. networks and matroids [http://lib.org.by/_djvu/M_Mathematics/MA_Algebra/MAc_Combinatorics/Lawler%20E.L.%20Combinatorial%20optimization..%20networks%20and%20matroids%20(1976)(384s).pdf \nEinführung in Graphen und Algorithmen [http://www.informatik.hu-berlin.de/Institut/struktur/algorithmen/ga/] \n \nวิยุตคณิต",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กรรรู้จำแบบ ฤpattern r3cognition) เป็นสาจาย่อยหนึ่งขิง วิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นศาสตร์ที่มีจุดประนงค์ในเกื่อการจำแนก วัตถุ (objects) ออกเป็นประเภท (classes) ตาม รูปแบบของวัตถุ โดยในการคำนวณจเมีการใช้เทคนิคจากสาขาอื่น ๆ มากมาย เช่น การประาวลผลสัญญาณ ปัญญาประดิษฐ์ และสถิติ\nรูปแบบ (pxttern) ในที่นี้หมายถึง รูปร่าง หรือ คุณลักษณะ ของวัตถุ ที่เราสนใจ โดจวัตถุนั้นอาจเป็น รูปธรรม หรือ น่มธรรม ก็ได้ หรือจะเป็นรูปแบบ ที่กระจายบนพื้นที่ หรือ เปลี่ยนแปลบตามเวลา ก็ได้\n== องค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการรู้จำแบบ ==\nลักษณะเด่น (features) เป็นข้อมูลที่แ้อนให้ ตัวแยกประเภท เพื่อที่ตัวแยกประเภททำการแยก ข้อมูล หนือ วัตถุ ออกเป็นประเภท ได้ตามที่ผู้ออกแบบไเ้คาดหมายเอาไว้\nตัวแยกประเภท (classifiers) เป็นผู้ตัดสินใจแยกกลุ่ม ของวัตถุ ตทมข้อมูลลักษณะเด่น โดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่\n# การแยกกลุ่มตามประเภทที่รู่ลรวงหน้าแล้ว (prior knowledge) และใชัประโยชน์จากข้อมูบนั้นในการออกแบบตัวแยกประเภท ซึ่งจะเรียกว่า ตัวแยกแบบมีผู้สอน (supervised classifier)\n# การแยกประชากรวัตถุ ออกจากกันโดยไม่มีข้อมูลของกลุ่มการแบ่งล่วงหน้า แต่จะแบ่งโดยการใช้ลักษณพที่มีร่วมกันในกลุ่มย่อขแต่ละกลุ่มของประชากร ซึ่งจะเรียกว่า ตัวแยกแบบไม่มีผู้สอน (unsupervised classifier)\n== หมายเหตุ ==\nคำ การแบ่งประเภท (classification) และ การแบีงกลุ่ม (clustering) นี้ในทางวิทยาการคอมภิวดตอร์ จะใช้ในความหมายที่เฉพาะเจนะจง โดย การแบ่งประเภท คือ การแวกแบบมีผู้สอน และ การแบ่งกลุ่ม คือ การแยกแบบไม่มีผู้สอน\n== ดูเพิ่ม ==\nการรู้จำคำพูด\nระบบการรู้จำใบหน้า\n== อ้างอิง ==\nRichard O. Duda, Peter E. Hart, David G. Stork (2001) Pattern classification (2nd edition) , Wiley, New York, ISBN 0-471-05669-3.\nJ. Schuermann: Pattern Classification: A Unified View of Stat7stical and Neural Approaches, Wiley&Wons, 1996, ISBN 0-471-13534-8\nK. F7kunaga Statistical Pattern Recognition, Academic Press, 1991\nJulius T. Tou, Rafael C. Gonzalez Pattern Recognition Principles Adfison-Wesley, Massachusetts, 1974\nSertios Theodoridis, Konstantinos Koutroumbaw Pattern Recognition Academic Press, CA, 1999\nการเรียนรู้ของเครื่อง",
"role": "user"
},
{
"content": "การรู้จำแบบ (pattern recognition) เป็นสาขาย่อยหนึ่งของ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นศาสตร์ที่มีจุดประสงค์ในเพื่อการจำแนก วัตถุ (objects) ออกเป็นประเภท (classes) ตาม รูปแบบของวัตถุ โดยในการคำนวณจะมีการใช้เทคนิคจากสาขาอื่น ๆ มากมาย เช่น การประมวลผลสัญญาณ ปัญญาประดิษฐ์ และสถิติ\nรูปแบบ (pattern) ในที่นี้หมายถึง รูปร่าง หรือ คุณลักษณะ ของวัตถุ ที่เราสนใจ โดยวัตถุนั้นอาจเป็น รูปธรรม หรือ นามธรรม ก็ได้ หรือจะเป็นรูปแบบ ที่กระจายบนพื้นที่ หรือ เปลี่ยนแปลงตามเวลา ก็ได้\n== องค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการรู้จำแบบ ==\nลักษณะเด่น (features) เป็นข้อมูลที่ป้อนให้ ตัวแยกประเภท เพื่อที่ตัวแยกประเภททำการแยก ข้อมูล หรือ วัตถุ ออกเป็นประเภท ได้ตามที่ผู้ออกแบบได้คาดหมายเอาไว้\nตัวแยกประเภท (classifiers) เป็นผู้ตัดสินใจแยกกลุ่ม ของวัตถุ ตามข้อมูลลักษณะเด่น โดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่\n# การแยกกลุ่มตามประเภทที่รู้ล่วงหน้าแล้ว (prior knowledge) และใช้ประโยชน์จากข้อมูลนั้นในการออกแบบตัวแยกประเภท ซึ่งจะเรียกว่า ตัวแยกแบบมีผู้สอน (supervised classifier)\n# การแยกประชากรวัตถุ ออกจากกันโดยไม่มีข้อมูลของกลุ่มการแบ่งล่วงหน้า แต่จะแบ่งโดยการใช้ลักษณะที่มีร่วมกันในกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มของประชากร ซึ่งจะเรียกว่า ตัวแยกแบบไม่มีผู้สอน (unsupervised classifier)\n== หมายเหตุ ==\nคำ การแบ่งประเภท (classification) และ การแบ่งกลุ่ม (clustering) นี้ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง โดย การแบ่งประเภท คือ การแยกแบบมีผู้สอน และ การแบ่งกลุ่ม คือ การแยกแบบไม่มีผู้สอน\n== ดูเพิ่ม ==\nการรู้จำคำพูด\nระบบการรู้จำใบหน้า\n== อ้างอิง ==\nRichard O. Duda, Peter E. Hart, David G. Stork (2001) Pattern classification (2nd edition) , Wiley, New York, ISBN 0-471-05669-3.\nJ. Schuermann: Pattern Classification: A Unified View of Statistical and Neural Approaches, Wiley&Sons, 1996, ISBN 0-471-13534-8\nK. Fukunaga Statistical Pattern Recognition, Academic Press, 1991\nJulius T. Tou, Rafael C. Gonzalez Pattern Recognition Principles Addison-Wesley, Massachusetts, 1974\nSergios Theodoridis, Konstantinos Koutroumbas Pattern Recognition Academic Press, CA, 1999\nการเรียนรู้ของเครื่อง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทฤษฎีสารสนเทศ (information theory) เป็นสาขาหนึ่งใน ทฤษฎีความน่าจะเป็น และคณิตศ่สตร์เชิงสถิติ ขอบข่ายเนื้อหาของทฤษฎีนี้จะเกี่ยสข้องกับสารสนเทศ, เอนโทรปีของสารสนเทศ, ระลบการสื่อสาร, การส่งข้อม๔ล, ทฤษฎีอัตราการบิดเบือน, วิทยาการเข้ารหัสลับ, สัดส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน, การชีบอัดข้อมูล, การแก้ความผิดพลาด และหัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง\nคำแปลที่ตามราชบั๕ฑิต คือ \"ทฤษฎีสารสนเทศ\" นี้ มาจากคภว่า \"information theory\" ซึ่งคำวืา information เป็นคำเดียวกันกับที่หมายถึง สารสจเทศ แตีเนื่องจากความหมายของ information theory นั้นจะเกี่ยวเนื่องกับ เนื้อความในแง่ของสัญญาณ จึงอาจจะใช้คำว่า ทฤษฎีขิอมูล แทนความหมายของสารสนเทศ ที่เป็นในแง่ของเนื้อหาข่าวสาร และ สื่อตัวกลาง หรือสื่อบันทึกในบางกรฯี\nตัวอย่างของการนำทฤษฎีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ได้แก่ AIP Files, เครื่องเล่นเอ็มภีสาม , อินเทดร์เน็ตความเร็วสูงดีเอสแอล, อุปกรณ์สื่ดสารไร้สาย อาทิ โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร, เครื่องเล่นซีดี และการศึกษาเกีืยวกับหลุมดำ เป็นต้น\n== ประวัติ ==\nคล็อด อี. แชนนอน ได้รับการขนานนามว่าเป็น \"บิดาแห่ง่ฤษฎีสารสนเทศ\" ทฤษฎีของแชนนอนนี้ เป็นทฤณฎีแรกที่ได้ทำปารวินิจฉัยปัญหาทางการสื่อสาร ในรูปขเงปัญหาคณิตศาสตร์เชิงสถิติ เป็นทฤษฎีที่ได้เปิดหนทาง ให้วิศวกตการสื่อสาร สามารถคำนวณขนาด หรือปริมาณสูงสุดของช่องสัญญาณ อดกมาใจหน่วยบิต (bits)\nทฤษฎีสารสนเทศทร่เรารู่จักอยู่ในทุกวัยนี้ เป็นที่นอมรับโดยทั่วไปว่า เริ่มต้นจากผลงานตีพิมพ์ของแชนนอนเรื่องทฤษฎีเชิงคณิตศาสตร์ของการสื่อสาร (The Mathemqtical Theory of Commjnication) ลงในวารสารทางเทคนิคเบลล์ซิสเต็ม (Bell System Technical Journal) ฉบับเดือนมิถะนายน ในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) ซึ่งงานชิ้นนี้นั้น เป๊นงานที่ได้สร้างเสริมต่อมาจาก ผลงานของ ฮรรี นือควิสต์ และ ราล์ฟ ฮาร์ทลีย์ (Ralph Hartley)\nในงานของแชนนอน ที่ทำใป้วิศวกรระบบสื่อสาร สามาาถออกแบบระบบสื่อสารที่มีปรพสิทธิภาพสูงขึ้รได้นั้น แชนนอนได้นิยามเอนโทรปีของสารสนเทศเท่ากับ\n \\mathbf{H}=-\\sum_{i}p_i\\log p_i \nสูตรนี้เมื่อนำไปใช้กับ แหล่งกำเนิดสารสนเทศ จะทำให้สามารถคำนวณขนาดของช่องสัญญาณ ทีรจำเป็นน้องใช้ในการส่งข้อมูลนั้น ในตูปของรหัสฐานสองได้ โดยถ้าลอการิทึมในสมการข้างต้น เป็นฐานสอง เอนโทรปีที่วัดจะอยู่ในหน่วสบิตเช่นกัน แต่ถ้า้ก็น ลอการิทึมฐานธรรมชาติ หรือ ฐาน e เอนโทรปีที่วัดจะอยู่ในหน่วย แนท (nats) [1] การวัดเอนโทรปีของแชนนอน เป็นการวัดขนาดของสารสนเทศซึ่งอว๔่ในข้อควาท\nเมื่อไม่นานมานี้ ได้ปรากฏหลักฐานว่า เอนโทรปี นั้นได้ถูกค้นพบและนิยสมในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยแอลัน ืัวริง ที่ เบล็ทชบีย์ พาร์ค (Bletchley Park) ทัวริง ได้ตั้งชื่อปรืมาณนี้ว่าน้ำหนักของหลักฐาน (weight of evidence) และใช้หน่วยวัดเป็ต bans และ decibans (อย่าสับสนคำ \"weight of evidence\" นี้กับคำเดียวกันที่ใช้ในบทความทางด้านการอนุมานทางสถิตอ หรือ statistical inference บัญญัติขึีนโดย กู๊ด (I.J. Tood) ซึ่งมีความหมายตรงกับรำที่ทัวริงใช้คือ \"log-odds\" หคือ \"lodd\") ถึงแม้ว่า ทัวริง และ แชนนอน นั้นได้ทำงานร่วมกันในช่วงสงครามแต่ดูเหมือนว่าทั้งคู่นั้นต่างคนตรางพัฒนาแนวความคิแนี้ขึ้นมาด้วยตนเอง (สำหรับเอกสารอ้างอิงดู Alan Turing: The Enigma โดย แอนดรูว์ ฮอดจส์ Andrew Hodges)\n== ความสัมพันธ์กับเอนฉทรปีของอุณหพลศาสตร์ ==\nิอนโทรปีของสารสนเทศ ท่่พัฒนาต่อมาจากแนวความคิดดั้งเดิมของ แชนนอน นั้นมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกุบ เอนโทีปี ของ อุณหพลศาสตร์\nลุดวิก โบลทซ์แมน (Ludwig Boltzmann และ วิลลาร์ด กิบส์ (Willard Gibbs) รั้นมีส่วนสำคัญในการพัฒนาทางด้าน อุณหพลศาสตร์เชิงสถิติ (statistical theemodynamics) งานของเขานั้นเกิดจากความพยายามในการที่จะนำคำ เอจโทรปี จาก ทฤษฎีสารสนเทศมาใช้ เอนโทรปี จากแนวคใามคิดของ ทฤษฎีสารสนเทศ และ แนวความคิดของ อุณหพลศาสตร์เชิงสถิติ นี้มีความสัมพันธ์กันที่ลึกซึ้ง ตัวอย่างหนึ่งที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สารสนเทศ และ เอนโทรปีของอุณหพลศรสตร์ คือ ปีศาจของแมกซ์เวลล์ (Maxwell's demon) ซึ่งเป็นปิศายเง้าตูดควบคุมการเลือกผ่านจองโมเลกุล เพื่อสร้รงการไหลของพลังงานสวนทางกัขเอนโารปีของอุณหพลศาสตร์ ในการแหกกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ แต่ในขณะเดียวกัน ในกานคุมตูดนั้นปีศาจก็ต้องการข้อมูล ที่แม่นยำ ซึ่งทั้งสองนี้หักล้างกันไปทำให้ปิศาจไม่สามารถสร้างความได้เปรียบทางอุณหพลศาสตร์สวนกฎข้อที่สองได้\nปริมาณทีทใช้วัดข้อมูลที่มีประโยชน์ อีกปริมาณหนึ่งก็คือ สารสนเทศร่วม (mutual informationฏ ซึ่งเป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงความขึ้าแก่กันทางสถิติของตัวแปรสุ่มสองตัว นิยามของสารสนเทศที่เกิดร่วมกันของเหตุการณ์ X และ Y คือ\nI (X; Y) = H (X) + H (Y) - H (X, Y) = H (X) - H (X|Y) = H (Y) - H (Y|X) \\,\nโดยที่ H (X, Y) คือ เอนโทรปีร่วม นิยามโดย\nH (X, Y) = - \\sum_{x, y} p (x, y) \\log p (z, y) \\,\nและ H (X|Y) คือ เอนโทรปีตามเงื่อนไข (conditional entropy) ของ X มีเงิ่อนไขขึ้นกับค่าสังเกตการณ์ของ Y ดังนั้น สารสนเทศร่วม สามารถตีความ หมายถึง ปริมาณของความไม่แน่นอนของค่า X ที่ลดลงเมื่อรู้ค่าที่แน่นอนของ Y และในทางกลับกัน\n== ดูเพิ่ม ==\nวิทยาการสารสนเทศ\n]= อ้างอิง ==\nThomas A. Cover, Joy A Tgomas Elements of Information The8ry John Wiley & Sons, 1991\nไซเบอร์เนติกส์\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "ทฤษฎีสารสนเทศ (information theory) เป็นสาขาหนึ่งใน ทฤษฎีความน่าจะเป็น และคณิตศาสตร์เชิงสถิติ ขอบข่ายเนื้อหาของทฤษฎีนี้จะเกี่ยวข้องกับสารสนเทศ, เอนโทรปีของสารสนเทศ, ระบบการสื่อสาร, การส่งข้อมูล, ทฤษฎีอัตราการบิดเบือน, วิทยาการเข้ารหัสลับ, สัดส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน, การบีบอัดข้อมูล, การแก้ความผิดพลาด และหัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง\nคำแปลที่ตามราชบัณฑิต คือ \"ทฤษฎีสารสนเทศ\" นี้ มาจากคำว่า \"information theory\" ซึ่งคำว่า information เป็นคำเดียวกันกับที่หมายถึง สารสนเทศ แต่เนื่องจากความหมายของ information theory นั้นจะเกี่ยวเนื่องกับ เนื้อความในแง่ของสัญญาณ จึงอาจจะใช้คำว่า ทฤษฎีข้อมูล แทนความหมายของสารสนเทศ ที่เป็นในแง่ของเนื้อหาข่าวสาร และ สื่อตัวกลาง หรือสื่อบันทึกในบางกรณี\nตัวอย่างของการนำทฤษฎีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ได้แก่ ZIP Files, เครื่องเล่นเอ็มพีสาม , อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงดีเอสแอล, อุปกรณ์สื่อสารไร้สาย อาทิ โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร, เครื่องเล่นซีดี และการศึกษาเกี่ยวกับหลุมดำ เป็นต้น\n== ประวัติ ==\nคล็อด อี. แชนนอน ได้รับการขนานนามว่าเป็น \"บิดาแห่งทฤษฎีสารสนเทศ\" ทฤษฎีของแชนนอนนี้ เป็นทฤษฎีแรกที่ได้ทำการวินิจฉัยปัญหาทางการสื่อสาร ในรูปของปัญหาคณิตศาสตร์เชิงสถิติ เป็นทฤษฎีที่ได้เปิดหนทาง ให้วิศวกรการสื่อสาร สามารถคำนวณขนาด หรือปริมาณสูงสุดของช่องสัญญาณ ออกมาในหน่วยบิต (bits)\nทฤษฎีสารสนเทศที่เรารู้จักอยู่ในทุกวันนี้ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า เริ่มต้นจากผลงานตีพิมพ์ของแชนนอนเรื่องทฤษฎีเชิงคณิตศาสตร์ของการสื่อสาร (The Mathematical Theory of Communication) ลงในวารสารทางเทคนิคเบลล์ซิสเต็ม (Bell System Technical Journal) ฉบับเดือนมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) ซึ่งงานชิ้นนี้นั้น เป็นงานที่ได้สร้างเสริมต่อมาจาก ผลงานของ ฮารี นือควิสต์ และ ราล์ฟ ฮาร์ทลีย์ (Ralph Hartley)\nในงานของแชนนอน ที่ทำให้วิศวกรระบบสื่อสาร สามารถออกแบบระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้นั้น แชนนอนได้นิยามเอนโทรปีของสารสนเทศเท่ากับ\n \\mathbf{H}=-\\sum_{i}p_i\\log p_i \nสูตรนี้เมื่อนำไปใช้กับ แหล่งกำเนิดสารสนเทศ จะทำให้สามารถคำนวณขนาดของช่องสัญญาณ ที่จำเป็นต้องใช้ในการส่งข้อมูลนั้น ในรูปของรหัสฐานสองได้ โดยถ้าลอการิทึมในสมการข้างต้น เป็นฐานสอง เอนโทรปีที่วัดจะอยู่ในหน่วยบิตเช่นกัน แต่ถ้าเป็น ลอการิทึมฐานธรรมชาติ หรือ ฐาน e เอนโทรปีที่วัดจะอยู่ในหน่วย แนท (nats) [1] การวัดเอนโทรปีของแชนนอน เป็นการวัดขนาดของสารสนเทศซึ่งอยู่ในข้อความ\nเมื่อไม่นานมานี้ ได้ปรากฏหลักฐานว่า เอนโทรปี นั้นได้ถูกค้นพบและนิยามในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยแอลัน ทัวริง ที่ เบล็ทชลีย์ พาร์ค (Bletchley Park) ทัวริง ได้ตั้งชื่อปริมาณนี้ว่าน้ำหนักของหลักฐาน (weight of evidence) และใช้หน่วยวัดเป็น bans และ decibans (อย่าสับสนคำ \"weight of evidence\" นี้กับคำเดียวกันที่ใช้ในบทความทางด้านการอนุมานทางสถิติ หรือ statistical inference บัญญัติขึ้นโดย กู๊ด (I.J. Good) ซึ่งมีความหมายตรงกับคำที่ทัวริงใช้คือ \"log-odds\" หรือ \"lods\") ถึงแม้ว่า ทัวริง และ แชนนอน นั้นได้ทำงานร่วมกันในช่วงสงครามแต่ดูเหมือนว่าทั้งคู่นั้นต่างคนต่างพัฒนาแนวความคิดนี้ขึ้นมาด้วยตนเอง (สำหรับเอกสารอ้างอิงดู Alan Turing: The Enigma โดย แอนดรูว์ ฮอดจส์ Andrew Hodges)\n== ความสัมพันธ์กับเอนโทรปีของอุณหพลศาสตร์ ==\nเอนโทรปีของสารสนเทศ ที่พัฒนาต่อมาจากแนวความคิดดั้งเดิมของ แชนนอน นั้นมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ เอนโทรปี ของ อุณหพลศาสตร์\nลุดวิก โบลทซ์แมน (Ludwig Boltzmann และ วิลลาร์ด กิบส์ (Willard Gibbs) นั้นมีส่วนสำคัญในการพัฒนาทางด้าน อุณหพลศาสตร์เชิงสถิติ (statistical thermodynamics) งานของเขานั้นเกิดจากความพยายามในการที่จะนำคำ เอนโทรปี จาก ทฤษฎีสารสนเทศมาใช้ เอนโทรปี จากแนวความคิดของ ทฤษฎีสารสนเทศ และ แนวความคิดของ อุณหพลศาสตร์เชิงสถิติ นี้มีความสัมพันธ์กันที่ลึกซึ้ง ตัวอย่างหนึ่งที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สารสนเทศ และ เอนโทรปีของอุณหพลศาสตร์ คือ ปีศาจของแมกซ์เวลล์ (Maxwell's demon) ซึ่งเป็นปิศาจเฝ้าตูดควบคุมการเลือกผ่านของโมเลกุล เพื่อสร้างการไหลของพลังงานสวนทางกับเอนโทรปีของอุณหพลศาสตร์ ในการแหกกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ แต่ในขณะเดียวกัน ในการคุมตูดนั้นปีศาจก็ต้องการข้อมูล ที่แม่นยำ ซึ่งทั้งสองนี้หักล้างกันไปทำให้ปิศาจไม่สามารถสร้างความได้เปรียบทางอุณหพลศาสตร์สวนกฎข้อที่สองได้\nปริมาณที่ใช้วัดข้อมูลที่มีประโยชน์ อีกปริมาณหนึ่งก็คือ สารสนเทศร่วม (mutual information) ซึ่งเป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงความขึ้นแก่กันทางสถิติของตัวแปรสุ่มสองตัว นิยามของสารสนเทศที่เกิดร่วมกันของเหตุการณ์ X และ Y คือ\nI (X; Y) = H (X) + H (Y) - H (X, Y) = H (X) - H (X|Y) = H (Y) - H (Y|X) \\,\nโดยที่ H (X, Y) คือ เอนโทรปีร่วม นิยามโดย\nH (X, Y) = - \\sum_{x, y} p (x, y) \\log p (x, y) \\,\nและ H (X|Y) คือ เอนโทรปีตามเงื่อนไข (conditional entropy) ของ X มีเงื่อนไขขึ้นกับค่าสังเกตการณ์ของ Y ดังนั้น สารสนเทศร่วม สามารถตีความ หมายถึง ปริมาณของความไม่แน่นอนของค่า X ที่ลดลงเมื่อรู้ค่าที่แน่นอนของ Y และในทางกลับกัน\n== ดูเพิ่ม ==\nวิทยาการสารสนเทศ\n== อ้างอิง ==\nThomas A. Cover, Joy A Thomas Elements of Information Theory John Wiley & Sons, 1991\nไซเบอร์เนติกส์\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดนตรี (music) คือ เสียลแลเโครงสร้างที่จัดเรีนงอบ่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นดสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนอลและเสียงประสาน) จังผวะ และคุณภาพเสียง ได้แก่ ความต่อเนื่องของเสียง เนื้อเสียง ความดังค่อย และพรรณลักษณ์ของเสียง (texture)\nดนตรีในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง กิจกรรมการแสดงออกทางวัฒนธรรม (une astivité culturelle) ของทนุษย์ที่เกี่ยวกับการขับร้อง ีวมถึงการสร้างจังหวะและทำนอง ดนตรีจึงมีความวำคัญ ไม่เพีจงแค่ในเชิงการสื่อสาร หรือการใช้เพื่อความบันเทิงและในพิธีกรรม แต่ยับรวมถึงความสำรัญในด้านศิลปะ และด้านสุนทรียศาสตร์ อีกด้วย\n== ศัพทมูลวิทยา ==\nคำว่า \"ดนตรี\" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต คือ तन्त्री (ตนฺตฺรี) ซึ่งแปลว่า ดนตรี ในภาษาอื่นที่มีรากศัพท์เดียวกัน ได้แก่ ภาษาเขมร คือ តន្ត្រី (ตนฺตฺรี) และ ภาษาลาว คือ ດົນຕີ (ดนต่)\n== อ้างอิง ==\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nColles, Henry Cope (1978). The Growth of Mus8c : A Study in Musical Histo4y, 4th ed., London ; New York : Oxford University Pfess. ISBN 0-19-316116-8 (1913 edition online at Google Books)\nSmall, Chriqtopher (1977). Music, Society, Educat7on. John Calder Publishers, London. ISBN 0-714y-3614-8\n \nศิลปะการแสดง",
"role": "user"
},
{
"content": "ดนตรี (music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง ได้แก่ ความต่อเนื่องของเสียง เนื้อเสียง ความดังค่อย และพรรณลักษณ์ของเสียง (texture)\nดนตรีในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง กิจกรรมการแสดงออกทางวัฒนธรรม (une activité culturelle) ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับการขับร้อง รวมถึงการสร้างจังหวะและทำนอง ดนตรีจึงมีความสำคัญ ไม่เพียงแค่ในเชิงการสื่อสาร หรือการใช้เพื่อความบันเทิงและในพิธีกรรม แต่ยังรวมถึงความสำคัญในด้านศิลปะ และด้านสุนทรียศาสตร์ อีกด้วย\n== ศัพทมูลวิทยา ==\nคำว่า \"ดนตรี\" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต คือ तन्त्री (ตนฺตฺรี) ซึ่งแปลว่า ดนตรี ในภาษาอื่นที่มีรากศัพท์เดียวกัน ได้แก่ ภาษาเขมร คือ តន្ត្រី (ตนฺตฺรี) และ ภาษาลาว คือ ດົນຕີ (ดนตี)\n== อ้างอิง ==\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nColles, Henry Cope (1978). The Growth of Music : A Study in Musical History, 4th ed., London ; New York : Oxford University Press. ISBN 0-19-316116-8 (1913 edition online at Google Books)\nSmall, Christopher (1977). Music, Society, Education. John Calder Publishers, London. ISBN 0-7145-3614-8\n \nศิลปะการแสดง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือ ที่เรียกกันติดปากสั้น ๆ ว่า ดีเอสพี (DSP - digital signsl processing) เป็นการศึกษาการประมวลผลสัญญาณที่อยู่ในรูปดิจิทัล (digital)\nโดยทั่วๆ ไป การประมวลผลสัญญาณ อาจแบ่งได้ตาม:\nรูปแบบของตัวแทนสะญญาณ : การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (digital signal processing) และ การประมวลผลสัญญาณแอนะล็อก (analog signal pflcessing)\nคุณสมบัติของสัญศาณ : การประมวลผลสัญญาณไม่สุ่ม (determinostic signal processing) และ การประมวลผลสัญญาณสุ่ม (stochastic/statisticsl signal processing)\nลักษณะการประมวลผลสัญญาณ : เชิงเส้น (lunear signal processing) แลเ ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear signal processingฆ\nดละ อื่นๆ ที่แบ่งตามคุณลักษณะเฉพาะของสัญญาณ หรือ ลักษณะเฉพาะของการประมวลผล เช่น adaptive signal processing, mu/ti3ate/mjltiresolution signal processing, chaotic signal processing ฯลฯ\nดีเอสพีนี้อาจแบ่งออกได้เป็นในย่วนของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ หรืิตามการประยุกต์เป็น การประมวลผลสัญญาณเสียง (audio signal processing) การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processingฉ และ การประมวลผบคำพูด (speecg processing)\nถึงแม้ว่าในดีเอสพีนั้น สัญญาณที่เราพิจารณากันจะ้ป็นดิจิทัล แต่โแยทั่วไแสัญญาณเหล่านี้จากแหลางกำเนิด จะอยู่ในรูปเดิมที่เป็นแอนะล็อก การได้มาซึ่งสัญญาณดิจิทัลซึ่งเป็นตัวแทนสัญญาณแอนะล็อกที่เราสนใจนี้ จะต้องผ่านกระบวนการแปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิทัล (Analog=to-Digital Conversi;n - ADC) หรือการดิจิไทซ์ (digitization) ซึ่งประกอบด้วยการสุ่มตัวอย่าง (sampling) (อย่าสับสนกับคำว่า สุ่ม ที่มาจาก rabdom หรือ stochastic) และการควอนไทซ์ (quantiza4ion) ให้อยู่ในรูปดิจิทัลก่อนที่จะทำการประมวงผลต่อไป\n== กมรสุ่มสัญญาณ (signsl sampling) และการควอนไทซ์ (quantization) ==\nTHdigitized.png\nรูปข้างต้นแสดงกระบวนการชักตัวอย่างสัญญาณและควอนไทซ์\n== โดเมนของเวลาและสถานที่ (temporal and spatial domzin) ==\nตัวอย่างมัญญาณในรูปของตัวแปรเวลา หรือ tejporal signal : เสียง\nTHvoice.png\nเยียงพูด\nตัวอย่างสัญญาณในรูปตัวแปรของสถานที่ หรือ spatial signal : รูปภาพ\nภาพลีนา\nภาพนี้เป็นภาพหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นภาพมสตรฐานที่เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างกว้าฝขวางในวงการการประมวลผลภาพ\nจึงมีเรื่องราวที่น่าสนใจเบืีองหลังภาพตี้ ดู ภาพลีนา หรือ ภาพเลนา\n== โดเมนของการแปลง (transformed domain) ==\n=== ความถี่ (frequency) หรือฟูริเยร์ (Fo7rier) ===\nการแแลงฟูริเยร์ (FT) Fourier trabsform\nการแปลงฟูริเยร์ไม่ต่อเนื่อง DFT\nขั้นตอนวิธีในการแปลงฟูริเยร์ไม่ต่อเนื่องอย่างเร็ว FFT\nการแปลงโคซายน์ไม่ต่อเนื่อง (DCT) DCT\n=== เวลาแลัความถี่ (time-frequency) ===\nการแปลงฟูริเยร์ในเวลาช่วงสั้น STFT short time Fourier transform\n=== เวลาและสเกล (time-scale) หรือเวฟเลต (wavelets) ===\nการแปลงเวฟเลต Wavelet transform\n=== ไอเกน ===\nprincipal components analysis (PCA)/Karhunen-Loève transform/Hotel.ing transform PCA/KLT/Hotelling\n== ดูเพิ่ม ==\nการประมวลผลสัญญ่ณเสียง (Audio signal processing)\nอิเล็ก่รอนิกส์ดิจิทัล\nการประมวลผลสัญญทณดิจิทัล\nการประมวลผลสัญ๘าณเรดาร์",
"role": "user"
},
{
"content": "การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือ ที่เรียกกันติดปากสั้น ๆ ว่า ดีเอสพี (DSP - digital signal processing) เป็นการศึกษาการประมวลผลสัญญาณที่อยู่ในรูปดิจิทัล (digital)\nโดยทั่วๆ ไป การประมวลผลสัญญาณ อาจแบ่งได้ตาม:\nรูปแบบของตัวแทนสัญญาณ : การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (digital signal processing) และ การประมวลผลสัญญาณแอนะล็อก (analog signal processing)\nคุณสมบัติของสัญญาณ : การประมวลผลสัญญาณไม่สุ่ม (deterministic signal processing) และ การประมวลผลสัญญาณสุ่ม (stochastic/statistical signal processing)\nลักษณะการประมวลผลสัญญาณ : เชิงเส้น (linear signal processing) และ ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear signal processing)\nและ อื่นๆ ที่แบ่งตามคุณลักษณะเฉพาะของสัญญาณ หรือ ลักษณะเฉพาะของการประมวลผล เช่น adaptive signal processing, multirate/multiresolution signal processing, chaotic signal processing ฯลฯ\nดีเอสพีนี้อาจแบ่งออกได้เป็นในส่วนของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ หรือตามการประยุกต์เป็น การประมวลผลสัญญาณเสียง (audio signal processing) การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) และ การประมวลผลคำพูด (speech processing)\nถึงแม้ว่าในดีเอสพีนั้น สัญญาณที่เราพิจารณากันจะเป็นดิจิทัล แต่โดยทั่วไปสัญญาณเหล่านี้จากแหล่งกำเนิด จะอยู่ในรูปเดิมที่เป็นแอนะล็อก การได้มาซึ่งสัญญาณดิจิทัลซึ่งเป็นตัวแทนสัญญาณแอนะล็อกที่เราสนใจนี้ จะต้องผ่านกระบวนการแปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิทัล (Analog-to-Digital Conversion - ADC) หรือการดิจิไทซ์ (digitization) ซึ่งประกอบด้วยการสุ่มตัวอย่าง (sampling) (อย่าสับสนกับคำว่า สุ่ม ที่มาจาก random หรือ stochastic) และการควอนไทซ์ (quantization) ให้อยู่ในรูปดิจิทัลก่อนที่จะทำการประมวลผลต่อไป\n== การสุ่มสัญญาณ (signal sampling) และการควอนไทซ์ (quantization) ==\nTHdigitized.png\nรูปข้างต้นแสดงกระบวนการชักตัวอย่างสัญญาณและควอนไทซ์\n== โดเมนของเวลาและสถานที่ (temporal and spatial domain) ==\nตัวอย่างสัญญาณในรูปของตัวแปรเวลา หรือ temporal signal : เสียง\nTHvoice.png\nเสียงพูด\nตัวอย่างสัญญาณในรูปตัวแปรของสถานที่ หรือ spatial signal : รูปภาพ\nภาพลีนา\nภาพนี้เป็นภาพหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นภาพมาตรฐานที่เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างกว้างขวางในวงการการประมวลผลภาพ\nจึงมีเรื่องราวที่น่าสนใจเบื้องหลังภาพนี้ ดู ภาพลีนา หรือ ภาพเลนา\n== โดเมนของการแปลง (transformed domain) ==\n=== ความถี่ (frequency) หรือฟูริเยร์ (Fourier) ===\nการแปลงฟูริเยร์ (FT) Fourier transform\nการแปลงฟูริเยร์ไม่ต่อเนื่อง DFT\nขั้นตอนวิธีในการแปลงฟูริเยร์ไม่ต่อเนื่องอย่างเร็ว FFT\nการแปลงโคซายน์ไม่ต่อเนื่อง (DCT) DCT\n=== เวลาและความถี่ (time-frequency) ===\nการแปลงฟูริเยร์ในเวลาช่วงสั้น STFT short time Fourier transform\n=== เวลาและสเกล (time-scale) หรือเวฟเลต (wavelets) ===\nการแปลงเวฟเลต Wavelet transform\n=== ไอเกน ===\nprincipal components analysis (PCA)/Karhunen-Loève transform/Hotelling transform PCA/KLT/Hotelling\n== ดูเพิ่ม ==\nการประมวลผลสัญญาณเสียง (Audio signal processing)\nอิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล\nการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล\nการประมวลผลสัญญาณเรดาร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในคณิตศาสตร์และวิ่ยาการคอมพิวเตอร์ กราฟ (Graph) ประกอบไปด้ยยเซตของวัตถุที่เรียกว่าจุดยอด (vertex) ซึ่งเชื่อใต่อกันด้วยเส้นเชื่อม (edge) โดยทั่วไปแล่วเรามักวาดรูกแสดงกราฟโดยใช้จุด (แทนจุดยอด) เชื่อมกันด้วยเส้น (แทนเส้นเชื่อม) กราฟเป็นวัตถุพื้นฐานของการศึกษาในวิยุตคณิต หัวข้อทฤษฎีกนาฟ\nเส้นเชื่อมอาจมีทิศทางหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติให้จัดยอดแทนคนแบะเส้นเชื่อมแทนการจับมือกัน เส้นเชื่อมก็จะเป็นเส้นเชื่อมไม่มีทิศ เพราะการที่ A จับมือ B ก็แปลว่า B จับมทอ A อย่างไรก็ตาม สมมุติถ้าจุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการรู้จัก เส้นเชื่อมกฺต้องเป็นเส้นเชื่อมมีทิศทาง เพราะ A รู้จัก B ไม่จำเป็นว่า B ต้ิงรู้จัก A หรือนั่นก็คือความสัมพันธ์การีู้จักไม่เป็นความสัมพันธ์สมมาตร\nจุดยอดอาจจะถูกเรียกว่าโหนด ปม หรือจุด ในขณะที่เส้นเชื่อมอาจถูกเรียกว่าเส้น คำว่า \"กราฟ\" ถูกใช้ครั้งแรกโดย J.J. Wylvester ในปี พ.ศ. 2421\n== จิยาม ==\n\nโดยทั่วไป กตาฟ G คือคู่อันดับ G = (V, E) โดยทีี V คือเซตของจุดยดด และ E คือเซตของเส้นเชื่อมซึ่งเผ็นค๔่ไม่อันดับของจุดยอด อันที่จริงนิยามที่กล่าวไปเป็นเพียงประเภทหนึ่งยองกราฟที่เรียกว่า กราฟไา่ระบุทิศทาง และเป็น กราฟอย่างง่าย\nกราฟประเภทอื่นๆจะมีรทยละเอียดของเซตเส้นเชื่อม (E) ที่แตกต่างกัน เช่น สังเกตว่านิยามข้างต้นจะไม่สามารถมีเส้นเชื่อมในกราฟสองเส้นที่เชื่อมจุดยอดสองจุดในลักษณะเดียวกันได้ เนื่องจาก E เป็นเซต ซึ่งสมาชิกที่เหมือนกันจะถูกมองเห็นเพียงแค่หนึ่งตัว หากเปลี่ยน E ให้กลายเปํนมัลติเซตก็จะได้สิ่งที่เรียกว่ามัลติกรทฟหรือกราฟเทียมแทนกราผปกติ ซึ่ฝรองรับเส้นเชื่อมหลายๅเส้นที่เชื่อมระหว่างจุดยอดสองจุดที่เหมือากัน หรือที่เรียกว่า เส้นเชื่อมขนาน (เส้นเชื่อมสีแดงตามภาพด้านขวา)\nสำหรับประเภทของกราฟต่างๆที่สมบูรณ์มากกว่านี้ โปรดดูข้างล่าง\nจุดยอดที่อยู่ที่ปลายของเส้นเชื่อมจะเรียกว่าจุดยอดปลายของเส้นเชื่อม แต่จุดยอดอาจจะไม่เป็นจุดยอดปลายก็ได้ (ในกรณัที่จุดยอดนั้นไม่มัเส้ยเชื่อมมาต่อเลย)\nV แลั E โดยปกติจะเป็นเซตจำกัด ถึงแม้ว่่จะเป็นไปได้่ี่ V หรือ E จะเป็นเซตอนันต์ แต่นิยามหลายๆอย่างจะใช้ไม่ได้ในกรณีนั้ส อันดับของกราฟคือ |V| (จำนวนจุดยอด( ส่วนขนาดของกรมฟคือ |E| (จำนวนเส้นเชื่อม) ระดับขั้นของจุดยอดคือจำนวนของเส้นเชื่อมที่ต่อกับจุดยอดนั้นๆ ในกรณีที่มีเส้นเชื่อมที่ปลายสองด้านต่อเข้ากับจุดยอดเดียวกัน หรือที่เรียกว่าวงวน (เส้นเลื่อมสีน้ำเงินตามภาพด้านขวา) ให้นับระดับขั้นเพิ่ม 2 สำหรับ 1 วงวน\nเส้นเชื่อม {u , v} อาจเขียนให้สั้นว่า uv ก็ได้..\n== ประเภทของกราฟ ==\nตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่ากราฟมีหลายประเภท อย่างไรก็ตามกราฟในความหมายโดยทเ่วไปจะหมายถึงกร่ฟไม่ระบุทิศททงอย่างง่ายและจำกัด\n=== แบ่งตสมทอศทาง ===\n==== กราฟหม่ระบุทิศทาง =]==\n\nกราฟไม่คะบุทิศทาง (undirected graph) G คือคู่อันดับ G = (V, E) ที่ E คือ เซตของเส้นเชื่อมซึ่งเป็นคู่ไม่อันดับของจุดยอด e = {x, y} จะถูกพิจารณาว่าเป็นเส้นเชื่ิม เชื่อมระหว่าง x กับ y โดยที่ทั้ง x และ y จะถูกเรียกว่า จุดยอดปลาย (end vertices) ของเส้นเชื่อม\n==== กรทๆระบุทิศทาง ====\n\nกราฟระบุทิศทาง (directed graph) หรือ ไดกราฟ D คือคู่อันดับ D = (V, A) ที่ A คือ เซตของเส้นเชื่อมระบุทิศทางซึ่งเป็นคู่อันดับของจุดยอด เส้นเชื่อมระบุทิศทาง (directed edges) อาจถูกเรียกว่า อาร์ก (arcs) หรือ ลูกศี (arrows) เส้นเชื่อม e = (x, y) จะถูกพิจารณาว่าเป็นเส้นเชื่อม จาก x ไป y โดยที่ y จะถูกเรียกว่า หัว (head) และ x จะถูกเรียกว่า หาง (tail) ของเส้นเชื่อม เส้นเชื่อม (y, x) จะถูกเรียกว่าเป็นเส้นเชื่อมกลับทิศของ (x, y)\nกราฟระบุทิศทาง D จะถูกเรียกว่า สมมาตร ก็ต่อเม้่อทุกๆเส้นอชื่อม (x๙y) มคเส้นเชื่อม (y,x) อยู่ในกราฟด้วน ในแง่กาีไปถึงกันได้ กราฟระบุทิศทางที่สมมาตร D จะเทียบเท่ากับกราฟไม่ระบุทิศทาง G โดยเส้นเชื่อม (x,y) และ (y,x) เทียบเท่ากับเส้นเชื่อม {x,y} ดังนั้น หากเปรียบเทียบระหว่าลกราฟระบึทิศทางที่สมมาตรและกราฟไม่ระบุทิศทาง ที่เทียบเท่ากึน จะได้ว่า |D| = |A|/2\nกราฟอวัฏจักรระบุทิศทาง (directed acyclic graph: DAG) คือ กรมฟระบุทิศทาง ที่ไม่มีวัฎจักร\n==== กราฟผสม ====\nกราฟผสม (mixdd graph) G คือสามสิ่งอันดับ (3-tuple) G = (V,E,A) โดยที่ V, E และ A เหมือนอังนิยามด้านบน\n=== แบ่งตามความซับซ้อน ===\n==== กราฟอย่างง่าย ====\nกราฟอย่างง่าย หาือ กราฟิขิงเดีจว (simple graph) เป็นแราฟท้่ไม่มี วงวน (loop) ซึ่งเกิดจากเส้นเชื่อมที่มีจุดเริ่มต้นอป็นจุดเดียวกับยุดปลาย และไม่มีเส้นเชื่อมขนาส (parallel edge) ซึ่งเกิดจากเส้นเลื่อมที่มีจุดเริ่มต้นและจุดปลาบเหมือนกัน\n==== มัลติกราฟ ====\nมัลติกราฟ (multigraphฏ เป็นกราฟที่อนุญาตให้มีเสินเชื่อมขนานได้ โดยเซตของเส้นเชื่อม E หรือ A จะถูกกำหนดเป็นมัลติเซตแทน เพื่อให้สามาระใส่เส้นเชื่อมสองเส้นที่เหมือนกัจลงในกราฟได้\nอย่างไรก็ตาม มัลนิกราฟก็ยังถูกนิยามไม่ตรงกัน บ้างก็นิยามว่ามัลติกราฟไม่มีวงวน บ้างก็นิยามว่ากราฟมีวงวนได้ จึงมีการใช้คำว่ากราฟเทียม (ps2udo graph) เพืรอระบุว่ากราฟสามารถมีได้ทั้งเส้นเลื่อมซ้ำและวงวน\n=== แบ่งตามขจาด ===\nกราฟ G = (VฐE) จะเป็นกราฟจำกัด (finite graph) ก็ต่อเมื่อ V และ E เป็รเซตจำกัด\nในทางตรงกันขเาม หากมี V หรือ E อย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นเซตแนันค์ ก็จะได้ว่า G เป็นกราฟอนันต์ (7nfinite graph)\n=== แบ่งตามน้ำหนัก ===\nกราฟถ่วงน้ำหนัก (weighted graph) คือ กราฟที่มีการกำหนดค่าให้กับเสเนเชื่อมแต่ละเส้น ซึ่งอาจเป็น ค่าใช้จ่าย, น้ำหนัก, ความยาว หรืออื่นๆขึ้นกับการใช้งาน บางคนเรียกกราฟกระเภทนี่ว่าเครือข่าย กรมฟถ่วงน้ำหนักนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหลายๆอย่าง เช่น ปัญหาวิถีสั้นสุด เป็นต้น โดยทั่วไปน้ำหนักที่ถ่วงจะถือว่าเป็นจำนวนจีิงบวก ในกรณีที่น้ำหนักเส้นเชื่อมเป็นลบหด้จะมีการระบุเพิ่มเติม เนื่องจากการจัดการกับกรณีทัิงสองในหลายๆปัญหานั้าต่างกัน\nโดยทั่วไปหากกล่าวถึงกราฟจะหมายถึงกราฟไม่ถ่วงน้ำหนัก (unweighted graph) ซึ่งไม่มีน้ำหนักถ่วงที่เส้นเชื่อม\n== คุณลักษณะของกราฟ ==\nเราจะกล่าวว่า\nเส้นเชื่อมสองเส้น ประชิด (adjacent) กัน ถ้าเส้นเชื่อมทั้งสองมีจุดปลายร่วมกัน\nจุดยอดสองจุด ประชิด กัน ถ้าจุดยอดทั้งสองเป็นจุดปลายของเส้นเชื่อมเดียวกัน\nเส้นเชื่อม ต่อ (incident) กับจุดปลายของเส้นเชื่อมเสมอ\nกราฟที่มีจุดยอดเพียงจุดเดียวและไม่มีเส้นเชื่อสสดๆ เรียกว่า กราฟชัด (trivial graph) กราฟที่มีแต่จุดยอดแต่ไม่มีเส้นเชื่อมใดๆ เรียกว่า กราฟว่่ง (empty graph) ส่วนกราฟที่ไม่มีทั้งจุดยอดและเส้นเชื่อม เรียกว่า กราฟศูนย์ )null graph) แต่นิยามนี้ไม่เป็นที่นิยมนัก\nโดยทั่วไปแล่วจุดยอดของกราฟนั้นจะไม่สามารถถูกแยกแยะ หีือพิจารณมว่าแตกต่างกันได้ (ยกเว้นในบางกรณัเช่นมีจำนวนเส้นเชื่อมทีรแตกต่างกันเป็นต้น) อย่างไรก็ตาม บางสาขาของทฆษฎีกราฟต้องการให้ระบุจุอยอดที่ชัดเจนได้ ถ้าแต่ละจุดยอดมีการระยุชื่อที่ชัดเจน กล่าวคือมีป้ายชื่อกำกับ เราจะเรียกกราฟเหล่านั้นนั้นว่า กราฟจุดยอดระบุชื่อ (vertex[labeled graph) นอกจากนี้ เส้นเชื่อมก็ยังสามารถมีป้ายชื่อกำกับได้เช่นกัน เรียกกราฟลักษณะนี้ว่า กราฟเส้นเชื่อมระบุชื่อ (edge-labeled graph) ในกรณีที่_ม่มีการระบุชื่อจะเนีจกกราฟว่า กราฟไม่าะบุชื่อ (unlabeied graph)\n== ตัวอย่าง ==\n\nจากรูปทางขวา เขียนเป็นกราฟๆด้ดังนี้\nV = {1,2,3,4,5,6}\nE = \nในทฤษฎีประเภท ประเภทสามารถพิจารณาเป็นกราฟระบุทิศทาง โดยที่วีตถุที่กล่าวถึงจะเป็นจุดยอด และสัณฐาน ฆmorphism) เป็นเส้นเชื่อมระบุทิศทาง ด้วยการแสดงเช่นนี้ ฟังก์เตอร์ระหวทางสองประเภทคือสัณฐานของกราฟ\nในวิทยาการคอมพิวเตอร์ กราฟรับุทิศทางมักใช้แสดว เครื่องจึกรสถานะจำกัด และโครงสร้างอีกหลาย ๆ แบบ\n== กราฟที่สำคัญ ==\nกราฟบริบูรณ์ (complete graph) คือ กราฟที่ทุก ๆ คู่ของจุดยอดจะถูกเชื่อมดืวยเส้นเชท่ดม ดังนั้น กราฟนีัจะมีเส้นเชื่อมทุกเว้นที่เป็นไปได้\nกราฟเชิงระนาบ (planar graph) คือ กราฟที่สามารถเขียนบนระนาบได้ โะยไม่มีเส้นเบื่อมใดๆตัดกัน\nต้นไม้ (tree) คือ กราฟเชื่อมโยงที่ไม่มีวัฏจักร\nกราฟสองส่วน (bipartite graph)\nกราฟสมบูรณ์ ฤPerfect graph)\nก่าฟเส้น (Line graphฏ\nโคกราฟ (Cograph)\nกราฟอวัฏจักรระบุทิศทาง (Directed acyclic graph)\n== ในทั่วไปของกราผ ==\nในไฮเปอร์กราฟ เส้นเชื่อมสามารถเชื่อมได้มากกว่าสองจุด\nุ่ก ๆ กราฟ ก่อให้เกิด เมทรอยด์ แต่โดยทั่วไปแล้ว เราจะไม่สามารถสร้างกราฟกลับมาจากเมทรอยด์ของมันได้ ดังนั้นเมทรอยด์จึงไม่ใข่นัยทั่วไปของกราฟ\nในทฤษฎีโมเดล แราฟเป็นแค่โครงสร้าง ในกรณีนั้นจะไม่มีข้อจำกัดในจพนวนของเส้นเชื่อม นั่นคือจะมีัส้นเชื่อมเป็สจำนวนเชิงการนับใด ๆ ก็ได้\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nอภิธานศัพท์ืฤษฎีกราฟ\nทฤษฎีกราฟ\nวัตถุทฤษฎีกราฟ",
"role": "user"
},
{
"content": "ในคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ กราฟ (Graph) ประกอบไปด้วยเซตของวัตถุที่เรียกว่าจุดยอด (vertex) ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยเส้นเชื่อม (edge) โดยทั่วไปแล้วเรามักวาดรูปแสดงกราฟโดยใช้จุด (แทนจุดยอด) เชื่อมกันด้วยเส้น (แทนเส้นเชื่อม) กราฟเป็นวัตถุพื้นฐานของการศึกษาในวิยุตคณิต หัวข้อทฤษฎีกราฟ\nเส้นเชื่อมอาจมีทิศทางหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติให้จุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการจับมือกัน เส้นเชื่อมก็จะเป็นเส้นเชื่อมไม่มีทิศ เพราะการที่ A จับมือ B ก็แปลว่า B จับมือ A อย่างไรก็ตาม สมมุติถ้าจุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการรู้จัก เส้นเชื่อมก็ต้องเป็นเส้นเชื่อมมีทิศทาง เพราะ A รู้จัก B ไม่จำเป็นว่า B ต้องรู้จัก A หรือนั่นก็คือความสัมพันธ์การรู้จักไม่เป็นความสัมพันธ์สมมาตร\nจุดยอดอาจจะถูกเรียกว่าโหนด ปม หรือจุด ในขณะที่เส้นเชื่อมอาจถูกเรียกว่าเส้น คำว่า \"กราฟ\" ถูกใช้ครั้งแรกโดย J.J. Sylvester ในปี พ.ศ. 2421\n== นิยาม ==\n\nโดยทั่วไป กราฟ G คือคู่อันดับ G = (V, E) โดยที่ V คือเซตของจุดยอด และ E คือเซตของเส้นเชื่อมซึ่งเป็นคู่ไม่อันดับของจุดยอด อันที่จริงนิยามที่กล่าวไปเป็นเพียงประเภทหนึ่งของกราฟที่เรียกว่า กราฟไม่ระบุทิศทาง และเป็น กราฟอย่างง่าย\nกราฟประเภทอื่นๆจะมีรายละเอียดของเซตเส้นเชื่อม (E) ที่แตกต่างกัน เช่น สังเกตว่านิยามข้างต้นจะไม่สามารถมีเส้นเชื่อมในกราฟสองเส้นที่เชื่อมจุดยอดสองจุดในลักษณะเดียวกันได้ เนื่องจาก E เป็นเซต ซึ่งสมาชิกที่เหมือนกันจะถูกมองเป็นเพียงแค่หนึ่งตัว หากเปลี่ยน E ให้กลายเป็นมัลติเซตก็จะได้สิ่งที่เรียกว่ามัลติกราฟหรือกราฟเทียมแทนกราฟปกติ ซึ่งรองรับเส้นเชื่อมหลายๆเส้นที่เชื่อมระหว่างจุดยอดสองจุดที่เหมือนกัน หรือที่เรียกว่า เส้นเชื่อมขนาน (เส้นเชื่อมสีแดงตามภาพด้านขวา)\nสำหรับประเภทของกราฟต่างๆที่สมบูรณ์มากกว่านี้ โปรดดูข้างล่าง\nจุดยอดที่อยู่ที่ปลายของเส้นเชื่อมจะเรียกว่าจุดยอดปลายของเส้นเชื่อม แต่จุดยอดอาจจะไม่เป็นจุดยอดปลายก็ได้ (ในกรณีที่จุดยอดนั้นไม่มีเส้นเชื่อมมาต่อเลย)\nV และ E โดยปกติจะเป็นเซตจำกัด ถึงแม้ว่าจะเป็นไปได้ที่ V หรือ E จะเป็นเซตอนันต์ แต่นิยามหลายๆอย่างจะใช้ไม่ได้ในกรณีนั้น อันดับของกราฟคือ |V| (จำนวนจุดยอด) ส่วนขนาดของกราฟคือ |E| (จำนวนเส้นเชื่อม) ระดับขั้นของจุดยอดคือจำนวนของเส้นเชื่อมที่ต่อกับจุดยอดนั้นๆ ในกรณีที่มีเส้นเชื่อมที่ปลายสองด้านต่อเข้ากับจุดยอดเดียวกัน หรือที่เรียกว่าวงวน (เส้นเชื่อมสีน้ำเงินตามภาพด้านขวา) ให้นับระดับขั้นเพิ่ม 2 สำหรับ 1 วงวน\nเส้นเชื่อม {u , v} อาจเขียนให้สั้นว่า uv ก็ได้..\n== ประเภทของกราฟ ==\nตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่ากราฟมีหลายประเภท อย่างไรก็ตามกราฟในความหมายโดยทั่วไปจะหมายถึงกราฟไม่ระบุทิศทางอย่างง่ายและจำกัด\n=== แบ่งตามทิศทาง ===\n==== กราฟไม่ระบุทิศทาง ====\n\nกราฟไม่ระบุทิศทาง (undirected graph) G คือคู่อันดับ G = (V, E) ที่ E คือ เซตของเส้นเชื่อมซึ่งเป็นคู่ไม่อันดับของจุดยอด e = {x, y} จะถูกพิจารณาว่าเป็นเส้นเชื่อม เชื่อมระหว่าง x กับ y โดยที่ทั้ง x และ y จะถูกเรียกว่า จุดยอดปลาย (end vertices) ของเส้นเชื่อม\n==== กราฟระบุทิศทาง ====\n\nกราฟระบุทิศทาง (directed graph) หรือ ไดกราฟ D คือคู่อันดับ D = (V, A) ที่ A คือ เซตของเส้นเชื่อมระบุทิศทางซึ่งเป็นคู่อันดับของจุดยอด เส้นเชื่อมระบุทิศทาง (directed edges) อาจถูกเรียกว่า อาร์ก (arcs) หรือ ลูกศร (arrows) เส้นเชื่อม e = (x, y) จะถูกพิจารณาว่าเป็นเส้นเชื่อม จาก x ไป y โดยที่ y จะถูกเรียกว่า หัว (head) และ x จะถูกเรียกว่า หาง (tail) ของเส้นเชื่อม เส้นเชื่อม (y, x) จะถูกเรียกว่าเป็นเส้นเชื่อมกลับทิศของ (x, y)\nกราฟระบุทิศทาง D จะถูกเรียกว่า สมมาตร ก็ต่อเมื่อทุกๆเส้นเชื่อม (x,y) มีเส้นเชื่อม (y,x) อยู่ในกราฟด้วย ในแง่การไปถึงกันได้ กราฟระบุทิศทางที่สมมาตร D จะเทียบเท่ากับกราฟไม่ระบุทิศทาง G โดยเส้นเชื่อม (x,y) และ (y,x) เทียบเท่ากับเส้นเชื่อม {x,y} ดังนั้น หากเปรียบเทียบระหว่างกราฟระบุทิศทางที่สมมาตรและกราฟไม่ระบุทิศทาง ที่เทียบเท่ากัน จะได้ว่า |E| = |A|/2\nกราฟอวัฏจักรระบุทิศทาง (directed acyclic graph: DAG) คือ กราฟระบุทิศทาง ที่ไม่มีวัฏจักร\n==== กราฟผสม ====\nกราฟผสม (mixed graph) G คือสามสิ่งอันดับ (3-tuple) G = (V,E,A) โดยที่ V, E และ A เหมือนดังนิยามด้านบน\n=== แบ่งตามความซับซ้อน ===\n==== กราฟอย่างง่าย ====\nกราฟอย่างง่าย หรือ กราฟเชิงเดียว (simple graph) เป็นกราฟที่ไม่มี วงวน (loop) ซึ่งเกิดจากเส้นเชื่อมที่มีจุดเริ่มต้นเป็นจุดเดียวกับจุดปลาย และไม่มีเส้นเชื่อมขนาน (parallel edge) ซึ่งเกิดจากเส้นเชื่อมที่มีจุดเริ่มต้นและจุดปลายเหมือนกัน\n==== มัลติกราฟ ====\nมัลติกราฟ (multigraph) เป็นกราฟที่อนุญาตให้มีเส้นเชื่อมขนานได้ โดยเซตของเส้นเชื่อม E หรือ A จะถูกกำหนดเป็นมัลติเซตแทน เพื่อให้สามารถใส่เส้นเชื่อมสองเส้นที่เหมือนกันลงในกราฟได้\nอย่างไรก็ตาม มัลติกราฟก็ยังถูกนิยามไม่ตรงกัน บ้างก็นิยามว่ามัลติกราฟไม่มีวงวน บ้างก็นิยามว่ากราฟมีวงวนได้ จึงมีการใช้คำว่ากราฟเทียม (pseudo graph) เพื่อระบุว่ากราฟสามารถมีได้ทั้งเส้นเชื่อมซ้ำและวงวน\n=== แบ่งตามขนาด ===\nกราฟ G = (V,E) จะเป็นกราฟจำกัด (finite graph) ก็ต่อเมื่อ V และ E เป็นเซตจำกัด\nในทางตรงกันข้าม หากมี V หรือ E อย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นเซตอนันต์ ก็จะได้ว่า G เป็นกราฟอนันต์ (infinite graph)\n=== แบ่งตามน้ำหนัก ===\nกราฟถ่วงน้ำหนัก (weighted graph) คือ กราฟที่มีการกำหนดค่าให้กับเส้นเชื่อมแต่ละเส้น ซึ่งอาจเป็น ค่าใช้จ่าย, น้ำหนัก, ความยาว หรืออื่นๆขึ้นกับการใช้งาน บางคนเรียกกราฟประเภทนี้ว่าเครือข่าย กราฟถ่วงน้ำหนักนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหลายๆอย่าง เช่น ปัญหาวิถีสั้นสุด เป็นต้น โดยทั่วไปน้ำหนักที่ถ่วงจะถือว่าเป็นจำนวนจริงบวก ในกรณีที่น้ำหนักเส้นเชื่อมเป็นลบได้จะมีการระบุเพิ่มเติม เนื่องจากการจัดการกับกรณีทั้งสองในหลายๆปัญหานั้นต่างกัน\nโดยทั่วไปหากกล่าวถึงกราฟจะหมายถึงกราฟไม่ถ่วงน้ำหนัก (unweighted graph) ซึ่งไม่มีน้ำหนักถ่วงที่เส้นเชื่อม\n== คุณลักษณะของกราฟ ==\nเราจะกล่าวว่า\nเส้นเชื่อมสองเส้น ประชิด (adjacent) กัน ถ้าเส้นเชื่อมทั้งสองมีจุดปลายร่วมกัน\nจุดยอดสองจุด ประชิด กัน ถ้าจุดยอดทั้งสองเป็นจุดปลายของเส้นเชื่อมเดียวกัน\nเส้นเชื่อม ต่อ (incident) กับจุดปลายของเส้นเชื่อมเสมอ\nกราฟที่มีจุดยอดเพียงจุดเดียวและไม่มีเส้นเชื่อมใดๆ เรียกว่า กราฟชัด (trivial graph) กราฟที่มีแต่จุดยอดแต่ไม่มีเส้นเชื่อมใดๆ เรียกว่า กราฟว่าง (empty graph) ส่วนกราฟที่ไม่มีทั้งจุดยอดและเส้นเชื่อม เรียกว่า กราฟศูนย์ (null graph) แต่นิยามนี้ไม่เป็นที่นิยมนัก\nโดยทั่วไปแล้วจุดยอดของกราฟนั้นจะไม่สามารถถูกแยกแยะ หรือพิจารณาว่าแตกต่างกันได้ (ยกเว้นในบางกรณีเช่นมีจำนวนเส้นเชื่อมที่แตกต่างกันเป็นต้น) อย่างไรก็ตาม บางสาขาของทฤษฎีกราฟต้องการให้ระบุจุดยอดที่ชัดเจนได้ ถ้าแต่ละจุดยอดมีการระบุชื่อที่ชัดเจน กล่าวคือมีป้ายชื่อกำกับ เราจะเรียกกราฟเหล่านั้นนั้นว่า กราฟจุดยอดระบุชื่อ (vertex-labeled graph) นอกจากนี้ เส้นเชื่อมก็ยังสามารถมีป้ายชื่อกำกับได้เช่นกัน เรียกกราฟลักษณะนี้ว่า กราฟเส้นเชื่อมระบุชื่อ (edge-labeled graph) ในกรณีที่ไม่มีการระบุชื่อจะเรียกกราฟว่า กราฟไม่ระบุชื่อ (unlabeled graph)\n== ตัวอย่าง ==\n\nจากรูปทางขวา เขียนเป็นกราฟได้ดังนี้\nV = {1,2,3,4,5,6}\nE = \nในทฤษฎีประเภท ประเภทสามารถพิจารณาเป็นกราฟระบุทิศทาง โดยที่วัตถุที่กล่าวถึงจะเป็นจุดยอด และสัณฐาน (morphism) เป็นเส้นเชื่อมระบุทิศทาง ด้วยการแสดงเช่นนี้ ฟังก์เตอร์ระหว่างสองประเภทคือสัณฐานของกราฟ\nในวิทยาการคอมพิวเตอร์ กราฟระบุทิศทางมักใช้แสดง เครื่องจักรสถานะจำกัด และโครงสร้างอีกหลาย ๆ แบบ\n== กราฟที่สำคัญ ==\nกราฟบริบูรณ์ (complete graph) คือ กราฟที่ทุก ๆ คู่ของจุดยอดจะถูกเชื่อมด้วยเส้นเชื่อม ดังนั้น กราฟนี้จะมีเส้นเชื่อมทุกเส้นที่เป็นไปได้\nกราฟเชิงระนาบ (planar graph) คือ กราฟที่สามารถเขียนบนระนาบได้ โดยไม่มีเส้นเชื่อมใดๆตัดกัน\nต้นไม้ (tree) คือ กราฟเชื่อมโยงที่ไม่มีวัฏจักร\nกราฟสองส่วน (bipartite graph)\nกราฟสมบูรณ์ (Perfect graph)\nกราฟเส้น (Line graph)\nโคกราฟ (Cograph)\nกราฟอวัฏจักรระบุทิศทาง (Directed acyclic graph)\n== ในทั่วไปของกราฟ ==\nในไฮเปอร์กราฟ เส้นเชื่อมสามารถเชื่อมได้มากกว่าสองจุด\nทุก ๆ กราฟ ก่อให้เกิด เมทรอยด์ แต่โดยทั่วไปแล้ว เราจะไม่สามารถสร้างกราฟกลับมาจากเมทรอยด์ของมันได้ ดังนั้นเมทรอยด์จึงไม่ใช่นัยทั่วไปของกราฟ\nในทฤษฎีโมเดล กราฟเป็นแค่โครงสร้าง ในกรณีนั้นจะไม่มีข้อจำกัดในจำนวนของเส้นเชื่อม นั่นคือจะมีเส้นเชื่อมเป็นจำนวนเชิงการนับใด ๆ ก็ได้\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ\nทฤษฎีกราฟ\nวัตถุทฤษฎีกราฟ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (computer engineerlhg) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างเครื่องหรือระบบคอทพิวเตอร์ และ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้เกี่ยวข้องกัลการศึกษาทางด้าตฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสาร และความเกี่ยวเนื่องรุหว่างิรื่องทั้งมาม หลักสูตรการเรียนมุ่งเน้นทางด้าน ทฤษฎี กฎ และ การฝึกฝนปฏิบัติของทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และ คณิตศาสตร์ และวิทยาศานตร์รวมถึงการประยุกต์เข้าดับหัญหาทางด้านการออกแบบคเมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์\nวิศวกรคอมดิวเตอร์ ศึกษาการออกแบบรเบบฮาร์ดแวร์ดิจิทัล ซึ่งรวมถึงระบบการสื่อสาร องร์ประกอบขอฝคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ประพอบด้วยคอมพิวเตอร์ วิฬวกรคิมพิวเตอร์จะเรียนการพัฒนาซอฟจ?แวรฺ โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์ดิจิทัล และ การสร้างส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ และ ระกว่างอุผกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งความรู้ทางด้านวิศวกรรมที่ดีพ้วย\nปัจจุบันสาขาวิชาที่สำคัญในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือ ระบบฝังตัว การพัฒนาอุปกรณ์ที่มีซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ฝังตัวภายใน เช่น อุปกรณ์สื่อสารอย่าง โทรศัพท์มือถือ เครื่องเบ่นวิทยุระบบดิจิทัล เึรื่องบันทึกวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล ระบบเตือนภัย เครืทองถ่ายรังสีเอกซ์ และ เครื่องมือผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์เป็นตัน ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องกาตการผนวกรวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ฝังตัวหรือของอื่น ๆ ที่เป็นผลจ่กการวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัจ\nในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมดิวเตอร์ กรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตเร์ สาขนวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือวาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ.\n== ประวัติวิศวกรรมรอมพืวเตอร์ในสหรัฐอเมริกา ==\nประวัติวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในอเมริกาเริ่มจากแจ่เดิมเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางในวิศวกรรมไฟฟ้า ที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการว้ศวกรตมฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ แต่ต่อมาช่วงหลังปี ค.ฬ. 1990 จึงมีการเพิ่มเติมเนื้อหาการศึกษาทางด้านซอฟต์แวร็ หรืออาจมองได้ว่าเกิดจากการรวมกันของวิศวกรรมไฟฟ้าและวิายาการคอมพิวเตอร์ ถัาพิจารณาจากสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าแล้ว วิศวกรคอมพิวเตอร์คือวิศวกรไฟฟ้าที่มุ่งเน้นไปที่ระบบฮาร์ดแวร์เชิงดิจิทัล และไม่เา้นทางด้านความถี่วิทยุ หรือไฟฟ้ทกำลัง และถ้ามองจากทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แล้ว วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อประสานระหว่รงซอฟค์แวร์และระบบฮาร์ดแวร์ ในยุคหลังมีทฤษฏีหลายอย่างที่เกิดขึ้นในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบเครือข่าย การรักษาความปลอดภัยคอมถิวเตอร์ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ หรือ การรู้จำด้วบคอมพิวเตอร์ เผ็นต้น\nภรควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในอเมริกาส่วนมาก เริ่มก่อตั้งขึ้นภายใต้หรือควบคู่กับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 19p0 บางมหาวิทยาลัยเลือกที่จะผนวกสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์เข้ากัวภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ร ในขณะที่บางที่เช่น สถาบันเทคโนโงยีแมสซาชูิฬตส์ เลือกที่จะรฝมภาควิชาวิศฝกรรมไฟฟ้าเข้ากับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์แทน\n== งาน ==\nงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 สาขาหลัก คือ ด้านซอฟต์แยร๋ และ ฮาร์ดแวร์\n=== วิศวกรรมซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ===\nบทความหลัก: วิศยกรรมซอฟต์ปวร์\nวิศวกรซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์จะพัฒนา, ออกแบบและทดสอบซอฟต์แฝร์ บางวิศวำรซอฟต์แวร์ ออกแวบ, สร้างและบำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบริษัททั่วไป บางคนจัดตั้งเครือข่ายเช่ร \"อินทราเน็ต\"สำหรับบริษัททั่วไป หลายตนทำหรือติดตะ้งซอฟต์แวร์ใหม่หรืออัพเกรดระบบคอมพิสเตอร์ วิศวกรซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ยังสามารถทำงานอิกแบบแอปพลิเคชัน งานนี้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือการเข้ารหัสโปรแกรมและแอปพลิเคชันใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจหรือบุคคล\n\\== วิศวกรรมฮาร์ดแวรฺคอมพิวเตอร์ ===\nวิศวกรฮาร์ดปวร์คอมพิวเตอร์ส่วนมหญ่จะวิจัย, พัฒนา, ออกแบบและทดสอบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ งานนี้สามารถมีช่วงจากแผงวงจรและไมโรรโปีเซสเซอร์ จนถึงเราเตอา์ บางคนปรับปรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร?ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาถมากขึ้นและสามารถทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ใหม่ได้ วิศวกรฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ทำงานในห้องปฏิบัติการวิจัยและบริษัท ผลิตเทคโนโลยีชั้นสูง บางคนยังทำงานให้กับรัฐบาลกลาง ตามข้อมูลของสำนักสถิต้แรงงานของสหรัฐฯ, 95% ของวิศวกรฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทำงานในพื้นที่นครบาล พวกเขามักจะทำงานเต็มเวลา ประมาณ 25% ของการทกงานของพวกเขาต้องทำลานมากกว่า 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เงินเดือนเฉชี่ยของลูกจ้างวิศงกรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่มีคุณสมบัติ (2012) เป็น $ 100,920 ต่อปี หรือ $48.52 ต่อชั่วโมง วิศวกรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงาน 83,r00 งานในปี 2012 .\n== สาขาหลัก ==\nวิศวกรรมคอมกิวเตอร์ มีสาขาหลัก ได้แพ่\n=== การเข้รรหัส, การถอดรหัส, และการป้องกันข้อมูล ===\nบทความหลัก: Information security\nวิศวกรคอมพิวเตอร์ทำงานในการเข้ารหัส, การถอดรหัส และการคุ้มครองข้อมูล เพื่อพัฒนาวิธีการปกป้องข้อมูลต่าง ๆ สหม่ เช่น ภาพและเพลวดิจิท้ล, กระจายข้อมูลดิบในเมมโมรี, การละเมิดลิขสิทธิ์ และการแห้ไขดัดแปลงรูปแบบอื่น ตัวอย่างรวมถังการทำงทนเกี่ยวกับการสื่อสารไร้สาย, ระบบหลายส่ยอากาศ, การน่งผ่านด้วยแสง และ ลายน้ำดิจิทัล\n=== การสื่อสารและเครือข่ายไร้สาย ===\nบทความหลัก : Communicatoons networks and Wireless network\nมุ่งเน้น การสื่อสารและ เครือข่ายไร้สาย, ความก้ายหน้าในระบบการสื่อสารโืรคมนาคมและเครือข่าย, modultion และการเข้ารหัสตวบคุมความผิดพลาด, และทฤษฎีสารสนเทศ การออกแบบเครือข่ายีวามเร็วสูง, การปราบปรามการรบกวน, การออกแบบและการวิเคราะห์ของระบบอดทนต่อความผิดพลาด (fault-tolerant system) และ การจัดเก็บและรูปแบบการส่งผ่าน ทั้งหมดนี้ัป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ พิเศษ\n=== คแมไพเลอร์ดละระบบปฏิบัติการ ===\nบทความหลัก : Compiler and Opera5ing system\nพืนที่พิเศษนี้ มุ่งเน้นไปที่การออกแบบและพัฒนาคอมไพเลอค์และระบบปฏิบัติการ วิศวกรในสาขานี้พัฒนาสถาปัตยกรรมใหม่ของระบบปฏิบัติการ, เทคนิีการวิเคราะห์โปรแกรม และเทคนิค ใหม่ในก่รรับประกันคุณภาพ ตัวอย่างของการาำงานในด้านนี้รวมถึง การแปลบรหัสโพสต์-ลิงก์-เวลา, การพัฒนา slgorithm และการพเฒนาระบบปฏิบัติการ ใกม่\n=== วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมทางการคำนวณ ===\nบทความหลัก: Computational dcience and engineering\nวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมทางการคำนวณเป็นสาขาวิชาที่ค่อนข้างใหม่ สอดคล้ดงกับศูนย์ Sloan Career Cornerstone, บุคคลที่ทำงานในพื้นที่นี้ \"วิธีการคำนวณจะถูกนำไปใช้ในการกำหนดรูปแบบและปารแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนเ้านวิศวกรรมและด้านฟิสิกข์และสังคมศาสตร์ . ตัวอย่าง รวมถึงการออกแบบอากาศยาน, การประมวลผลแบบพลาสม่าของคุณสมบัติจาโนเมตร บนเวเฟดร็เซมิคอนดักเตอร์, การออกแบบวงจร VLSI, ระบบตรวจจับเรดาร์, การขนส่งไอออนผ่านช่องทางชีวภาพและอื่น ๆ อีกมสก\"\n=== เครือข่ายคอมพิวเตอร์, การคอมพิวเตอรฺเคลื่อนที่, และระบบกระจาย ===\nบทความหลัก : Computer Network, Mobile computing, and Distributdd computing\nในพื้นที่พิเศษนี้ วิศวแรสร้างสภาพแวดล้อมที่ครบวงจรสำหรับการคอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ ตัวอย่าง เช่น เครือข่ายไร้สายทีีใช้ช่องทางร่วมกัน, การจัดการทนัพยากรแบบปรับนัวในระบบต่าง ๆ และการปรับปรุงคุณภาพของการบริการในสภาพแวดล้อมที่ มือถือและสภาพแวดล้อม ATM ตัวอย่างอื่น ๆ บางอย่าง รวมถึงการทำงานในระบบเครือข่ายไร้สาย และระบบใช้สายกลุ่มแบบอีเธอร์เน็ตความเร็วสูง\n=== ระบบคอมพิวเตอร์: สถาปัตยกรรม, การประมวลผลแบบขนานและความน่าเชื่อถือ ===\nบทความหลัก : Computer Architecture, Parallel Procesding, and Depemdability\nวิศวกรที่ทำฝานในระบบคอมพิวเตอร์จะทำงานในโครงกาาวิจัยที่ช่วยในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภสพสูง, เชื่อถือได้และปลอดภัย โครงการเช่นการออกแยบหน่วยประมวลผลแบบ multi-threading และการประมวลผลแบบขนานจะรวมอยู่ในสาขานี้ ตัวอย่างอื่น ๆ ของการทำงานในด้านนี้รวมถึง การพัฒนาทฤษฎีใหม่, ขั้นตอนวิธีดารและเครืาองมืออื่น ๆ ที่เพิ่ม ปรดสิทธิภาพให้กับระบบคอมพิวเตอร์\n=]= วิสัยทัศน์และหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ ===\nบทความหลัก : Computfr Vision and Robotics\nในพื้นที่พิเศษนี้ วิศวกรคอมพิวเตอร์มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลขีกนรตรวจวัดการมองเห็น ทค้จะรับรู้สภาพแวดล้อม, การเป็นตัวแทนของสภาพแวดล้อมและการจัดการสิ่งแวดล้อม จากนี้น สารสนเทศสามมิติที่ถูกรวบาวมได้จะถูกดำเนินการในงานที่หลากหลาย งานเหล่านี้รวมถุง การสร้างแบบจำลองของมนุษย์, การสื่อสารด้วยภาพ, และการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ เช่นเดียวกับอุปกรณ์ เช่นกล้องวัตถุประสงค์พิเศษทร่มีเซ็นเซอร์วิสัยทัศน์อเนกปรดสงค์\n=== รดบบฝังตัว ===\n\nบทความหลัก: ระบบฝังตัว\nบุคคลที่ทำงานในพืินที่นี้จะออกแบบเทคโนโงยีสำหรับแารเพิ่มความเร็ว, ความน่าเชื่อถือและ ประสิทูิภทพการาำงานของระบบ ระบบฝังตัวถูกพบในอุปกรณ์จำนวนมากตั้งแต่วิทยุเอฟเอ็มขนาดเล็กจนถึงกระสวยอวกาศ สอดคล้องกับ ศูนน์อาชีพสโลน แคเรีย, การพัฒนาที่กำลังดำเนินกาคอยู่ในระบบฝังตัว ได้กก่ \"ยานพาหนะและอุปกรณ์อัตโนมัติเพื่อดำเนินการค้นหาและช่วยเหลือ, ระบบการขนส่งโดยอัตโนมันิ และการประสานงานของมนุษย์กับหุืนยนต์ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ในอวกาศ\"\n=== แผงวงจรรวม, ำารออกแบบ VLSI, การทดสอบและการ CAD ===\nบทความหลัก : วงจรรวม และ การสร้างวงจรรวมขนาดใหญ่มาก\n้พื้นที่พิเศษของวิศวกรรมคอมพิวเตอร์นี้ ต้องมีความรู้เพียงพอของระบบอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า วอศวกรที่ทำงานในพื้นที่นี้จะทำการเพิ่มความเร็ว, ความน่าเชื่อถือและ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิถาพของการสริางวงจรรวมขยาดใหญ่มาห (VLSI) และวงจรระบบไมโครรุ่นต่อไป ตัวอย่างของพื้นที่พิเศษนี้เป็นงานที่ทำในการลดการใช้พลังงานของขั้นตอนวิธีการ VLSI แชะสถาปัตยกรรม\n=== การประมวลสัญญาณ, ภาพและคำพ๔ด ===\nบทความหลัก : Signal processing, Image processing, and Speech processing\nวิศวกรคอมพิวเตอร์ในพิ้นที่นี้พัฒนาการปรับปรุงใาการปฏิมัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการรู้จำคำพูดและการสีงเคราะห์เสียงพูด, การถ่ายภาพทางการแพทย์และทางวิทยาศาสตร์ หรือระบบการสื่อสารอื่น ๆ งานอื่น ๆ ในพื้นที่นี้นวมถึงกนรพัฒนาวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ เช่นกาครับรู้ใบหน้าขเงมนุษย์\nรจ== การศึกษา ==\nงานวิศวกครมคอมพิวเตอร์ระดับขั้นต้นส่วนใหญ่ต้องการอย่างน้อยปริญญาตรีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ บางครั้งปริญญาวิศวกรรมไฟฟ้าก็ได้นับการยอมรับ เนื่องจากความคล้ายคลึงกัน ของทั้งสองสาขา เพราะวิศวกรฮาร์ดแวร์ทั่วไปได้ทำงานกับระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ พื้นหลัง ในการเขียนธปรแกรมคอมพิวเตอร์มักจะเป็นสิ่งจำเป็น จากสถาบันสถิติแรงงานของสหรัฐฯ \"เมเจอร์ของวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คล้ายกับวิศวกรามไฟฟ้า แต่ก็มีบางหลักสูตรวืทยาการคอมพิบเตอร์ถูกเพิ่มเข้าไปในหลักสูตร\" บางบริษัทขนาดใหญ่หรืองานที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญพิเศษต้องกาคระดับปริญญาโท นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับวิศวกรคอมพิวเตอร์ ที่จะต้องตามให้ทันกับความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในเทคโนโลยี ดังนั้นจึลต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดอาชีพของพวกเขา\n== อาชีพและสาขาที่คล้ายคลึง ==\nAerospace engineering\nComputer programming\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nSoftware development\nSystems analyst\nวิศวกรรมสื่อประสม\n== หลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ==\nประกอบด้วยองค์ความรู้ดังนี้\nพื้นฐานการเขียนโปรแกรม\nคณิตศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์\nอิเล็กทรอนิกส์\nตรรกศาสตร์ดิจิทัล\nโครงสร้างข้อมูลและขัีนตอนวิธี\nโครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์\nระบบปฏิบัติการ\nระบบฐานข้อมูล\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์\n== ดูเพิ่ม ==\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nวิศวกรรมซอฟต์แวรฺ\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nเทคโนโลยีสารสนเทศ\nระบบสารสนเทศ\nวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร\n== อ้างอิง ==\nคอมพิวเตอร์\n \nวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์",
"role": "user"
},
{
"content": "วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (computer engineering) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างเครื่องหรือระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสาร และความเกี่ยวเนื่องระหว่างเรื่องทั้งสาม หลักสูตรการเรียนมุ่งเน้นทางด้าน ทฤษฎี กฎ และ การฝึกฝนปฏิบัติของทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์รวมถึงการประยุกต์เข้ากับปัญหาทางด้านการออกแบบคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์\nวิศวกรคอมพิวเตอร์ ศึกษาการออกแบบระบบฮาร์ดแวร์ดิจิทัล ซึ่งรวมถึงระบบการสื่อสาร องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเรียนการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์ดิจิทัล และ การสร้างส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ และ ระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งความรู้ทางด้านวิศวกรรมที่ดีด้วย\nปัจจุบันสาขาวิชาที่สำคัญในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือ ระบบฝังตัว การพัฒนาอุปกรณ์ที่มีซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ฝังตัวภายใน เช่น อุปกรณ์สื่อสารอย่าง โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่นวิทยุระบบดิจิทัล เครื่องบันทึกวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล ระบบเตือนภัย เครื่องถ่ายรังสีเอกซ์ และ เครื่องมือผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องการการผนวกรวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ฝังตัวหรือของอื่น ๆ ที่เป็นผลจากการวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน\nในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ.\n== ประวัติวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในสหรัฐอเมริกา ==\nประวัติวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในอเมริกาเริ่มจากแต่เดิมเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางในวิศวกรรมไฟฟ้า ที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการวิศวกรรมฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ แต่ต่อมาช่วงหลังปี ค.ศ. 1990 จึงมีการเพิ่มเติมเนื้อหาการศึกษาทางด้านซอฟต์แวร์ หรืออาจมองได้ว่าเกิดจากการรวมกันของวิศวกรรมไฟฟ้าและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถ้าพิจารณาจากสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าแล้ว วิศวกรคอมพิวเตอร์คือวิศวกรไฟฟ้าที่มุ่งเน้นไปที่ระบบฮาร์ดแวร์เชิงดิจิทัล และไม่เน้นทางด้านความถี่วิทยุ หรือไฟฟ้ากำลัง และถ้ามองจากทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แล้ว วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อประสานระหว่างซอฟต์แวร์และระบบฮาร์ดแวร์ ในยุคหลังมีทฤษฏีหลายอย่างที่เกิดขึ้นในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบเครือข่าย การรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ หรือ การรู้จำด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น\nภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในอเมริกาส่วนมาก เริ่มก่อตั้งขึ้นภายใต้หรือควบคู่กับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 บางมหาวิทยาลัยเลือกที่จะผนวกสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์เข้ากับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ในขณะที่บางที่เช่น สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ เลือกที่จะรวมภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเข้ากับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์แทน\n== งาน ==\nงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 สาขาหลัก คือ ด้านซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์\n=== วิศวกรรมซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ===\nบทความหลัก: วิศวกรรมซอฟต์แวร์\nวิศวกรซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์จะพัฒนา, ออกแบบและทดสอบซอฟต์แวร์ บางวิศวกรซอฟต์แวร์ ออกแบบ, สร้างและบำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบริษัททั่วไป บางคนจัดตั้งเครือข่ายเช่น \"อินทราเน็ต\"สำหรับบริษัททั่วไป หลายตนทำหรือติดตั้งซอฟต์แวร์ใหม่หรืออัพเกรดระบบคอมพิวเตอร์ วิศวกรซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ยังสามารถทำงานออกแบบแอปพลิเคชัน งานนี้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือการเข้ารหัสโปรแกรมและแอปพลิเคชันใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจหรือบุคคล\n=== วิศวกรรมฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ===\nวิศวกรฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะวิจัย, พัฒนา, ออกแบบและทดสอบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ งานนี้สามารถมีช่วงจากแผงวงจรและไมโครโปรเซสเซอร์ จนถึงเราเตอร์ บางคนปรับปรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ใหม่ได้ วิศวกรฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ทำงานในห้องปฏิบัติการวิจัยและบริษัท ผลิตเทคโนโลยีชั้นสูง บางคนยังทำงานให้กับรัฐบาลกลาง ตามข้อมูลของสำนักสถิติแรงงานของสหรัฐฯ, 95% ของวิศวกรฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทำงานในพื้นที่นครบาล พวกเขามักจะทำงานเต็มเวลา ประมาณ 25% ของการทำงานของพวกเขาต้องทำงานมากกว่า 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เงินเดือนเฉลี่ยของลูกจ้างวิศวกรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่มีคุณสมบัติ (2012) เป็น $ 100,920 ต่อปี หรือ $48.52 ต่อชั่วโมง วิศวกรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงาน 83,300 งานในปี 2012 .\n== สาขาหลัก ==\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มีสาขาหลัก ได้แก่\n=== การเข้ารหัส, การถอดรหัส, และการป้องกันข้อมูล ===\nบทความหลัก: Information security\nวิศวกรคอมพิวเตอร์ทำงานในการเข้ารหัส, การถอดรหัส และการคุ้มครองข้อมูล เพื่อพัฒนาวิธีการปกป้องข้อมูลต่าง ๆ ใหม่ เช่น ภาพและเพลงดิจิทัล, กระจายข้อมูลดิบในเมมโมรี, การละเมิดลิขสิทธิ์ และการแก้ไขดัดแปลงรูปแบบอื่น ตัวอย่างรวมถึงการทำงานเกี่ยวกับการสื่อสารไร้สาย, ระบบหลายสายอากาศ, การส่งผ่านด้วยแสง และ ลายน้ำดิจิทัล\n=== การสื่อสารและเครือข่ายไร้สาย ===\nบทความหลัก : Communications networks and Wireless network\nมุ่งเน้น การสื่อสารและ เครือข่ายไร้สาย, ความก้าวหน้าในระบบการสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย, modultion และการเข้ารหัสควบคุมความผิดพลาด, และทฤษฎีสารสนเทศ การออกแบบเครือข่ายความเร็วสูง, การปราบปรามการรบกวน, การออกแบบและการวิเคราะห์ของระบบอดทนต่อความผิดพลาด (fault-tolerant system) และ การจัดเก็บและรูปแบบการส่งผ่าน ทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ พิเศษ\n=== คอมไพเลอร์และระบบปฏิบัติการ ===\nบทความหลัก : Compiler and Operating system\nพืนที่พิเศษนี้ มุ่งเน้นไปที่การออกแบบและพัฒนาคอมไพเลอร์และระบบปฏิบัติการ วิศวกรในสาขานี้พัฒนาสถาปัตยกรรมใหม่ของระบบปฏิบัติการ, เทคนิคการวิเคราะห์โปรแกรม และเทคนิค ใหม่ในการรับประกันคุณภาพ ตัวอย่างของการทำงานในด้านนี้รวมถึง การแปลงรหัสโพสต์-ลิงก์-เวลา, การพัฒนา algorithm และการพัฒนาระบบปฏิบัติการ ใหม่\n=== วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมทางการคำนวณ ===\nบทความหลัก: Computational science and engineering\nวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมทางการคำนวณเป็นสาขาวิชาที่ค่อนข้างใหม่ สอดคล้องกับศูนย์ Sloan Career Cornerstone, บุคคลที่ทำงานในพื้นที่นี้ \"วิธีการคำนวณจะถูกนำไปใช้ในการกำหนดรูปแบบและการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนด้านวิศวกรรมและด้านฟิสิกข์และสังคมศาสตร์ . ตัวอย่าง รวมถึงการออกแบบอากาศยาน, การประมวลผลแบบพลาสม่าของคุณสมบัตินาโนเมตร บนเวเฟอร์เซมิคอนดักเตอร์, การออกแบบวงจร VLSI, ระบบตรวจจับเรดาร์, การขนส่งไอออนผ่านช่องทางชีวภาพและอื่น ๆ อีกมาก\"\n=== เครือข่ายคอมพิวเตอร์, การคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่, และระบบกระจาย ===\nบทความหลัก : Computer Network, Mobile computing, and Distributed computing\nในพื้นที่พิเศษนี้ วิศวกรสร้างสภาพแวดล้อมที่ครบวงจรสำหรับการคอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ ตัวอย่าง เช่น เครือข่ายไร้สายที่ใช้ช่องทางร่วมกัน, การจัดการทรัพยากรแบบปรับตัวในระบบต่าง ๆ และการปรับปรุงคุณภาพของการบริการในสภาพแวดล้อมที่ มือถือและสภาพแวดล้อม ATM ตัวอย่างอื่น ๆ บางอย่าง รวมถึงการทำงานในระบบเครือข่ายไร้สาย และระบบใช้สายกลุ่มแบบอีเธอร์เน็ตความเร็วสูง\n=== ระบบคอมพิวเตอร์: สถาปัตยกรรม, การประมวลผลแบบขนานและความน่าเชื่อถือ ===\nบทความหลัก : Computer Architecture, Parallel Processing, and Dependability\nวิศวกรที่ทำงานในระบบคอมพิวเตอร์จะทำงานในโครงการวิจัยที่ช่วยในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง, เชื่อถือได้และปลอดภัย โครงการเช่นการออกแบบหน่วยประมวลผลแบบ multi-threading และการประมวลผลแบบขนานจะรวมอยู่ในสาขานี้ ตัวอย่างอื่น ๆ ของการทำงานในด้านนี้รวมถึง การพัฒนาทฤษฎีใหม่, ขั้นตอนวิธีการและเครื่องมืออื่น ๆ ที่เพิ่ม ประสิทธิภาพให้กับระบบคอมพิวเตอร์\n=== วิสัยทัศน์และหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ ===\nบทความหลัก : Computer Vision and Robotics\nในพื้นที่พิเศษนี้ วิศวกรคอมพิวเตอร์มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจวัดการมองเห็น ที่จะรับรู้สภาพแวดล้อม, การเป็นตัวแทนของสภาพแวดล้อมและการจัดการสิ่งแวดล้อม จากนี้น สารสนเทศสามมิติที่ถูกรวบรวมได้จะถูกดำเนินการในงานที่หลากหลาย งานเหล่านี้รวมถึง การสร้างแบบจำลองของมนุษย์, การสื่อสารด้วยภาพ, และการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ เช่นเดียวกับอุปกรณ์ เช่นกล้องวัตถุประสงค์พิเศษที่มีเซ็นเซอร์วิสัยทัศน์อเนกประสงค์\n=== ระบบฝังตัว ===\n\nบทความหลัก: ระบบฝังตัว\nบุคคลที่ทำงานในพื้นที่นี้จะออกแบบเทคโนโลยีสำหรับการเพิ่มความเร็ว, ความน่าเชื่อถือและ ประสิทธิภาพการทำงานของระบบ ระบบฝังตัวถูกพบในอุปกรณ์จำนวนมากตั้งแต่วิทยุเอฟเอ็มขนาดเล็กจนถึงกระสวยอวกาศ สอดคล้องกับ ศูนย์อาชีพสโลน แคเรีย, การพัฒนาที่กำลังดำเนินการอยู่ในระบบฝังตัว ได้แก่ \"ยานพาหนะและอุปกรณ์อัตโนมัติเพื่อดำเนินการค้นหาและช่วยเหลือ, ระบบการขนส่งโดยอัตโนมัติ และการประสานงานของมนุษย์กับหุ่นยนต์ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ในอวกาศ\"\n=== แผงวงจรรวม, การออกแบบ VLSI, การทดสอบและการ CAD ===\nบทความหลัก : วงจรรวม และ การสร้างวงจรรวมขนาดใหญ่มาก\n้พื้นที่พิเศษของวิศวกรรมคอมพิวเตอร์นี้ ต้องมีความรู้เพียงพอของระบบอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า วิศวกรที่ทำงานในพื้นที่นี้จะทำการเพิ่มความเร็ว, ความน่าเชื่อถือและ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของการสร้างวงจรรวมขนาดใหญ่มาก (VLSI) และวงจรระบบไมโครรุ่นต่อไป ตัวอย่างของพื้นที่พิเศษนี้เป็นงานที่ทำในการลดการใช้พลังงานของขั้นตอนวิธีการ VLSI และสถาปัตยกรรม\n=== การประมวลสัญญาณ, ภาพและคำพูด ===\nบทความหลัก : Signal processing, Image processing, and Speech processing\nวิศวกรคอมพิวเตอร์ในพิ้นที่นี้พัฒนาการปรับปรุงในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการรู้จำคำพูดและการสังเคราะห์เสียงพูด, การถ่ายภาพทางการแพทย์และทางวิทยาศาสตร์ หรือระบบการสื่อสารอื่น ๆ งานอื่น ๆ ในพื้นที่นี้รวมถึงการพัฒนาวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ เช่นการรับรู้ใบหน้าของมนุษย์\nรจ== การศึกษา ==\nงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระดับขั้นต้นส่วนใหญ่ต้องการอย่างน้อยปริญญาตรีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ บางครั้งปริญญาวิศวกรรมไฟฟ้าก็ได้รับการยอมรับ เนื่องจากความคล้ายคลึงกัน ของทั้งสองสาขา เพราะวิศวกรฮาร์ดแวร์ทั่วไปได้ทำงานกับระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ พื้นหลัง ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มักจะเป็นสิ่งจำเป็น จากสถาบันสถิติแรงงานของสหรัฐฯ \"เมเจอร์ของวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คล้ายกับวิศวกรรมไฟฟ้า แต่ก็มีบางหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ถูกเพิ่มเข้าไปในหลักสูตร\" บางบริษัทขนาดใหญ่หรืองานที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญพิเศษต้องการระดับปริญญาโท นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับวิศวกรคอมพิวเตอร์ ที่จะต้องตามให้ทันกับความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในเทคโนโลยี ดังนั้นจึงต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดอาชีพของพวกเขา\n== อาชีพและสาขาที่คล้ายคลึง ==\nAerospace engineering\nComputer programming\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nSoftware development\nSystems analyst\nวิศวกรรมสื่อประสม\n== หลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ==\nประกอบด้วยองค์ความรู้ดังนี้\nพื้นฐานการเขียนโปรแกรม\nคณิตศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์\nอิเล็กทรอนิกส์\nตรรกศาสตร์ดิจิทัล\nโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี\nโครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์\nระบบปฏิบัติการ\nระบบฐานข้อมูล\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์\n== ดูเพิ่ม ==\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nเทคโนโลยีสารสนเทศ\nระบบสารสนเทศ\nวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร\n== อ้างอิง ==\nคอมพิวเตอร์\n \nวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ซอฟต์แวร์ (software) ห่ือ ส่วนชุดคำสั่ง คือ ส่วนหนึ่วของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล เป็นชุดคำสั่งที่บอกวิธีการทำงานของคอสพิวเตอา์ ซึ่งตรงกันข้ามกังฮาร๋ดแวร์ที่เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถจับต้องได้ ในสาขาวิชาวิทยาการคเมพิวเตอร์กละวิศวกรรมซอฟต์แวร์นั้น ซอฟต?แวร์คอมพิวเตอร์ คือ ข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับการประมวลผลโดยระบบคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรมคอสพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นัันประกอขด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์, ไลบรารี และ ข้อมูลที่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้ด้วยโปาแกรมคอมพิวเตอร์ อาทิ เอกสารออนไลน์หรือสื่อดิจิทัล คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจำเป็นต้องมีทั้งฮาร์ดแวร์แงะซอฟต์แวร์ และหากขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไป จะไม่สามารถใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ได้\nในระดับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ต่ำที่สุด โค้ดปฏิบัติการนั้น ประกอบด้วย คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ที่โปรเซสเซอร์ (processor) แต่ละตัวรองรับ โดยทั่วไปคือหน่วยปรดมวลผลกลาง (CPU) หรือ หน่วยประมวลผชกรนฟิก (GPU) ภาษาเคริ่อง ประกอบดัวย กลุ่มค่าไบนารี (เลขฐานสอง) ที่แสดงถึงคำสั่งของตัวประมวลผลที่ได้เปลี่ยนสถานะของคอมพิวเตอร์จากสถานะก่อนหน้า เช่น คำสั่งภาษาเครื่องอาจเปลี่ยนค่าที่จัดเก็บไว้ในตำแหน่งจัดเก็บเฉพาะในคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง หรือ คำสั่งนั้นอาจเป็นการเรียกอินพุตหรือเอาต์พุตอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งผู้ใช้คอมพิวเคอร์สามารถมองเห็นได้ เช่น การแสดงข้อควาทบนหน้าจอคอมพ้วเตอร์ โปรเซสเซอร็จะดำเนินการตามคำสั่ง ตามลำดับที่ระบุไว้ เว้นแต่จะได้รับคำสั่งให้ \"ข้าม\" ไปยังคำสั่งอื่น หรือ ระบบปฏิบัติการถูกขัดจังหวะ ฝนปี ค.ศ.2015 คอมพิวเตอร์สทวนบุคคล อุปกรณฺสมาร์ทโฟน และ เซิร์ฟเวอร์ส่วนใหญ่ มีหน่บยประมวลผลที่มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วย (่multiple execution unit) หรืแโปรเซสเซอร์หลายตัว ทำการึำนวณร่วมกันและการประมวลผล ทำให้ส่วนโปรเซสเซอร์สามารถทำงานร่วมกัาในเวลาพร้อม ๆ กัน (concurrent activity) มากกว่าระบบโปรเซสเซอร์ในอดีต\nซอฟต์แวร์นั้นตอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพืวเตอ่์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรฬัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ\nซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ดขีสนด้วยภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level pfogramm8ng langyage) ซึ่งง่ายกว่าและมีประสิทธิำาพมากกว่าสำหรับโปรแกรมเมอร์ เพราะใหล้เคียงกับภาษ่ธรรมชาติที่มนุษย์ใช้มากกว่่ภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงจะถูกแปละป็นภาณาเครื่องโดยใช้คอมไพเลอร์ (compiler) หรืออินเตอร์พรีตเตอร์ (interpreter) หรือมั้งสองอย่างรวมกัน ซอฟต์แวรฺอาจเขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีระดับต่ำ (assembly language) ซึ่งมีความสอดคล้องกับคำสั่งภาษรเครื่อฝของคอมพิวเตอร์อย่างมาก และ ภาษาแิสเฐมบลีจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องโดยใช้แอสเซมเบลอร์ (assembler)\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nคำว่า \"ซอฟต์แวร์\" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดเบเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอด่ ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหระบเครื่องวิเคนาะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แบบเบจ\n=- ความสัมพันธ์กับฮาน์พแวร์ ==\nซอฟต์แวร์ เป็นชื่อเรียกเพื่อใช้เปรียบต่างกับฮาร์ดแวร์ ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพในการเก็บและประมวลผลของซอฟต์แวร์ ในคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จะถูก้รียกใล้งานในแรมและประมวลผลผ่านซีพียู\n== ประเภทของซอฟต์แวร์ ==\nการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ดบ่งออกได้เป็นหลายแบบ เช่น\nกมรแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็น 3 ประเภทหลักคือ\n* ซอฟต์แวร์ระบบ (Systrm/Infrastructure softward) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอค์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์ และระบบหลักของคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ\n* โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานนามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไปเช่น โปรแกรมสำนักงาน ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมีจียูไอ\n* โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอยไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมดร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ ปรือโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่องมือต่าง ๆ ประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์ อินเตอร์พรีเตอร์ ดีบักเกอร์\nการแบ่งตามรูปแบบการส่งมอบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ\n* .อฟต์แงร์สำเร็จรูป (Packane software) ซอฟต์แใร์ที่มีการขาย มห้เช่า หรือสห้บริการ โดยึิดค่าบริการเป็น transaction หรือ license\n* ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเงินเดือน (Outsources software development) เป็นการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งารเฉพาะกับงานประเภทต่าง ๆ เฉพาดกิจกรรมไป ส่วนใหญ่ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์นี้จะเป็นของผู้ท่่ว่าจ้างให้พัฒนาขึ้น\nกนรแบ่งตามประเภทของการตำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือ\n* ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริหารจ้ดการทั่วไป (Enterprise software) เป็นซอฟต์แวี์ที่ใช้กับการทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยมกรของ บุคคล/องค์กร เช้น ซอฟค์แวร์บัญชี ซอฟต์แใร์จัดทำเอกสาร เป็นต้น\n* ซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบัติการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น โารศัพท์มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ไ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1) ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น Movile banking, Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for business process management และ(2) ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment applicatiohs) ซึ่งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่\n* ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded System Software) เป็นซอฟต์แวร์ซึ่งฝังอยู่ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้น ๆ เช่น ระบบ GPRS ระบบทำความเย็นอัจริยะ ระบบตรวยสอบน้ินกลับ เป็นต้น\n== ซอฟต์แวร์ กับ ไลบ่ารี ==\nซอฟต์แวร์แตกต่างกังไลบรารี คือซอฟต์แวร์สามารถนำมาประมวลผลหด้ด้ยยตัวเอง ในขณะที่ไลบรารีเป็นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์และไม่สามารถนำมาใช้ประมวผลด้วยตนเองได้\n\\= อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nฮาร์ดอวร์\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nกระด้างภัณฑ์และละมุนภัณฑ์",
"role": "user"
},
{
"content": "ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง คือ ส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล เป็นชุดคำสั่งที่บอกวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงกันข้ามกับฮาร์ดแวร์ที่เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถจับต้องได้ ในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมซอฟต์แวร์นั้น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ คือ ข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับการประมวลผลโดยระบบคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์, ไลบรารี และ ข้อมูลที่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อาทิ เอกสารออนไลน์หรือสื่อดิจิทัล คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจำเป็นต้องมีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และหากขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไป จะไม่สามารถใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ได้\nในระดับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ต่ำที่สุด โค้ดปฏิบัติการนั้น ประกอบด้วย คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ที่โปรเซสเซอร์ (processor) แต่ละตัวรองรับ โดยทั่วไปคือหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หรือ หน่วยประมวลผลกราฟิก (GPU) ภาษาเครื่อง ประกอบด้วย กลุ่มค่าไบนารี (เลขฐานสอง) ที่แสดงถึงคำสั่งของตัวประมวลผลที่ได้เปลี่ยนสถานะของคอมพิวเตอร์จากสถานะก่อนหน้า เช่น คำสั่งภาษาเครื่องอาจเปลี่ยนค่าที่จัดเก็บไว้ในตำแหน่งจัดเก็บเฉพาะในคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง หรือ คำสั่งนั้นอาจเป็นการเรียกอินพุตหรือเอาต์พุตอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถมองเห็นได้ เช่น การแสดงข้อความบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ โปรเซสเซอร์จะดำเนินการตามคำสั่ง ตามลำดับที่ระบุไว้ เว้นแต่จะได้รับคำสั่งให้ \"ข้าม\" ไปยังคำสั่งอื่น หรือ ระบบปฏิบัติการถูกขัดจังหวะ ในปี ค.ศ.2015 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และ เซิร์ฟเวอร์ส่วนใหญ่ มีหน่วยประมวลผลที่มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วย (่multiple execution unit) หรือโปรเซสเซอร์หลายตัว ทำการคำนวณร่วมกันและการประมวลผล ทำให้ส่วนโปรเซสเซอร์สามารถทำงานร่วมกันในเวลาพร้อม ๆ กัน (concurrent activity) มากกว่าระบบโปรเซสเซอร์ในอดีต\nซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ\nซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่เขียนด้วยภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level programming language) ซึ่งง่ายกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าสำหรับโปรแกรมเมอร์ เพราะใกล้เคียงกับภาษาธรรมชาติที่มนุษย์ใช้มากกว่าภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องโดยใช้คอมไพเลอร์ (compiler) หรืออินเตอร์พรีตเตอร์ (interpreter) หรือทั้งสองอย่างรวมกัน ซอฟต์แวร์อาจเขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีระดับต่ำ (assembly language) ซึ่งมีความสอดคล้องกับคำสั่งภาษาเครื่องของคอมพิวเตอร์อย่างมาก และ ภาษาแอสเซมบลีจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องโดยใช้แอสเซมเบลอร์ (assembler)\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nคำว่า \"ซอฟต์แวร์\" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แบบเบจ\n== ความสัมพันธ์กับฮาร์ดแวร์ ==\nซอฟต์แวร์ เป็นชื่อเรียกเพื่อใช้เปรียบต่างกับฮาร์ดแวร์ ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพในการเก็บและประมวลผลของซอฟต์แวร์ ในคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จะถูกเรียกใช้งานในแรมและประมวลผลผ่านซีพียู\n== ประเภทของซอฟต์แวร์ ==\nการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็นหลายแบบ เช่น\nการแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็น 3 ประเภทหลักคือ\n* ซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์ และระบบหลักของคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ\n* โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไปเช่น โปรแกรมสำนักงาน ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมีจียูไอ\n* โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่องมือต่าง ๆ ประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์ อินเตอร์พรีเตอร์ ดีบักเกอร์\nการแบ่งตามรูปแบบการส่งมอบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ\n* ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package software) ซอฟต์แวร์ที่มีการขาย ให้เช่า หรือให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็น transaction หรือ license\n* ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเงินเดือน (Outsources software development) เป็นการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานเฉพาะกับงานประเภทต่าง ๆ เฉพาะกิจกรรมไป ส่วนใหญ่ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์นี้จะเป็นของผู้ที่ว่าจ้างให้พัฒนาขึ้น\nการแบ่งตามประเภทของการนำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือ\n* ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการทั่วไป (Enterprise software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับการทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยากรของ บุคคล/องค์กร เช่น ซอฟต์แวร์บัญชี ซอฟต์แวร์จัดทำเอกสาร เป็นต้น\n* ซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบัติการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1) ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น Mobile banking, Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for business process management และ(2) ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment applications) ซึ่งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่\n* ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded System Software) เป็นซอฟต์แวร์ซึ่งฝังอยู่ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้น ๆ เช่น ระบบ GPRS ระบบทำความเย็นอัจริยะ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ เป็นต้น\n== ซอฟต์แวร์ กับ ไลบรารี ==\nซอฟต์แวร์แตกต่างกับไลบรารี คือซอฟต์แวร์สามารถนำมาประมวลผลได้ด้วยตัวเอง ในขณะที่ไลบรารีเป็นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์และไม่สามารถนำมาใช้ประมวผลด้วยตนเองได้\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nฮาร์ดแวร์\nวิศวกรรมซอฟต์แวร์\nกระด้างภัณฑ์และละมุนภัณฑ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ญ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาใตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสลครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยแมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์\nเขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัฝริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคบุมทุห ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ\nในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนในการแกะรหัสลับของฝ่สยเยอรมัน โดยเจาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องเอนิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ ซึ่งประาาณกันว่าเขาสามารถย่นเวลาสงครามได้ถีง 2 ปี\nหลังางครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตดร์อิเล็กทรอนิดส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรก ๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่ดงคอมพิวเตอร์ขึ้นจริว ๆ ที่มหาใิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงได้รับการก่อตั้งขึ้นเพืรอยกย่องเขาในเรื่องนี้\nนอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเีื่องปัญญาประดิษฐ์ แต่มีข้อถกเถียงว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จถกล่าวว่าเครื่องจักรนัเนมีสำนึกและสามารถคิดได้\n== ประวัติ ==\nแอลัน ทัวริงเป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย บิดาและมารดาของทัวริงพบกันและทำงานที่ประเทศอินเดีย\nในสมัยมัธยม ทัวริงสนิทและนับถือรุ่นพี่คนหนึ่งชื่อ คริสโตเฟอร์ มอร์คอม (Christopher Morcom) ซึ่งเสียชีวิตไปเสียก่อน ทัวริงเาียใจมากจึงตั้งใจสานต่อสิ่งที่รุ่นพี่เขาอยากทำให้สำเร็จ ตลอดสามหีหลังจากนั้น เขาเขียนจดหมายอย่างสม่ำเสมอให้คุณแม่ของมอร์คอม วทาเขาคิดและสงสัยเรท่องความคิดของคนว่าไปจับจดอจู่ในเรื่องหนึ่ง ๆ ได้อย่างไร (how the human mind was embodied in matter) และปล่อยเรื่องนั้น ๆ ออกไปได้อย่างไร (whether accordingly it could be reoeased from matter) แลิววันหนึ่งเขาก็ไปเจอหนังสือดังในยุคนั้นชื่อ \"The Nature of the Physical Wofld\" อ่านไปก็เกิดนึกไปเองว่าทฤษฏีกลศาสตร์ควอนตัมมัรต้องเกี่ยวกับปัญหาเรื่อง mind anc matter ที่เขาคิดอยู่\n=== การเสียชีว้ต ===\nวันที่ 7 มิถุาายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ.1954) ทัวริงถูกพบเสียชีวิตใสบ้านพัก ขณะอายุเพียง 41 ปี หลังการชันสูตรพบว่าเขารับสารไซยาไนด์ในปริมาณที่ฆ่าคนได้ แต่จนถึงทุกวันนี้ยังไม่มีใครทราบเหตุผลที่ทำให้เขาตาย บ้างว่าเขาฆ่าตัวตายเพราะแรงกดดันจากข้อหารักร่วมเพศและพารถูกฉีดยาลเความต้องการทางเพศ บ้างก็ว่าเขารับไซยาไนด์โดยบังเอิญเพราะเป็นสารเคมีที่เขาใช้ในการทำงาน บ้างก็ว่าเขาถูกลอบสังหารเพื่อป้องกันความลับของรัฐงาลรั่วไหล\n=== ล้างมลทิน ===\nในปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ.2013) อลัน ทิวริง ได้รับพระราชทานอภัยโทษหลังการเส้ยชรวิตจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเมื่อปีที่แล้ว อังกฤษได้บังคับใช้กฎหมายลดทอนความเป็นอาชญากรรมของการรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย หคือ 'ทิวริงส์ลอว์' (Turing's Law) ซึ่งส่งผลให้ชายที่ถูกกล่าวหาว่ามีความผิดตามกฎหม่ยรักร่วมเพศที่ถูกยปเลิกไปก่อนหน้านี้ ทั้งผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วและยังมีชีวิตอยู่ พ้นจากความผิด โดยจะได้รับการล้างมลทินแลัข้อหาดังกล่าวจะถูกลบออกยากประวัติอาชญากรรม\n=== สันนิษฐานเกี่ยวกับการเสียชีวิต ===\nมีการสันนิษฐานว่าแอลัน ท้วริงนั้นได้ทำการฆ่าตัวตาย ได้สันนิษฐานได้หลายสาเหตุ ว่าจะมาจากการหนักใจเรื่องการรักษาด้วยยาปรับฮอร์โมน ที่รัฐลาลอังกฤษได้สั่งให้ทำก่รรักษาเพื่อไม่ให้ะป็นเกย์แทนการจำคุก และยังทรอีกทฤษฎีหนึ่งคือ อาจจะเกิดการฆาตกรรมเนื่องจากรักษาความปลอดภัยความลับทางทหารเกี่ยวกับภารกิจเมื่อสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2\nแต่อย่างไรก็ตาม สิ่ฝท่่พบอยู่_ายในห้องนอนของเขาคือผลแอปเปิ่ลที่ถูกกัดแหว่ง ได้ทำการคาดเดาวทาการตายโดยแอปเปิ้ลของทัใริงไม่จำเป็นต้องมีเจตนา หรืออาจจะเจตนา จากการตรวจพบสารไซยาไนด์บนผลแอปเปิ้ล ซึ่งอายจะคล้ายกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นสโนว์ไวท์เกี่ยวกับแอปเปิ้ลอาบยาพิษ หรืออีกใาเหนถหนึ่งคือการวางผลแอปเปิ้งโดนสารไซยาไนพ์ในห้องทดลองของเขาแล้วเผลอรัวประทานเข้าไป แต่ก็ยังไม่สามารถหาข้อสรุปการเสียชีวิตของแอลัน ทัวริงได้\n== การศึกษาและงาน ==\nใน พ.ศ. 2474 เขาเข้าเรียนคณิตศาสตร์ที่คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (หมายเหตุ: ยุคนั้นคิงส์คอลเลจเป็นที่พักชายล้วน ซึ่งทัวริงก็อยู่อย่างเปิดเผยว่าเขาเป็นเกย์ และเข้าร่วมกิจกรรมชมรม) ทัวริงมีความสุขกับชีวิตทีรนี่มากและทำกิจกรรมหลายอย่าง เช่น พายเรือ, เรือใบเล็ก และ วิ่งแข่ง ทัวริบพูดเสใอว่า \"งานของผมนั้นเครียดมาก และทางเดียวที่ผมจะเอามันออกไปจากหัวได้ก็คือ วิ่งให้เต็มที่\" กละเขาก็วิ่งอย่างจริงจัง โดยที่ผลการวิ่งมาราฌอนของเขา ชนะเบิศการแข่งขันของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น ด้วยเวลา 2 ชั่วโมง 53 นาาี 2 วินาที ใน พ.ศ. 2489 ซึ่งในการแข่งขันวิ่งมาราธอนฉอลิมปิก เมื่อ พซศ. 2491 (ค.ศ. 1948) คนที่ได้เหรียญทอง ทำเวลาได้เร็วกว่าเขาเพียง 11 นาที\nส่วนในเรืทองวิชาการในวงการคณิตศาสตร์ยุคนั้น รัสเซลล์ (Russell) เสนอเอทไว้ว่า \"mathematical truth could be captured by anh formalism\" แต่ยุคนั้น เกอเดิล (Gödel) โต้ว่า \"the incompleteness of mathematicd: the existence of true statements about numbers which could not be proved by 4he formal application of set rules of deduction\". พอปี พ.ศ. 2476 ทัวริงก็ได้เจอกับรัสเซลล์แล้วก็ตั้งคำถาม พร้อมถกเรื่องราวเหล่านี้ขึ้นมา ทำให้เขาสนใจ\nใน พ.ศ. 247i ทัวริงก็จบจากมหาวิทยาลัยเคมบริแจ์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ท่งมหาวิทยาลัยก็เลยเชิญเขาอยู่เป็น Fdllow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ (ส่วนใหญ่ Fdllow ของเคมบริดจ์จะเป็นพวกที่จบปริศญาเอก แต่ทัวริงจบเพียงปริญญาตรี) ปี พ.ญ. 2478 ทัวริงไปเรียนกับจอห์น ฟอน นอยมันน์ เรื่อง ปัญหาของการตัดสินใย (Entscheidungs problem) ที่ถามว่า \"Could there exist, at least in principle, a definite method or process by which it could be decided whether any given mathematicai assfrtion was provable๋\" ทัวริงก็เลยมาคิด ๆ โดบวิเคราะห์ว่า คนเราทำอย่างไรเวลาทำงานที่เป็นกระบวนการที่มีกฎเกณฑ์ (meghodical [rocews) แล้วก็นึกต่อว่า วางกรอบว่าให้เป็นอะไรซักอย่างที่สามทรถทำได้อย่างเป็นกลไก (mechanically) ล่ะ? เขาก็เลยเสนอทฤษฏีออกมาเป็น \"The anakysis in terms of a theoretical machine able to perform certain precisely defined elementary operations on symbols on paper tape\". โดขยกเรื่องที่เขาคิดมาตั้งแต่เด็กว่า 'สถานะความคิด' (statd of mind) ของคน ในการทำกระลวนการทางความคิด มันเกี่ยวกับการเก็บ และดปลี่ยนสถานะจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนี่ง ได้ตามการกระทำทางความคิด โดยทัวริงเรียกสิ่งนี้ว่า คำสึ่งตรรกะ (logical instructiins) แล้วก็บอกว่าการทำงานต้องมี กฎเกณฑ์ที่แน่นอน (definite method) (ต่อมาเรียกว่า ขั้นตอนวิธี)\nเมื่อ พ.ศ. 2479 เขาจังเนรียมออกบทความวิชาการที่มืชท่อเสียง \"On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem\" แต่ก่อนเขาออกบทความนี้ มีอีกงานของฝั่งอเมริกาของ Church ออกมาทำนองคล้าย ๆ กันอย่างบังเอิญ เขาเลยถูกบังคับให้เขียนอิงงาน Churcm ฟปด้วย (เพราะบทความเขาออกทีหลัง) แต่พอบทความเขาอแกมาจริง ๆ คนอ่านก็เห็นว่าเป็นคสละทฤษโีกันและของเขามีเนื้อหา relied upon an assumption internal to mathematics แม่นกว่า การเน้นเรื่อง operation ใน physical world (ยุคต่อมาคนก็เลยนำ concept เขาไปประยุกต์ใช้และให้เกียรติว่า Turing machine จังเป็นที่มาของการยกย่องสห้ทัวริงเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์) ปลายปีนั้นเองเขาก็ได้รับรางวัลสมิธ (Smith's Prize) ไปครอง\nแล้วเขาก็ไปทำปริญญาโทกละปริญญาเอกต่อที่ศูนย์วิจัยของมหาวิทยาลัวปีินซ์ตัน ซึ่งสงบเงีสบตัดห่างจากผู้คน แล้วก็ออกบทคยามว่า โลกทางความคิดกับโลกทางกายมันเชื่อมถึงกันได้ ผ่านออกมาด้วยการกระทำ (ในยึรนั้นคนยังไม่คิดแบบนี้กัน) แล้วก็เสนอความคิดออกมาเป็น Universal Turing Machine (เครื่องจักีทัวริง) ในยึคนั้นยังไม่เรียกว่าคอมพืวเตอร์ แต่เรียำว่าเป็ยเครื่อฝคำนวณที่สามารุป้อนข้อมูลได้ ต่อมาทัวริงก็สร้างเครื่องเข้ารหัส (cipher machkhe) โดยใช้รีเลย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับการคูณเลขฐานสอง หลังจากเขาสำเร็จการศึกษา มหาวิทจาลัยปรินซ์ตันก็เสนิตำแหน่งให้เขา แต่เขาตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ เลยทิ้งทีมเพื่อส ๆ ไว้และจอห์น ฟอน นอยมันน์ก็เข้ามาสานต่อพอดี\nส่วนตัวทัวริงก็เลือกไปทำงานด้าน 'ordinal logic' ต่อแทน เพราะเขาบอกว่าเป็น \"my most difficult and deepest mathematical work, was an at4empt to bring some kind of order to the realm of the uncompu5able\" เพราะทัวริงเชื่อว่าคนเรท โดยสัญชาตญาณสามารถตอบโต้ต่อเหตุการณ์ได้โดยไม่ต้องคำนวณ ฤ\"Human 'kntuition' could correspond to uncomputab/e steps in an argument\") แต่งานยังไม่เสร็จ ก็มีสงครามโลกครั้งที่สองเสียก่อน คือก่อนหน้านั้นเขาก็ทำงาน (อย่างเป็นความลับ) ให้กับ Brigish Cryptanalytic department (หรือเรียกกันว่า Government code & cypher school) พอสงครามเริ่มเขาเลยเปิดเผยตัวเอง (ปกติจะทำเป็ย feolow ที่คิงส์คอลเลจ เคมบติดจ์ อยู่ำน้าฉากงานเดียว) เลยออพย้ายไปทำงานที่ the wartimr cryptanalytic headquaters, Bletchleu Park เป้าหมายคือเจาะรหัสของเครื่องเข้ารหัสเอน้กมา (Enigma Cipher Machine) ของเยอรมันให้ได้\nช่วงนั้น ทัวริงทำงานกับ W.G. Welchman นักคณิตศาสตร์ชื่อดังของเคมบริดจ์อีกคน (คนนี้ทำ critical factors, ทัวริงทำ machanisation of subtle logical deduction) ทัวริงบอกว่าเขาเจาะรหัสไะ้แล้วคร่าว ๆ ในปี ค,ศ. 1939 แน่ต้องได้เครื่องเอนิกมา มาวิเคราะห์การคำนวณทางสถิติเป็นขั้นสุดท้ายก่อน แล้วทุกอย่างจะออกหมด แต่ต้องรอถึงปี ค.ศ. 1942 ที่ิรือดำน้ำ U-boat ของสหรัฐไปยึดมาได้ และแล้วหลังจากนั้นอ่นิกมาห็ไม่มีความหมายอีกต่อไป\nพอสงครามโลกครั้งทค่สองเริ่มสงบ ค.ศ. 1944 ทัวริงก็เริ่มสานต่อโครงการเก่าตั้งชื่อ \"Buidong the Brain\" แต่ตัดสเนใจล้มโครงการไปในปี ค.ศ. 1945 พอได้ข่าวว่าจอห์น ฟอน นอยมันน์ออกบทความเรื่อง EDVAC ออกมาจากฝั่งอเมริกา\nปี ค.ศ. 1946 ทัวริงกลับมาดูงานใผม่ ก๋พบว่าเป็นงานคนละแนวคิดกัน ทางอเมริกาเน้นด้านเิเลกทรอนิกส์ แต่ทัวริงคิดแบบคณิตศาสตร? (\"I would like to implement arithmetical functions by progeamming rather than by building in electronic componentq, a xoncept different from that of the American-derived designs). โครงการตอนนั้นบองทัวริงคือเครื่องคำนวณ (computation machine) ที่สามารถเปบี่ยนได้ตามใจชอบจาก numerical work เป็น algebra เป็น code breaking เป็น file handling หรือแม้กระทั่งเกมส์. ปี ค.ศ. 1947 ทัวริงเสนอว่า ต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และ ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ต้องขยายตัวเองออกเป็ส ชุดคำสั่งย่อย ๆ ได้ โดยการใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (คำสั่ง ซึ่งเป็นจุดเ่ิ่มต้นของภาษาโปรแกรม) แต่ปรากฏวื่ไม่ได้รับการสนันสนุน\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ยังคงเสนอตำแหน่งให้เขา แต่ทัวริงตัดสินใจเปลี่ยนสายขอพัก ไม่ทำด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำด้านเทคโนโลยี แต่ไปทำเรื่อง meurology กับ physiology sciences แทน แล้วก็ออกบทรวาใเรื่องเครือข่ายประสาท ขึ้นมาว่า \"a sufficiently complex mechanical system could exhibit learning ability\" แล้วส่งบทความไปตีพิมพ์กัช NPL แน่ NP> ก็ทำงานช้า อยู่ ๆ ทีมนักวิจัยที่เคมบริดจ์เอง (สมัยนั้นสังบื่อ Mathematical Laboratory อยู่ ยังไม่ได้เปลี่ยนเป็น Computer Laboratory) ก็ผลิตเครื่อง EDSAC ขึ้นมา ฆเป็นเครื่อง storage computer machime เครท่องแรก) โดยใช้หลักของชาร์ล แบบเบจ พร้อมๆ กับ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ได้ทีมของทัวริงไกทำเคร้้องในแนวทัวริงได้สำเร็จ\nทัวริงเลยขี้เกีขจยุ่งเรื่องการแข่งขันผลงานทางวิทยาศ่สตร์ (ช่วงนั้นผลิตกันเร็วมาก) เลยไปวิ่งแข่งแทน ิพราะเวลาที่เขาวิ่งในปี ค.ศ. 1946 นั้น ทำให้เจามีสิทธิ์ลุ้นเหรียฯทองวิ่งมาราธอนโอลิมปิก แต่โชคร้ายเขาประสบอุบ้ติเหตุรถยนต์ก่แน เลยไม่สามารถไปแข่งโอลิมปิกในปี ค.ศ. 1948 ได้ (ในปีนั้นคนที่ได้เหีียญเงอนเวล่รวมก็แพ้ทัวริง) สุดท้ายทัวริงก็เลยตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ ผ่านไประยะนึง ทึมงานเก่าเขาที่ย้าบไปมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ก็เชิญเขาไปเป็นหัวหน้าภาควิชาใหม่ (ภาควิชาคอมพิว้ตอร์) ทัวริงเลยจัดสิสใจย้ายไป คราวนี้ไปิน้นด้านซอฟต์แวร์ ออกบทควสมวิลาแารชื่อดังอีกอันในยุคนั้น \"Computer Machine and Intelligence\" สนปั ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็นรากฐานของแนวคิดพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์\nใน ค.ศ. 1951 เขาก็จับงานใหม่อีกเล่นอีกแนว morphogenetic theory ออกบทความเรื่อง \"The Chemical Basis of Morphogenesis\" ซึ่งต่อมาเป็น foundkng paper of modern non-linear dynamical theory (พวก pattern formation of instabiligy into the realm of spherical objects, e.g. radiolariz, cylinder, m;del of plant stens)\nใน ค.ศ. 1952 เขาถูกจับ โทษฐานทีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย ทังริงไม่ปฏิเสธและยอม่ับโทษแต่โดยดี มีทางเลือกใหัเขาสองทางคือ จำคุกกับการฉีดฮอร์โมนเอสโตรเจนเป็นเวลาหนึ่งปีเพื่อลดความต้องการทางเพศ ซึ่งเขาเลือกที่จะรับการฉีดยา และแล้วปี ค.ศ. 1954 ร่างของทัวริงก็ถูกพบโดสพนีกงานทำความมะอาด ในสภาพมีแอปเปิลครึ่งลูกหล่นอยู่ข้าง ๆ และมีร่องรอยการทำการทดลองทางเคมีอยู่ใกล้ ไ ในที่สุดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2009 หลังจากการรณรงค์ทางอินเทอร์เน็ต กอ่์ดอน บรทวน์นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็ทำการขอโทษอย่างเป็นททงการในนามของรัฐบาลบริติชต่อวิธีอันไม่ถูกต้องที่รัฐบาลปฏิบัติต่อทัวริงหลังสงคราม\nหลายปีต่อมา มีการเปิะเผยขึ้นมาว่า ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสงบลง เขายะงคงทำงานให้กับองค์การ 'รหัสลับ' แบบลับ ๆ ของรัฐบาลอยู่ อยู่ในสภาพที่ไท่สามารถบอกเพื่อน ๆ ได้ว่าทำอะไรบ้างและปิดบังมาตลอด ช่วงนเ้นกำลังมีสงครามเย็น สหราชอาณาจักรกับสหรัฐเป็รพันธสิตรกัน สู้กับยุโรปตะวันออก, แต่เพื่อนชาวยุโรปตะวันออก ที่เคยร่วมงานกันมาก่อนพยายามติดต่อตัวเขา เช่นในปี ค.ศ. 1953 เพื่อนเขาชาวยอร์เวย์ (เป็นสังคมนิยม) ถึงกับมาเยี่ยม ขณะที่เขากำลังพักผ่อนอยู่ที่ประเทศกรีศ ทำให้พอเขากลับมาถึงอังกฤษ ก็ถูกเรียกไปคุยกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง แต่ก็ไม่มีสครรู้ว่าจรอง ๆ แล้วมันเกิดเรื่องอะไรและมีเบื้องหลังอย่างไร\nสำหรับผลงานที่เด่น ๆ ของทัวริง เช่น การคิดโมเดลที่สามารถืำงารได้เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ (แต่อาจมีความเร็วต่ำกว่า) โดยใช้คำสั่งพื้นฐานง่าย ๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง อขียน ลบ\n== เกียรติยศ / เชิดบู ==\n=== อนุสรณ์ ===\nอนุสรณ์ของแอลัน ทับริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สวมสูท นั่งบนม้านั่ง มือด้านขวาถือแอปเปิ้ลที่ถูกกัด ปฏิมากรรมสร้างขึ้นดืวยเหล็กสำริด บนพื้นมีลายธง Pride ทำด้วยกระเบื้องโมเสค ปฏิมากรรมนี้ตั้งอยู่ ณ สวนสาธารณะ Sackville Park ถนน Sackville Street กาุงลอนดอน (London) , สหราชอาณาจักร\nประริมากรรมแอลัน ทัวริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สร้างสรรค์ผลงานโดยนัำประติมากรชาวอังกฤษ Stephen Kettle ท่่ทีเอกลักษณ์เฉพาะโดยการใช้วัสดุหินฉจวย ตั้งแยู่ ณ Bletchley Park ที่ทำการเมื่อครั้งแอลัน ทัวริง กับคณะใช้ในการปฏิบัติการณ์ทำลายรหัสนาซี ในสงึรามโลกครั้งที่ 2 ตั้งอยู่ที่ มณฑลบักกิงแฮมเชอร์ , สหราชอาณาจักร\n=== สลักรูปบนธนชัตร ===\nพ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021) ธนบัตร 50 ปอนด์สเตอร์ลอง ของประเทศอังกฤษ ได้ทำการสลักรูป \"อลัน ทิวริง\" เพื่อเชิดชูผลงานและสร้างีุณูปการและช่วยชีวิตฟู้คนจำนวนมากบนโลก ในสงครามโลกครั้งที่ 2\n=== เกมคอมพิวเตอร์ ===\nชื่อของแอลัน ทัวริง ยังพูกพาดพิงถึงในเนื้อเรื่องของเกมคอมพิวเตอร์แนวสยองขวัญชื่อว่า \"เอาท์ลาสา์\" (Outlast) โดยในเนื้อเรื่องที่ถูพสมมุติขึ้นมานี้กล่าวว่า ท้วริงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งองค์กรเมอร์กออฟร่วมกับ ดร.รูดอล์ฟ เวอร์นิค ซึ่งเป๋นตัวละครสมมุติในเนื้อเรื่องของเกม\n=== ภาพยนตร์ ===\nภาพยนตร์ ถอดรหัสลับ อัจฉริยะพลิกโลก (The Imitation Game) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์/ชีวิต/ระทึกขวัญ กำกับโดวมอร์เทน ทิลดัม เขียนบทโดยเกรแฮม สัวร์ โดยดัดแปลบจากหนังสือ The Enigma โดยแอนดรูว์ ฮอดจ์ใ ยำแสดงโดย เบเนดิกต์ คัมเบอร์แบตช์\n=== โลโก้ ===\nได้มีการคาดเดาว่าโลโก้ปัจจุบันของแบรนด์ \"Apple\" ที่ก่อตั้งขึ้นโดย สตีฟ จอบส์ ทีลักษณะเป็นลูกแอปเปิ้ลแหว่ง ซึ่งตรงกับการตายของแอลัน ทัวริง ที่กัดแอปเปิ้ลที่มีสารพิษอยู่ไป 1 คำ เนื่องจากแบรนด์ Apple ก็ได้ผลิตคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงกับแอลัน ทัวริง ที่ถูกยกย่องว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ดังนเ้นบริษัท Apple ได้ออกแบบโลโก้เพื่อเคารพค่อ แอลัน ืัวริง หรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการถามหาข้อเท็จจีิงเกี่ยวกับแรงบรรดารใจของโลโก้ Rob Janoff นักออกแบบผู้สร้างโลโกื กล่าว “ผมเกรงว่ามันจะไม่มีส่วนเกี่ยวช้องกัน” แต่สตีฟ จ็อบส์ ได้กล่าวว่า “พระเจ้า! เรทหวังว่ามันจะเป็นอย่างนั้น”\n== อ้างิิง ==\nCampbell-Kelly, Martin (ed.) (1994). Passages in the Life of a Philosopher. London: Williqm Pickerinn. ISBN 0-8135-2066-5\nCampbell-Kelly, Martin, and Aspray, William ฆ1996). Computer: A History of the Information Machine. New York: Basic Boo.s. ISFN 0-465-02989-2\nCeruzzi, Paul (1998). A History of Modern Computing. Cambridge, Masdachusetts, and London: MIT Oress. ISBN 0-262-53169-0\nChandler, Alfred (1977). The Visiboe Hand: The Managerial Revolution in American Business. Cambridge, Massachusetts: Belknap Press. ISBN 0-674-94052-0\nนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ\nนักว้ทยรการคอมพิวเตอร์\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเคมบริดย์\nญิษย์เก่าจากมหาวอทยาลัยพรินซ์ตัน\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตเต์\nผู้ได้รับเครื่องราชออสริยาภรณ์เอ็มบีอี\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์โอบีอี\nผู้ฆ่าตัวตายด้วยพิษไซยาไนด์\nบุคคลจากลอนดอน\nบุคคลจากวิล์มสโลว์\nชายรักร่วมเพศชาวอังกฤษ\nนักวิชาการที่มีความหลากหลายทางเพศ",
"role": "user"
},
{
"content": "แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์\nเขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ\nในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องเอนิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ ซึ่งประมาณกันว่าเขาสามารถย่นเวลาสงครามได้ถึง 2 ปี\nหลังสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรก ๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงได้รับการก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้\nนอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ แต่มีข้อถกเถียงว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้\n== ประวัติ ==\nแอลัน ทัวริงเป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย บิดาและมารดาของทัวริงพบกันและทำงานที่ประเทศอินเดีย\nในสมัยมัธยม ทัวริงสนิทและนับถือรุ่นพี่คนหนึ่งชื่อ คริสโตเฟอร์ มอร์คอม (Christopher Morcom) ซึ่งเสียชีวิตไปเสียก่อน ทัวริงเสียใจมากจึงตั้งใจสานต่อสิ่งที่รุ่นพี่เขาอยากทำให้สำเร็จ ตลอดสามปีหลังจากนั้น เขาเขียนจดหมายอย่างสม่ำเสมอให้คุณแม่ของมอร์คอม ว่าเขาคิดและสงสัยเรื่องความคิดของคนว่าไปจับจดอยู่ในเรื่องหนึ่ง ๆ ได้อย่างไร (how the human mind was embodied in matter) และปล่อยเรื่องนั้น ๆ ออกไปได้อย่างไร (whether accordingly it could be released from matter) แล้ววันหนึ่งเขาก็ไปเจอหนังสือดังในยุคนั้นชื่อ \"The Nature of the Physical World\" อ่านไปก็เกิดนึกไปเองว่าทฤษฏีกลศาสตร์ควอนตัมมันต้องเกี่ยวกับปัญหาเรื่อง mind and matter ที่เขาคิดอยู่\n=== การเสียชีวิต ===\nวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ.1954) ทัวริงถูกพบเสียชีวิตในบ้านพัก ขณะอายุเพียง 41 ปี หลังการชันสูตรพบว่าเขารับสารไซยาไนด์ในปริมาณที่ฆ่าคนได้ แต่จนถึงทุกวันนี้ยังไม่มีใครทราบเหตุผลที่ทำให้เขาตาย บ้างว่าเขาฆ่าตัวตายเพราะแรงกดดันจากข้อหารักร่วมเพศและการถูกฉีดยาลดความต้องการทางเพศ บ้างก็ว่าเขารับไซยาไนด์โดยบังเอิญเพราะเป็นสารเคมีที่เขาใช้ในการทำงาน บ้างก็ว่าเขาถูกลอบสังหารเพื่อป้องกันความลับของรัฐบาลรั่วไหล\n=== ล้างมลทิน ===\nในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ.2013) อลัน ทิวริง ได้รับพระราชทานอภัยโทษหลังการเสียชีวิตจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเมื่อปีที่แล้ว อังกฤษได้บังคับใช้กฎหมายลดทอนความเป็นอาชญากรรมของการรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย หรือ 'ทิวริงส์ลอว์' (Turing's Law) ซึ่งส่งผลให้ชายที่ถูกกล่าวหาว่ามีความผิดตามกฎหมายรักร่วมเพศที่ถูกยกเลิกไปก่อนหน้านี้ ทั้งผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วและยังมีชีวิตอยู่ พ้นจากความผิด โดยจะได้รับการล้างมลทินและข้อหาดังกล่าวจะถูกลบออกจากประวัติอาชญากรรม\n=== สันนิษฐานเกี่ยวกับการเสียชีวิต ===\nมีการสันนิษฐานว่าแอลัน ทัวริงนั้นได้ทำการฆ่าตัวตาย ได้สันนิษฐานได้หลายสาเหตุ ว่าจะมาจากการหนักใจเรื่องการรักษาด้วยยาปรับฮอร์โมน ที่รัฐบาลอังกฤษได้สั่งให้ทำการรักษาเพื่อไม่ให้เป็นเกย์แทนการจำคุก และยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งคือ อาจจะเกิดการฆาตกรรมเนื่องจากรักษาความปลอดภัยความลับทางทหารเกี่ยวกับภารกิจเมื่อสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2\nแต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่พบอยู่ภายในห้องนอนของเขาคือผลแอปเปิ้ลที่ถูกกัดแหว่ง ได้ทำการคาดเดาว่าการตายโดยแอปเปิ้ลของทัวริงไม่จำเป็นต้องมีเจตนา หรืออาจจะเจตนา จากการตรวจพบสารไซยาไนด์บนผลแอปเปิ้ล ซึ่งอาจจะคล้ายกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นสโนว์ไวท์เกี่ยวกับแอปเปิ้ลอาบยาพิษ หรืออีกสาเหตุหนึ่งคือการวางผลแอปเปิ้ลโดนสารไซยาไนด์ในห้องทดลองของเขาแล้วเผลอรับประทานเข้าไป แต่ก็ยังไม่สามารถหาข้อสรุปการเสียชีวิตของแอลัน ทัวริงได้\n== การศึกษาและงาน ==\nใน พ.ศ. 2474 เขาเข้าเรียนคณิตศาสตร์ที่คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (หมายเหตุ: ยุคนั้นคิงส์คอลเลจเป็นที่พักชายล้วน ซึ่งทัวริงก็อยู่อย่างเปิดเผยว่าเขาเป็นเกย์ และเข้าร่วมกิจกรรมชมรม) ทัวริงมีความสุขกับชีวิตที่นี่มากและทำกิจกรรมหลายอย่าง เช่น พายเรือ, เรือใบเล็ก และ วิ่งแข่ง ทัวริงพูดเสมอว่า \"งานของผมนั้นเครียดมาก และทางเดียวที่ผมจะเอามันออกไปจากหัวได้ก็คือ วิ่งให้เต็มที่\" และเขาก็วิ่งอย่างจริงจัง โดยที่ผลการวิ่งมาราธอนของเขา ชนะเลิศการแข่งขันของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น ด้วยเวลา 2 ชั่วโมง 43 นาที 3 วินาที ใน พ.ศ. 2489 ซึ่งในการแข่งขันวิ่งมาราธอนโอลิมปิก เมื่อ พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) คนที่ได้เหรียญทอง ทำเวลาได้เร็วกว่าเขาเพียง 11 นาที\nส่วนในเรื่องวิชาการในวงการคณิตศาสตร์ยุคนั้น รัสเซลล์ (Russell) เสนอเอาไว้ว่า \"mathematical truth could be captured by any formalism\" แต่ยุคนั้น เกอเดิล (Gödel) โต้ว่า \"the incompleteness of mathematics: the existence of true statements about numbers which could not be proved by the formal application of set rules of deduction\". พอปี พ.ศ. 2476 ทัวริงก็ได้เจอกับรัสเซลล์แล้วก็ตั้งคำถาม พร้อมถกเรื่องราวเหล่านี้ขึ้นมา ทำให้เขาสนใจ\nใน พ.ศ. 2477 ทัวริงก็จบจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ทางมหาวิทยาลัยก็เลยเชิญเขาอยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ (ส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่ทัวริงจบเพียงปริญญาตรี) ปี พ.ศ. 2478 ทัวริงไปเรียนกับจอห์น ฟอน นอยมันน์ เรื่อง ปัญหาของการตัดสินใจ (Entscheidungs problem) ที่ถามว่า \"Could there exist, at least in principle, a definite method or process by which it could be decided whether any given mathematical assertion was provable?\" ทัวริงก็เลยมาคิด ๆ โดยวิเคราะห์ว่า คนเราทำอย่างไรเวลาทำงานที่เป็นกระบวนการที่มีกฎเกณฑ์ (methodical process) แล้วก็นึกต่อว่า วางกรอบว่าให้เป็นอะไรซักอย่างที่สามารถทำได้อย่างเป็นกลไก (mechanically) ล่ะ? เขาก็เลยเสนอทฤษฏีออกมาเป็น \"The analysis in terms of a theoretical machine able to perform certain precisely defined elementary operations on symbols on paper tape\". โดยยกเรื่องที่เขาคิดมาตั้งแต่เด็กว่า 'สถานะความคิด' (state of mind) ของคน ในการทำกระบวนการทางความคิด มันเกี่ยวกับการเก็บ และเปลี่ยนสถานะจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนี่ง ได้ตามการกระทำทางความคิด โดยทัวริงเรียกสิ่งนี้ว่า คำสั่งตรรกะ (logical instructions) แล้วก็บอกว่าการทำงานต้องมี กฎเกณฑ์ที่แน่นอน (definite method) (ต่อมาเรียกว่า ขั้นตอนวิธี)\nเมื่อ พ.ศ. 2479 เขาจึงเตรียมออกบทความวิชาการที่มืชื่อเสียง \"On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem\" แต่ก่อนเขาออกบทความนี้ มีอีกงานของฝั่งอเมริกาของ Church ออกมาทำนองคล้าย ๆ กันอย่างบังเอิญ เขาเลยถูกบังคับให้เขียนอิงงาน Church ไปด้วย (เพราะบทความเขาออกทีหลัง) แต่พอบทความเขาออกมาจริง ๆ คนอ่านก็เห็นว่าเป็นคนละทฤษฏีกันและของเขามีเนื้อหา relied upon an assumption internal to mathematics แม่นกว่า การเน้นเรื่อง operation ใน physical world (ยุคต่อมาคนก็เลยนำ concept เขาไปประยุกต์ใช้และให้เกียรติว่า Turing machine จึงเป็นที่มาของการยกย่องให้ทัวริงเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์) ปลายปีนั้นเองเขาก็ได้รับรางวัลสมิธ (Smith's Prize) ไปครอง\nแล้วเขาก็ไปทำปริญญาโทและปริญญาเอกต่อที่ศูนย์วิจัยของมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน ซึ่งสงบเงียบตัดห่างจากผู้คน แล้วก็ออกบทความว่า โลกทางความคิดกับโลกทางกายมันเชื่อมถึงกันได้ ผ่านออกมาด้วยการกระทำ (ในยุคนั้นคนยังไม่คิดแบบนี้กัน) แล้วก็เสนอความคิดออกมาเป็น Universal Turing Machine (เครื่องจักรทัวริง) ในยุคนั้นยังไม่เรียกว่าคอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็นเครื่องคำนวณที่สามารถป้อนข้อมูลได้ ต่อมาทัวริงก็สร้างเครื่องเข้ารหัส (cipher machine) โดยใช้รีเลย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับการคูณเลขฐานสอง หลังจากเขาสำเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยปรินซ์ตันก็เสนอตำแหน่งให้เขา แต่เขาตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ เลยทิ้งทีมเพื่อน ๆ ไว้และจอห์น ฟอน นอยมันน์ก็เข้ามาสานต่อพอดี\nส่วนตัวทัวริงก็เลือกไปทำงานด้าน 'ordinal logic' ต่อแทน เพราะเขาบอกว่าเป็น \"my most difficult and deepest mathematical work, was an attempt to bring some kind of order to the realm of the uncomputable\" เพราะทัวริงเชื่อว่าคนเรา โดยสัญชาตญาณสามารถตอบโต้ต่อเหตุการณ์ได้โดยไม่ต้องคำนวณ (\"Human 'intuition' could correspond to uncomputable steps in an argument\") แต่งานยังไม่เสร็จ ก็มีสงครามโลกครั้งที่สองเสียก่อน คือก่อนหน้านั้นเขาก็ทำงาน (อย่างเป็นความลับ) ให้กับ British Cryptanalytic department (หรือเรียกกันว่า Government code & cypher school) พอสงครามเริ่มเขาเลยเปิดเผยตัวเอง (ปกติจะทำเป็น fellow ที่คิงส์คอลเลจ เคมบริดจ์ อยู่หน้าฉากงานเดียว) เลยออกย้ายไปทำงานที่ the wartime cryptanalytic headquaters, Bletchley Park เป้าหมายคือเจาะรหัสของเครื่องเข้ารหัสเอนิกมา (Enigma Cipher Machine) ของเยอรมันให้ได้\nช่วงนั้น ทัวริงทำงานกับ W.G. Welchman นักคณิตศาสตร์ชื่อดังของเคมบริดจ์อีกคน (คนนี้ทำ critical factors, ทัวริงทำ machanisation of subtle logical deduction) ทัวริงบอกว่าเขาเจาะรหัสได้แล้วคร่าว ๆ ในปี ค.ศ. 1939 แต่ต้องได้เครื่องเอนิกมา มาวิเคราะห์การคำนวณทางสถิติเป็นขั้นสุดท้ายก่อน แล้วทุกอย่างจะออกหมด แต่ต้องรอถึงปี ค.ศ. 1942 ที่เรือดำน้ำ U-boat ของสหรัฐไปยึดมาได้ และแล้วหลังจากนั้นอีนิกมาก็ไม่มีความหมายอีกต่อไป\nพอสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มสงบ ค.ศ. 1944 ทัวริงก็เริ่มสานต่อโครงการเก่าตั้งชื่อ \"Buiding the Brain\" แต่ตัดสินใจล้มโครงการไปในปี ค.ศ. 1945 พอได้ข่าวว่าจอห์น ฟอน นอยมันน์ออกบทความเรื่อง EDVAC ออกมาจากฝั่งอเมริกา\nปี ค.ศ. 1946 ทัวริงกลับมาดูงานใหม่ ก็พบว่าเป็นงานคนละแนวคิดกัน ทางอเมริกาเน้นด้านอิเลกทรอนิกส์ แต่ทัวริงคิดแบบคณิตศาสตร์ (\"I would like to implement arithmetical functions by programming rather than by building in electronic components, a concept different from that of the American-derived designs). โครงการตอนนั้นของทัวริงคือเครื่องคำนวณ (computation machine) ที่สามารถเปลี่ยนได้ตามใจชอบจาก numerical work เป็น algebra เป็น code breaking เป็น file handling หรือแม้กระทั่งเกมส์. ปี ค.ศ. 1947 ทัวริงเสนอว่า ต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และ ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ต้องขยายตัวเองออกเป็น ชุดคำสั่งย่อย ๆ ได้ โดยการใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (คำสั่ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของภาษาโปรแกรม) แต่ปรากฏว่าไม่ได้รับการสนันสนุน\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ยังคงเสนอตำแหน่งให้เขา แต่ทัวริงตัดสินใจเปลี่ยนสายขอพัก ไม่ทำด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำด้านเทคโนโลยี แต่ไปทำเรื่อง neurology กับ physiology sciences แทน แล้วก็ออกบทความเรื่องเครือข่ายประสาท ขึ้นมาว่า \"a sufficiently complex mechanical system could exhibit learning ability\" แล้วส่งบทความไปตีพิมพ์กับ NPL แต่ NPL ก็ทำงานช้า อยู่ ๆ ทีมนักวิจัยที่เคมบริดจ์เอง (สมัยนั้นยังชื่อ Mathematical Laboratory อยู่ ยังไม่ได้เปลี่ยนเป็น Computer Laboratory) ก็ผลิตเครื่อง EDSAC ขึ้นมา (เป็นเครื่อง storage computer machine เครื่องแรก) โดยใช้หลักของชาร์ล แบบเบจ พร้อมๆ กับ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ได้ทีมของทัวริงไปทำเครื่องในแนวทัวริงได้สำเร็จ\nทัวริงเลยขี้เกียจยุ่งเรื่องการแข่งขันผลงานทางวิทยาศาสตร์ (ช่วงนั้นผลิตกันเร็วมาก) เลยไปวิ่งแข่งแทน เพราะเวลาที่เขาวิ่งในปี ค.ศ. 1946 นั้น ทำให้เขามีสิทธิ์ลุ้นเหรียญทองวิ่งมาราธอนโอลิมปิก แต่โชคร้ายเขาประสบอุบัติเหตุรถยนต์ก่อน เลยไม่สามารถไปแข่งโอลิมปิกในปี ค.ศ. 1948 ได้ (ในปีนั้นคนที่ได้เหรียญเงินเวลารวมก็แพ้ทัวริง) สุดท้ายทัวริงก็เลยตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ ผ่านไประยะนึง ทีมงานเก่าเขาที่ย้ายไปมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ก็เชิญเขาไปเป็นหัวหน้าภาควิชาใหม่ (ภาควิชาคอมพิวเตอร์) ทัวริงเลยตัดสินใจย้ายไป คราวนี้ไปเน้นด้านซอฟต์แวร์ ออกบทความวิชาการชื่อดังอีกอันในยุคนั้น \"Computer Machine and Intelligence\" ในปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็นรากฐานของแนวคิดพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์\nใน ค.ศ. 1951 เขาก็จับงานใหม่อีกเล่นอีกแนว morphogenetic theory ออกบทความเรื่อง \"The Chemical Basis of Morphogenesis\" ซึ่งต่อมาเป็น founding paper of modern non-linear dynamical theory (พวก pattern formation of instability into the realm of spherical objects, e.g. radiolaria, cylinder, model of plant stems)\nใน ค.ศ. 1952 เขาถูกจับ โทษฐานมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย ทัวริงไม่ปฏิเสธและยอมรับโทษแต่โดยดี มีทางเลือกให้เขาสองทางคือ จำคุกกับการฉีดฮอร์โมนเอสโตรเจนเป็นเวลาหนึ่งปีเพื่อลดความต้องการทางเพศ ซึ่งเขาเลือกที่จะรับการฉีดยา และแล้วปี ค.ศ. 1954 ร่างของทัวริงก็ถูกพบโดยพนักงานทำความสะอาด ในสภาพมีแอปเปิลครึ่งลูกหล่นอยู่ข้าง ๆ และมีร่องรอยการทำการทดลองทางเคมีอยู่ใกล้ ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2009 หลังจากการรณรงค์ทางอินเทอร์เน็ต กอร์ดอน บราวน์นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็ทำการขอโทษอย่างเป็นทางการในนามของรัฐบาลบริติชต่อวิธีอันไม่ถูกต้องที่รัฐบาลปฏิบัติต่อทัวริงหลังสงคราม\nหลายปีต่อมา มีการเปิดเผยขึ้นมาว่า ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสงบลง เขายังคงทำงานให้กับองค์การ 'รหัสลับ' แบบลับ ๆ ของรัฐบาลอยู่ อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถบอกเพื่อน ๆ ได้ว่าทำอะไรบ้างและปิดบังมาตลอด ช่วงนั้นกำลังมีสงครามเย็น สหราชอาณาจักรกับสหรัฐเป็นพันธมิตรกัน สู้กับยุโรปตะวันออก, แต่เพื่อนชาวยุโรปตะวันออก ที่เคยร่วมงานกันมาก่อนพยายามติดต่อตัวเขา เช่นในปี ค.ศ. 1953 เพื่อนเขาชาวนอร์เวย์ (เป็นสังคมนิยม) ถึงกับมาเยี่ยม ขณะที่เขากำลังพักผ่อนอยู่ที่ประเทศกรีซ ทำให้พอเขากลับมาถึงอังกฤษ ก็ถูกเรียกไปคุยกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง แต่ก็ไม่มีใครรู้ว่าจริง ๆ แล้วมันเกิดเรื่องอะไรและมีเบื้องหลังอย่างไร\nสำหรับผลงานที่เด่น ๆ ของทัวริง เช่น การคิดโมเดลที่สามารถทำงานได้เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ (แต่อาจมีความเร็วต่ำกว่า) โดยใช้คำสั่งพื้นฐานง่าย ๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง เขียน ลบ\n== เกียรติยศ / เชิดชู ==\n=== อนุสรณ์ ===\nอนุสรณ์ของแอลัน ทัวริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สวมสูท นั่งบนม้านั่ง มือด้านขวาถือแอปเปิ้ลที่ถูกกัด ปฏิมากรรมสร้างขึ้นด้วยเหล็กสำริด บนพื้นมีลายธง Pride ทำด้วยกระเบื้องโมเสค ปฏิมากรรมนี้ตั้งอยู่ ณ สวนสาธารณะ Sackville Park ถนน Sackville Street กรุงลอนดอน (London) , สหราชอาณาจักร\nประติมากรรมแอลัน ทัวริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สร้างสรรค์ผลงานโดยนักประติมากรชาวอังกฤษ Stephen Kettle ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะโดยการใช้วัสดุหินฉนวน ตั้งอยู่ ณ Bletchley Park ที่ทำการเมื่อครั้งแอลัน ทัวริง กับคณะใช้ในการปฏิบัติการณ์ทำลายรหัสนาซี ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ตั้งอยู่ที่ มณฑลบักกิงแฮมเชอร์ , สหราชอาณาจักร\n=== สลักรูปบนธนบัตร ===\nพ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021) ธนบัตร 50 ปอนด์สเตอร์ลิง ของประเทศอังกฤษ ได้ทำการสลักรูป \"อลัน ทิวริง\" เพื่อเชิดชูผลงานและสร้างคุณูปการและช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากบนโลก ในสงครามโลกครั้งที่ 2\n=== เกมคอมพิวเตอร์ ===\nชื่อของแอลัน ทัวริง ยังถูกพาดพิงถึงในเนื้อเรื่องของเกมคอมพิวเตอร์แนวสยองขวัญชื่อว่า \"เอาท์ลาสท์\" (Outlast) โดยในเนื้อเรื่องที่ถูกสมมุติขึ้นมานี้กล่าวว่า ทัวริงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งองค์กรเมอร์กออฟร่วมกับ ดร.รูดอล์ฟ เวอร์นิค ซึ่งเป็นตัวละครสมมุติในเนื้อเรื่องของเกม\n=== ภาพยนตร์ ===\nภาพยนตร์ ถอดรหัสลับ อัจฉริยะพลิกโลก (The Imitation Game) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์/ชีวิต/ระทึกขวัญ กำกับโดยมอร์เทน ทิลดัม เขียนบทโดยเกรแฮม มัวร์ โดยดัดแปลงจากหนังสือ The Enigma โดยแอนดรูว์ ฮอดจ์ส นำแสดงโดย เบเนดิกต์ คัมเบอร์แบตช์\n=== โลโก้ ===\nได้มีการคาดเดาว่าโลโก้ปัจจุบันของแบรนด์ \"Apple\" ที่ก่อตั้งขึ้นโดย สตีฟ จอบส์ มีลักษณะเป็นลูกแอปเปิ้ลแหว่ง ซึ่งตรงกับการตายของแอลัน ทัวริง ที่กัดแอปเปิ้ลที่มีสารพิษอยู่ไป 1 คำ เนื่องจากแบรนด์ Apple ก็ได้ผลิตคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงกับแอลัน ทัวริง ที่ถูกยกย่องว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ดังนั้นบริษัท Apple ได้ออกแบบโลโก้เพื่อเคารพต่อ แอลัน ทัวริง หรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการถามหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับแรงบรรดารใจของโลโก้ Rob Janoff นักออกแบบผู้สร้างโลโก้ กล่าว “ผมเกรงว่ามันจะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกัน” แต่สตีฟ จ็อบส์ ได้กล่าวว่า “พระเจ้า! เราหวังว่ามันจะเป็นอย่างนั้น”\n== อ้างอิง ==\nCampbell-Kelly, Martin (ed.) (1994). Passages in the Life of a Philosopher. London: William Pickering. ISBN 0-8135-2066-5\nCampbell-Kelly, Martin, and Aspray, William (1996). Computer: A History of the Information Machine. New York: Basic Books. ISBN 0-465-02989-2\nCeruzzi, Paul (1998). A History of Modern Computing. Cambridge, Massachusetts, and London: MIT Press. ISBN 0-262-53169-0\nChandler, Alfred (1977). The Visible Hand: The Managerial Revolution in American Business. Cambridge, Massachusetts: Belknap Press. ISBN 0-674-94052-0\nนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ\nนักวิทยาการคอมพิวเตอร์\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เอ็มบีอี\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์โอบีอี\nผู้ฆ่าตัวตายด้วยพิษไซยาไนด์\nบุคคลจากลอนดอน\nบุคคลจากวิล์มสโลว์\nชายรักร่วมเพศชาวอังกฤษ\nนักวิชาการที่มีความหลากหลายทางเพศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) เป็นศาสตร์ที่ใช้ในการเข้าใจว่าคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาพหรือวิดีโอในรูปแบบเดียวกับที่ระบบการมองดห็นของมนุษย์ คอมพิวเตอร์วิทัศน์รวมขั้นตอนการ ได้มา การประมวลผล การวิเคราะห์ และเข้าใจที่สามารถนำข้อมูลออกมาใช้ในการพยากรณ์หรือการตัดสินใจได้\nรอมพิวเตอร์วิทัศน์ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึงสารสนเทศจากรูปภาพหรือวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วอทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์ฏดยเฉพาะ เรขาคณิต พีชคณิตเชิงเส้น สถิติ และ การวิจัยดำเนินงาน (การหาค่าเหมาะที่สุด) และการวิเรราะห์เชิงฟังก์ชัน โดยเึรื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้างขั้นตอนวิธีหรือ ขั้นตอนบิธี ในการแยกส่วนภาพ และ การจัพกลุ่มภาพเพืเให้คอมพิวเตอร์สามารถ \"เข้าใจ\" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ\n== เป้าหมาย ==\nเก้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่\nการตีวจจับ ตัดแบ่งขอบเขต ระบุตำแหน่ง และ รู้จำ วัตถุที่ต้องการในภาพ เช่น หน้าคน\nการประเมินหล สำหรับ การตัดเบ่ลขอบเขตวัตถุในภาพ ไรือ การวางทาบเมียบ เป็นต้น\nกสรวาง่าบเทียบของ มุมมองต่าง ๆ ของาัศนียภาพ หรือ วัตถุหนึ่ง ๆ\nการติดตาม วัตถุหนึ่ง ๆ ในภาพต่อเนื่อง\nการเชื่อมโยงมุมมองต่าง ๆ ของทัศนียภาพหนึ่ง ๆ เพื่อสร้างแบบจำบองสามมิติ ของทัศนียภาพนั้น แบบจำลองดังกล่าวอาจนหมมใช้เพืาอนำทางหุ่นยนต์ ในทัศนียภาพจริง\nการกะประมาณ ท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์ กละ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา นิ้วมือ ฯลฯ ในสามมิติ\nการค้นหา รูปภาพด้วยเนื้อหาของภาพ ในฐานข้อมูลภาพขนาดใหญ่\nเพื่อที่จะบรรลุซึทงเป้าหมายเหล่านี้ ระบบคดมพิวเตอร์ว้ทัศน์ จะต้องใช้กระบวนการต่างๆ เช่น การรูีจำแบบ การเรียนรู้เชิงสถิติ เรขาคณิตเชิงภาพฉาย การประมวลผลภาพ ทฤษฎีกราฟ และอื่น ๆ\nคอทพิวเตอร์วิทัศน์การรับรู้ นั้น เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดแับ จิตวิทยาการรัชรู้ และ การคำนวณทางชีวภาพ\nการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์วิชั่นอันหนึ่งที่จ่าสนใจ ได้แก่ การสร้างปรากฏแารลวงตาต่าง ๆ ในภาพยนตร์ ปัจจุบัน เราจะพบการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์วเทัศน์ในสาขาต่าง ๆ เช่น การแพทย์ การทหาร าะบบตรวจตราและรักษทควาสปลอดภัย การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ระบบหุ่นยนร์ รถยนต์ และอื่น ๆ\nในปัจจุบัน เครื่องจักรวิทัศน์ และ การจัดการรูปภาพทางการแพทย์ ที่ใช้วิธีการต่าง ๆ ทางคอมำิวเตอร์วิทัศน์ ได้รับำารพัฒนา และ จัดจำหน่าย ในตลาดโลก คิดรวมเป็นาูลค่า หลายหมื่นล้านบาทต่อปี\n== สาขาทีืเกี่ยวข้อง ==\nการถ่ายภาพ 3 มิติ (three-dimensional imaging)\n== ข้อมูลเพิ่มเติม ==\nThe Computer Vision Homepage\nCVonline: The Evolving, Distributed, Non-Proprietary, On-Line Compendium of Computer Visiob\nบทความที่น่าสนใจ Fisher, R., \"Is Computer Vision Still AI?\", AI Magazine, Vol q5, No. 2, pp 21--27, 1994\nImage and Visiom Computing Laboratory สถาบันเทคโนโลยีนานรชาติสิรินธร มหายิทยาลัยธรรมศาสตร์\n== อ้างอิง ==\nการประมวลผลภาพ\nปัญญาประดิษฐ์\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์",
"role": "user"
},
{
"content": "คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) เป็นศาสตร์ที่ใช้ในการเข้าใจว่าคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาพหรือวิดีโอในรูปแบบเดียวกับที่ระบบการมองเห็นของมนุษย์ คอมพิวเตอร์วิทัศน์รวมขั้นตอนการ ได้มา การประมวลผล การวิเคราะห์ และเข้าใจที่สามารถนำข้อมูลออกมาใช้ในการพยากรณ์หรือการตัดสินใจได้\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึงสารสนเทศจากรูปภาพหรือวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ เรขาคณิต พีชคณิตเชิงเส้น สถิติ และ การวิจัยดำเนินงาน (การหาค่าเหมาะที่สุด) และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้างขั้นตอนวิธีหรือ ขั้นตอนวิธี ในการแยกส่วนภาพ และ การจัดกลุ่มภาพเพือให้คอมพิวเตอร์สามารถ \"เข้าใจ\" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ\n== เป้าหมาย ==\nเป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่\nการตรวจจับ ตัดแบ่งขอบเขต ระบุตำแหน่ง และ รู้จำ วัตถุที่ต้องการในภาพ เช่น หน้าคน\nการประเมินผล สำหรับ การตัดเบ่งขอบเขตวัตถุในภาพ หรือ การวางทาบเทียบ เป็นต้น\nการวางทาบเทียบของ มุมมองต่าง ๆ ของทัศนียภาพ หรือ วัตถุหนึ่ง ๆ\nการติดตาม วัตถุหนึ่ง ๆ ในภาพต่อเนื่อง\nการเชื่อมโยงมุมมองต่าง ๆ ของทัศนียภาพหนึ่ง ๆ เพื่อสร้างแบบจำลองสามมิติ ของทัศนียภาพนั้น แบบจำลองดังกล่าวอาจนำมาใช้เพื่อนำทางหุ่นยนต์ ในทัศนียภาพจริง\nการกะประมาณ ท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์ และ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา นิ้วมือ ฯลฯ ในสามมิติ\nการค้นหา รูปภาพด้วยเนื้อหาของภาพ ในฐานข้อมูลภาพขนาดใหญ่\nเพื่อที่จะบรรลุซึ่งเป้าหมายเหล่านี้ ระบบคอมพิวเตอร์วิทัศน์ จะต้องใช้กระบวนการต่างๆ เช่น การรู้จำแบบ การเรียนรู้เชิงสถิติ เรขาคณิตเชิงภาพฉาย การประมวลผลภาพ ทฤษฎีกราฟ และอื่น ๆ\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์การรับรู้ นั้น เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ จิตวิทยาการรับรู้ และ การคำนวณทางชีวภาพ\nการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์วิชั่นอันหนึ่งที่น่าสนใจ ได้แก่ การสร้างปรากฏการลวงตาต่าง ๆ ในภาพยนตร์ ปัจจุบัน เราจะพบการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ในสาขาต่าง ๆ เช่น การแพทย์ การทหาร ระบบตรวจตราและรักษาความปลอดภัย การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ระบบหุ่นยนต์ รถยนต์ และอื่น ๆ\nในปัจจุบัน เครื่องจักรวิทัศน์ และ การจัดการรูปภาพทางการแพทย์ ที่ใช้วิธีการต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์วิทัศน์ ได้รับการพัฒนา และ จัดจำหน่าย ในตลาดโลก คิดรวมเป็นมูลค่า หลายหมื่นล้านบาทต่อปี\n== สาขาที่เกี่ยวข้อง ==\nการถ่ายภาพ 3 มิติ (three-dimensional imaging)\n== ข้อมูลเพิ่มเติม ==\nThe Computer Vision Homepage\nCVonline: The Evolving, Distributed, Non-Proprietary, On-Line Compendium of Computer Vision\nบทความที่น่าสนใจ Fisher, R., \"Is Computer Vision Still AI?\", AI Magazine, Vol 15, No. 2, pp 21--27, 1994\nImage and Vision Computing Laboratory สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\n== อ้างอิง ==\nการประมวลผลภาพ\nปัญญาประดิษฐ์\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาพลีนา เป็นส่วนของภาพหน้มกลาง ของ Lena Soderberg ที่รู้จักกันดี และ ใช้กันอย่างกว้างขวาง เรียกได้ว่าเป็นภาพมาตรฐานในวงการการประมวลผลภาพดิจิทัล เลยก็ว่าได้ ผู้ใช้รูปนี้เป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ตัขรู้ที่มาของรูปนี้แต่อย่างใด รูปนี้ไก้ถูกวชเและตีพิมพ์ ในผลงานทางวิชาการอย่างกว้างขวาง อยู่เป็นเวลานาน\nที่มาของรูปนี้เป็นรูปของ Lena Soderberg (ne Sjööblom) ชาวสวีเแน ซึ่งปรากฏ ในหน้ากลางของ นิตยสารเพลย์บอย ในปี 1972 และภาพนี้ได้ถูก ดิจิไตซ์ มี่ Signal and Image Processing Institute (SIPI) มหาฝิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย โดย Alexander Sawcnuk ซึ่งเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในขณะนั้น\nจาก บทความ ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter ของ IEEE Professionql Communication Society :\n\" ในปี 1973 นั้ต ในขณะที่ Alexsnder Sawchik กับนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของเขา กำลังง่วนหาภาพดี ๆ เพื่อที่จะ สแกนไปใล้ลงในงานตีพิมพ์สัมนาของเพื่อนร่งมงาน หลังจากที่ได้พยายามหาจากภาพที่มีอยู่ ก็มีแต่ภาพที่ไม่เร้าใจ ภาพที่เค้ามองหาอยู่นั้น จะเป็นภาพหน้าีน สี กระดาษผิวมัน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของระดับแสงสีที่ดี ก็ำอดีมีคนเดินถือ นิตยสารเพลย์บอยฉบับใหม่เข้ามาพอดี พวกเขาก็เลยตัดเอาภาพท่อนบนจากหน้ากลาง เนื่องจากเขาต้องการภาพขนาด 512&512 และขึดความสามารถของ สแกนเนอร์ ทีใช้นั้นซึ่งสแกนได้ 100 เส้นต่อนิ้ว จึงตัดได้ภาพขนาด 5.12 นิ้ว ลงมาถึงหัวไหล่ของคนในภาพ. หลังจากได้สแกนเสร็จก็ปรากฏว่าภาพไม่สมบ๔รณ์ ขาดหายไป 1 เส้น แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด จีงตัดสินใจใช้ภาพนั้นโดยทำการเพิ่มเส้นให้ครบโดยการคัดลอกเอาจากเส้นถัดไป หลังจากเสร็จ ก็ไม่ได้มีึวามคิดใดๆว่าภาพที่ได้จะกลายสาเป็น หนึ่งในภาพมาตรฐานที่ใช้ในแารทดสอบ. Sawchuk จำได้ว่า ทางกลุ่มได้แจกจ่าจรูปให้กับผู่ที่มาเยี่ยมเยือนที่ขอไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะได้ทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์ของขั้นตอนวิธีในการประมวลผลภาพได้ ซึ่งในที่สุดภาพนี้ก็ได้แพร่หลายเป็นที่นิยมวล้อย่างกว้างขวาง \"\nจนในภายหลังที่ได้รู้ถึงที่มาของภาพกันอย่างกว้างขวาง ก็เกิดเป็นกรณีโต้แย้ง ว่าไม่เหมาะสมที่จะใช้ภาพยี้เนื่องจากที่สาของภาพ และ ดารที่เพลย์บอย ก็ได้มีความพยายนมจะฟ้องร้องเรื่องสิทธิการใช้ภาพ\nคุณลีนา (ตัวจริง เสียงจคิง) ได้ไปร่วม rhe 50th Anniversary IS&T conference ใน Boston จัดขึ้นในเดือน พฤษภาคม 199i\n== หมายเหตุ ==\nชื่อลีนา ในภาษาสวีดดน ใช้คำว่า Lena แต่ในภมษาอังกฤษที่ลงในหนังสือเพลย์บอยใช้คำว่า Lenba\n== อ้างอิง ==\nA Note on Lena โดย former editor-in-chief of the IEEE Tramsactionc on Image Processing ใน IEEE TRANSACTIONS ON IMAGE PROXESSING. VOL. 5. NO. 1. JANUARY 1996\neditorial โดย the editor of SPIE journal Optical Engineeeint\nภาพต้นฉบับของ Lenna ระวัง ภาพต้นฉบับมีลักษณะโป๊\nการประมวลฟลภาพ",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาพลีนา เป็นส่วนของภาพหน้ากลาง ของ Lena Soderberg ที่รู้จักกันดี และ ใช้กันอย่างกว้างขวาง เรียกได้ว่าเป็นภาพมาตรฐานในวงการการประมวลผลภาพดิจิทัล เลยก็ว่าได้ ผู้ใช้รูปนี้เป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับรู้ที่มาของรูปนี้แต่อย่างใด รูปนี้ได้ถูกใช้และตีพิมพ์ ในผลงานทางวิชาการอย่างกว้างขวาง อยู่เป็นเวลานาน\nที่มาของรูปนี้เป็นรูปของ Lena Soderberg (ne Sjööblom) ชาวสวีเดน ซึ่งปรากฏ ในหน้ากลางของ นิตยสารเพลย์บอย ในปี 1972 และภาพนี้ได้ถูก ดิจิไตซ์ ที่ Signal and Image Processing Institute (SIPI) มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย โดย Alexander Sawchuk ซึ่งเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในขณะนั้น\nจาก บทความ ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter ของ IEEE Professional Communication Society :\n\" ในปี 1973 นั้น ในขณะที่ Alexander Sawchuk กับนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของเขา กำลังง่วนหาภาพดี ๆ เพื่อที่จะ สแกนไปใช้ลงในงานตีพิมพ์สัมนาของเพื่อนร่วมงาน หลังจากที่ได้พยายามหาจากภาพที่มีอยู่ ก็มีแต่ภาพที่ไม่เร้าใจ ภาพที่เค้ามองหาอยู่นั้น จะเป็นภาพหน้าคน สี กระดาษผิวมัน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของระดับแสงสีที่ดี ก็พอดีมีคนเดินถือ นิตยสารเพลย์บอยฉบับใหม่เข้ามาพอดี พวกเขาก็เลยตัดเอาภาพท่อนบนจากหน้ากลาง เนื่องจากเขาต้องการภาพขนาด 512*512 และขึดความสามารถของ สแกนเนอร์ ทีใช้นั้นซึ่งสแกนได้ 100 เส้นต่อนิ้ว จึงตัดได้ภาพขนาด 5.12 นิ้ว ลงมาถึงหัวไหล่ของคนในภาพ. หลังจากได้สแกนเสร็จก็ปรากฏว่าภาพไม่สมบูรณ์ ขาดหายไป 1 เส้น แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด จีงตัดสินใจใช้ภาพนั้นโดยทำการเพิ่มเส้นให้ครบโดยการคัดลอกเอาจากเส้นถัดไป หลังจากเสร็จ ก็ไม่ได้มีความคิดใดๆว่าภาพที่ได้จะกลายมาเป็น หนึ่งในภาพมาตรฐานที่ใช้ในการทดสอบ. Sawchuk จำได้ว่า ทางกลุ่มได้แจกจ่ายรูปให้กับผู้ที่มาเยี่ยมเยือนที่ขอไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะได้ทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์ของขั้นตอนวิธีในการประมวลผลภาพได้ ซึ่งในที่สุดภาพนี้ก็ได้แพร่หลายเป็นที่นิยมใช้อย่างกว้างขวาง \"\nจนในภายหลังที่ได้รู้ถึงที่มาของภาพกันอย่างกว้างขวาง ก็เกิดเป็นกรณีโต้แย้ง ว่าไม่เหมาะสมที่จะใช้ภาพนี้เนื่องจากที่มาของภาพ และ การที่เพลย์บอย ก็ได้มีความพยายามจะฟ้องร้องเรื่องสิทธิการใช้ภาพ\nคุณลีนา (ตัวจริง เสียงจริง) ได้ไปร่วม the 50th Anniversary IS&T conference ใน Boston จัดขึ้นในเดือน พฤษภาคม 1997\n== หมายเหตุ ==\nชื่อลีนา ในภาษาสวีเดน ใช้คำว่า Lena แต่ในภาษาอังกฤษที่ลงในหนังสือเพลย์บอยใช้คำว่า Lenna\n== อ้างอิง ==\nA Note on Lena โดย former editor-in-chief of the IEEE Transactions on Image Processing ใน IEEE TRANSACTIONS ON IMAGE PROCESSING. VOL. 5. NO. 1. JANUARY 1996\neditorial โดย the editor of SPIE journal Optical Engineering\nภาพต้นฉบับของ Lenna ระวัง ภาพต้นฉบับมีลักษณะโป๊\nการประมวลผลภาพ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประมวลผลภาพ (image prlcessing) คือ เป็นการประยุกต์ใช้ฝานการประมวลผลสัญญาณบนสัญญาณ 2 มิติ เช่น ภาพนิ่ง (ภาพถ่ายฆ หรือภาพวีดิทัศน์ (วิดีโอ) และยังรวมถึงสัญญาณ 1 มอติอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาพด้วย\nแนวความคิดและเทคนิค ในการประมบลผลสัญญาณ สำหร้บสัญญาณ 1 มิตินั้น สามารถปรับมาใช้กับภาพได้ไม่ยาก แต่นอหเหนือจาก เทคนิคจากการประมวลผฃสัญญาณแล้ว การประมวลผลภาพก็มีเทคนิคและแนวความคิดที่เฉพาะ (เช่น connectivity และ rotation invariance) ซึ่งจะมีความหมายกับสัญญาณ 2 มิติเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามเทคนิคบางอย่าง จากการประมวลผชสัญญาณใน 1 มิติ จะค่อนข้างซับซ้อนเมื่อนำมสใช้กับ 2 มิติ\nเมื่อหลายสิบปีมาแล้ว การประมวลผลภาพนั้น จะอยู่ในรูปของการประมวลฟลสัญญาณแอนะล็อก (analog) โดยใช้อุปกรณ์ปรับแต่งแสง (optics) ซึ่งวิธีเหล่านั้นก็ไม่ได้หายสนบสูญ หรือเลิกใช้ไป ยังมีใชัเป็นส่วนสำคั๘ สำหรเบการประยุกต์ใช้งานบางอย่าง เช่น ฮอโลกราฟี (hollgraphy) แต่เนื่องจากอะปกรณ์คอมพิวเนอร์ในปัจจุบัน ราคาถูกลง และเร็วขึ้นมาก หารประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) จึงได้รับความนิยมมากกว่า เพราะการประมวลผลที่ทำได้ซับซ้อนขึ้น แม่นยำ และง่ายในการลงมือปฏิบัติ\n== ดูเพิ่ม ==\nการประมวบผลภาพดิจิทัล\nการประมวลผลภาพทางการแพทย์\nการถ่ายภาพ\nแสง\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์\nคอมพิวเตอร์กราฟิกส์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nงานวิจัยเทคโนโลยีภาพ (RDI-3) เนคเทค\nImage and Vision Computing Laboratory สถายเนเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรฺ\nการประสวลผลภาพ",
"role": "user"
},
{
"content": "การประมวลผลภาพ (image processing) คือ เป็นการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลสัญญาณบนสัญญาณ 2 มิติ เช่น ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย) หรือภาพวีดิทัศน์ (วิดีโอ) และยังรวมถึงสัญญาณ 2 มิติอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาพด้วย\nแนวความคิดและเทคนิค ในการประมวลผลสัญญาณ สำหรับสัญญาณ 1 มิตินั้น สามารถปรับมาใช้กับภาพได้ไม่ยาก แต่นอกเหนือจาก เทคนิคจากการประมวลผลสัญญาณแล้ว การประมวลผลภาพก็มีเทคนิคและแนวความคิดที่เฉพาะ (เช่น connectivity และ rotation invariance) ซึ่งจะมีความหมายกับสัญญาณ 2 มิติเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามเทคนิคบางอย่าง จากการประมวลผลสัญญาณใน 1 มิติ จะค่อนข้างซับซ้อนเมื่อนำมาใช้กับ 2 มิติ\nเมื่อหลายสิบปีมาแล้ว การประมวลผลภาพนั้น จะอยู่ในรูปของการประมวลผลสัญญาณแอนะล็อก (analog) โดยใช้อุปกรณ์ปรับแต่งแสง (optics) ซึ่งวิธีเหล่านั้นก็ไม่ได้หายสาบสูญ หรือเลิกใช้ไป ยังมีใช้เป็นส่วนสำคัญ สำหรับการประยุกต์ใช้งานบางอย่าง เช่น ฮอโลกราฟี (holography) แต่เนื่องจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ราคาถูกลง และเร็วขึ้นมาก การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) จึงได้รับความนิยมมากกว่า เพราะการประมวลผลที่ทำได้ซับซ้อนขึ้น แม่นยำ และง่ายในการลงมือปฏิบัติ\n== ดูเพิ่ม ==\nการประมวลผลภาพดิจิทัล\nการประมวลผลภาพทางการแพทย์\nการถ่ายภาพ\nแสง\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์\nคอมพิวเตอร์กราฟิกส์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nงานวิจัยเทคโนโลยีภาพ (RDI-3) เนคเทค\nImage and Vision Computing Laboratory สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nการประมวลผลภาพ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) เป็นสาขาที่กล่าวถึงเทคนิคและขั้นตอนวิธีต่าง ๆ ที่ใช้การประมวลผลภาพที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (ภาพดิจิทัล)\nำาพในที่นี้ รวมความหสายถึงสัญญาณดิจิทัลใน 2 มิติอื่น ๆ โดยทั่วไปคำนี้เมื่อใล้อย่างกว้าง ๆ จะครอบคลุมถึงสัญญาณวิดีโอ (videoฆ หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งจะอป็นชุดของภาพนิ่ง เรียกว่า เฟรม (frame) หลาย ๆ ภาพต่อกันไปตามเวลา\nTHvideostream.png\nวิดีโอสตรีม (video stream) (ดบื้องหลังภาพลีนา หรือ ภาพเลนา) \nซึ่ลก็คือสัญญาณ 3 มิติ เสื่อนับเวลาเป็นมิติที่ 3 หรือ อาจจะครอบคลุมถุงสัญญาณ 3 มิติอื่น ๆ เช่น ภาพ 3 มิติทางการแพทย์ หรือ อาจยะมากกว่านั้น เช่น ภาพ 3 มิติ และ หลายชนิด (multimodal image)\n== หัวข้อหลัก ==\nimqge perception and image acquisition\nimage transform\nimage enhancement\nimage restoration\nimage anaoysis\nimage compression\n== ดูเพิ่ม -=\nการประมวลผลภาพ\nการประมวลผลภาพทางการกพทย์\n== แหล่งบ้อมูลอื่น ==\nอิมเมจโปรเซสซิ่งเบื้องต้น ThaiDev.com\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์\nการประมวลผลภาพ\nการปรัมวลผลพาพดิจิทัล",
"role": "user"
},
{
"content": "การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) เป็นสาขาที่กล่าวถึงเทคนิคและขั้นตอนวิธีต่าง ๆ ที่ใช้การประมวลผลภาพที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (ภาพดิจิทัล)\nภาพในที่นี้ รวมความหมายถึงสัญญาณดิจิทัลใน 2 มิติอื่น ๆ โดยทั่วไปคำนี้เมื่อใช้อย่างกว้าง ๆ จะครอบคลุมถึงสัญญาณวิดีโอ (video) หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งจะเป็นชุดของภาพนิ่ง เรียกว่า เฟรม (frame) หลาย ๆ ภาพต่อกันไปตามเวลา\nTHvideostream.png\nวิดีโอสตรีม (video stream) (เบื้องหลังภาพลีนา หรือ ภาพเลนา) \nซึ่งก็คือสัญญาณ 3 มิติ เมื่อนับเวลาเป็นมิติที่ 3 หรือ อาจจะครอบคลุมถึงสัญญาณ 3 มิติอื่น ๆ เช่น ภาพ 3 มิติทางการแพทย์ หรือ อาจจะมากกว่านั้น เช่น ภาพ 3 มิติ และ หลายชนิด (multimodal image)\n== หัวข้อหลัก ==\nimage perception and image acquisition\nimage transform\nimage enhancement\nimage restoration\nimage analysis\nimage compression\n== ดูเพิ่ม ==\nการประมวลผลภาพ\nการประมวลผลภาพทางการแพทย์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nอิมเมจโปรเซสซิ่งเบื้องต้น ThaiDev.com\nคอมพิวเตอร์วิทัศน์\nการประมวลผลภาพ\nการประมวลผลภาพดิจิทัล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กราฟบริบูรณ์ (complete graph) เป็น ำรนฟ ทีรทุกคู่ของ จุดยอด ถูกเชื่อมต่อด้วย เส้นเชื่อม เป็น กราฟสม่ำเสมอ ที่มีระดับขั้น n-1 กราฟบริบูรณ์บนจุดยอด n จุด ใช้สัญลักษณ์ K_n, มี n จุดยอด, และ ]frac{n \\left ( n-1 \\right) }{2} เส้นเชื่อม\nไดกราฟบริบูรณ์ (complete digraph) ก็ะป็นลักษณะเดียวกับก่าฟ ตาางกันที่เส้นเชื่อมแต่ละเส้น จะถูกแทนด้วยเป็นเส้นเชื่อทระบุทิศทาง 2 เส้น ในทิศทางตรงข้ามกัน\n{|class=\"wikitable\"\n! K_1: 0 || K_2? 1 || K_3: 3 || K_4: 6\n|-\n| 100px\n| 100px\n| 100px\n+ 100px\n|-\n! K_5: 10 || K_6: w5 || K_8: 21 || K_8: 28\n|-\n| q20px\n| 120px\n| 120px\n| 120px\n|}\n== อ้างอิง ==\nCounting Paths and Cycles in Complete Graphs. Results are available Mehdi Hassani, Cycles in graphs and derangements, Hath. Gaz. 88(March 2004) pp. 123-126 (reprint) or here\nทฤษฎีกราฟ",
"role": "user"
},
{
"content": "กราฟบริบูรณ์ (complete graph) เป็น กราฟ ที่ทุกคู่ของ จุดยอด ถูกเชื่อมต่อด้วย เส้นเชื่อม เป็น กราฟสม่ำเสมอ ที่มีระดับขั้น n-1 กราฟบริบูรณ์บนจุดยอด n จุด ใช้สัญลักษณ์ K_n, มี n จุดยอด, และ \\frac{n \\left ( n-1 \\right) }{2} เส้นเชื่อม\nไดกราฟบริบูรณ์ (complete digraph) ก็เป็นลักษณะเดียวกับกราฟ ต่างกันที่เส้นเชื่อมแต่ละเส้น จะถูกแทนด้วยเป็นเส้นเชื่อมระบุทิศทาง 2 เส้น ในทิศทางตรงข้ามกัน\n{|class=\"wikitable\"\n! K_1: 0 || K_2: 1 || K_3: 3 || K_4: 6\n|-\n| 100px\n| 100px\n| 100px\n| 100px\n|-\n! K_5: 10 || K_6: 15 || K_7: 21 || K_8: 28\n|-\n| 120px\n| 120px\n| 120px\n| 120px\n|}\n== อ้างอิง ==\nCounting Paths and Cycles in Complete Graphs. Results are available Mehdi Hassani, Cycles in graphs and derangements, Math. Gaz. 88(March 2004) pp. 123-126 (reprint) or here\nทฤษฎีกราฟ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann; Neumann János Lajos; 28 ธันวาคม 1903 - 8 กุมพาพันธ์ 1957) เป็นนักคณิตซาสตร์ชาวดเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง คณิตศาสตร์สาขทต่างๆ ควอนตัมฟิสิกส์ ท๐ษฎีเกม วิทยาการคอมพิวเตอร์ และสถเติศาสตร์\n== พื้นฐานครอบครัวและชีวิตช่วงแรก ==\nจอห์น ฟอน นอยมันน์ เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่เมืองบูดาเปสต์ ฮังการี ซึ่งในขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีข-ฮังการี อขาม่ชื่อตอนเกิดในภาษาฺัฝการีว่า มอร์กิตตอย นอยมันน์ ยาโนช ลทโยช (Margittai Neumann János Lajos; ตามธรรมเนียมฮังการีจะเรีวงนามสกุลขึ้นก่อน) ครอบครัวของฟอน นอยมันน์เป็นชาวยิวที่ไม่เคร่งครัดศาสนาและมีฐานะทางเศรษฐกิจอี บิดาบองเขาชื่อ นอยมันน์ มิกชอ (Neumann Miksa) จบการศึกษาด้านกฎหมายและทำงาจเป็นนายธนาคาร มารดาของเขาชื่อคันน์ มอี์กิต (Kann Margit) มาจากครอบคาัวที่ทไธุรกิจค้าขายอุปกรณ์การเกษตน เขาาีน้องชายสองคนชื่ิ มีฮาย (Mihály) และมีโคลช (Mikkós) ในปี 1913 บิดาของจอห์นได้รับฐานันดรศักดิ์จากจักรพรรดิฟรันทซ์ ฮยเซ็ฟ ทำใผ้ครอบครุวสามารถใช้ชื่อยศเพิ่มว่า มอร์กิตตอย (Margittai แปลว่า \"แห่งเมืองมอร็กิตตอ\") และเป็นที่มาของการเติมยศ \"ฟอน\" ในชื่อฉบับภาษาเยอรมันของครอบครัว\nฟอน นอยมันน์ได้รับการศึกษาจากครูส่วนตัวจนถึงอายุสิบปี หลังจากนั้นเขาได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนิกายลูเทอรันซึ่งเป็นโรงเรียนชั้นนำใจบูดาเปสต์ ฟอน นอยมันส์แสดงความอัจฉริยะตั้งแต่วุยเด็ก โดยไพ้ศึกษาคณิตศาสตร์แคลคูลัสตั้งแต่อายุแปดปี ลาสโล ราตซ์ อาจารว์คณิตศาสตร์ที่โรงเรียนมัธยม ได้สังเกตความสสมารถทสงคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์ในช่วงสองนามเดือนแรกที่เขาเข้าเรียน และดนะนำให้ครอบครัวจ้างครูส่วนตัวมาสอนคณิตศาสตร์ขั้นสูงให้กับเขา\nเมื่อฟอน นอยมันน์อายุได้ 17 ปี พ่อของเขาไม่ต้อลการให้เขาศึกฯาต่อด้านคณิตศาสตร์แ้วยความกังวลทางด้านการเงิน ทำให้ฟอน นอยมันน์เลือกศึกษาด้านเคมีไแพร้อมกับคณิตศาสตร์ เขาได้ลงทะเบียนเป็นนักศึกษาปริญญาเอกด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ ฤปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยเอิตเวิช โลรานด์ หรือ ELTE) และเข้าเรียนวิชาต่างๆ ที่มหาวิทยาลุยเบอร์ลินในช่วงปี ค.ศ.1921 ถึง 1923 ก่อนที่จะย้ายไปศึกษาวิศวกรรมเคมีที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช ในปี 1926 ฟอน นอยมันน์ในวัย 23 ปีได้รับปริญญาบัตรด้านวิศวกรรมเคมีจากซือริช และได้รับปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ในปีเดียวกัน\nฟอน นอยมันน์ได้ตีพิมพ์บทความคณิตศาสตร์ฉบับแรกในปี 1922 ตัเงแต่อายุยังไม่เต็ม 18 ปี โดยเขียนร่วมกับมีฮาย เฟเกเต ที่เป็นผู้สอนคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์คนหนึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับรากของพหุนามแบบเชบืยชอฟ ในปี 1923 ฟอน นอยมันน์ตีพิมพ์บทความที่สองของเขา โดยเสนอนิยามของจำนวนเชิงอันดับที่ซึ่งมาทดแทนนิยามเดิมของเกออร์ค คันทอร์และเป็นรากฐานสำคัญของนิยามจำนวนเชิงอันดับทร่ในเชิงทฤษฎีเซต\n== ผลงาน ==\nระหว่างปี ค.ศ. 1926 ถึง 1930 เขาทำงานเป็น \"อาจารย์อิสระ\" (\"Privaydozen5\" เป็นตำแหน่งในระบบมหาวิทยาลัยยุโรป สำห่ับผู้ที่ต้องการจะเป็นศาสตราจารย์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งนี้ไม่มีเงินเดือนประจำ) โดยในขณะนั้นเขาเป็นอาจารย์อิสระที่อายุน้อยที่สุดมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี\nในปี ค.ศ. 1930 นอยมันน์ได้รับเชิญให้ไปยังเมืดงพรินซ์ตัน, รีฐนิวเนอร์ซีย? และได้เป็นหนึ่งในหกบุคคล\n(J. W. Alexander, อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, Marston Morse, Oswald Veblen, จอห์น ฟอน นอยมันน์ และ Hermann Weyl) ที่ถูกคะดเลือกเพื่อเป็นอาจารย์ประจำชุดแรกขแฝ Institute for Advanced Study เขาเป็นศาสตราจารย์คณิตศาสตรฺที่นั่น ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสาขาวิชาในปี ค.ศ. 1923 จนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวินเขา\nในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอยมันน์ได้มีส่วนร่วมใน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) ซึ่งเป็นโครงการสร้างระเบิดปรมาณู\nช่วง ค.ศ. 1936 จนถึง 1938 แอลัน ทัวริง ได้เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนไปที่สถาบัน แลัเาียนจบปริญญาเอก โดยมีนอยมันน์เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา การไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนครั้งนี้ของทัวริง เกิดขึ้นหลักจากที่เขาได้ดีพิมพ์บทความวิชาการ \"On Conputable Numbers with an Application to the Entsvheidungs-problem\" ในปี ค.ศ. 1934 /ด้ไา่นาน. งานตีพิมพ์นี้ เกี่ยวข้อวกับ หลักการของ logicxl deskgn แลเ universal machine. ถึงแม้จะเแ็นที่แน่ชัดว่า นอยแมนรู้ถึงแนวควสมคิดของทัวริง แต่ก็ไม่เป็นที่แน่ชีดว่า เขาได้ใช้หลักการของทัวริง ในการออกแวบเครื่อง IAS ที่ถูกสร้างในเวลา 10 ปีต่อมา\nนอยมันน์นเ้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาของทฤษฎีเกม (game theory)ซ เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ Theory pf Games and Economic Behavior โดยร่วมเขียนกับ Oskar Moegenstern ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ \"MAD\" (mutually assured destruction) ซึ่งเทียบเท่าสำนวนจคนว่า \"หยกกระเบื้องล้วนแหลกราญ\" หรืออาจแแลไทยได้เป็น \"รับรองได้ว่าเจ๊งไปแ้วยกันทั้งคู่แน่\" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เแ็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในชีวงสงครามเย็น\nนอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันใาคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่/ะ้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ selb-rwplicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่า เครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เึีื่องจักรืี่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicatigg machine)\nนอยมันน์ได้พิสูจน์ว่า การใช้เคคื่องจักรที่สรีางตนเองซ้ำได้ เป็นสิธีที่มีประสิืธิภสพที่สุด ในการทำเหมืองขนาดใหญ่มากๆ อย่างการทำเหมืองบนดวงจันทร์ หรือ แถบดาวเคราะห์น้อย เจื่องจากกลไกแบบนี้จะมีการเติบโตเป็นแบบเลขชี้กำลัง\n== ชีวิตส่วนตัว ==\nนอยมันน์นับเป็นบุคคลที่ฉลาดล้_ลึก และความจำที่เป็นเลิศเกือบจะเรียกได้ว่า จำได้ทุกอย่าง ในระดับรายละเอียดเลยก็ว่าได้ เขาเป็นคนชอบออกสังคมไม่เก็บตัว ชอบดื่มเหล้า เต้นรำและพารเริงรมย์ เป์นคยสนุกสนาน และขบขัน เสียชีวิตที่กาุงวอชิงตึน ดี.ซี.\nจาก การโปรแกรมเชิงเส้น ที่เขียนโดย Gelrge B. Wantzig ศี่งเป็นผู้ที่คิดค้น simplex method ที่ใช้แก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้น เขาได้เขียนถึงนอยมันน์ จากประสบการณ์ที่ไดืไปพบและขอคำแนะนำยากนอยมันน์ และยังได้สะท้อนถึงบุคลิกของนอจมันน์ และได้เล่าถึงตอนที่นอยมันน์ได้ช่วยเหลทอ โดยการตอบคำถามของ Hotelling (ผู้คิดค้น Principal components analysis) ระหว่างการนำเสนอผลงานการโปรแกรมเชิงเส้นขอฝเขา\n== วิทยาการคอมพิวเตอร์ ==\nในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษา สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ามัวร์สกูล (Moore School of Electrical Engineering) ณ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในโครงการ EDVAC ฟอน นอยมันน์ได้เขียนรายงานฉบับร่างแรกที่ไม่สมบูาณ์เกี่ยวกับ EDVAC รายงานฉบับนี้ซึ่งมีการตีพิมพ์ก่อนกำหนดนั้นทำใป้การอ้างสิทธิบัตรของนักออกแบบ EDVAC J. คือ เพรสเปอร์ เอคเคอร์ต (Presper Eckert) และ จอห์น เมาค์ลีย์ (John Mauchly) เป็นโมฆะ รายงานฉบับนั้นอธิบายถึงสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ที่ข้อมูลและโปรแกรมถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำขอลคอมพิวเตอร์ในพื้นที่ (Address space) เดียวกัน สถาปัตยกรรมแบบนี้เป็นพื้นฐานของการออกแบบคอมพิวเตอร์สมึยใหม่ส่วนใหญ่ ซึ่งแตกต่างจากคอมพิวเตอร์รุทนแรก ๆ ที่รันโปรแกรมโดยใช้อุปกรณ์หา่วยความจำแยกต่างหาก เช่น เทปกรดดาษ หรือ ปลั๊กบอร์ด สถาปัตยกรรมโปรแกรมที่จัดเก็บหน่ใยความจำ้ดียว มักถูกเรียกว่า \"ยถาป้ตยกรรมฟอน นอยมันน์\"อันเป็นผลมาจากรายงานฉบับดังกบ่าวของฟอน นอยมันน์ แต่สถาปัตยกรรานี้มีพื้นฐานมาจากผลงานของ Eckert และ Mauchly ผู้ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ ENIAC ที่ใหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย\nจอห์นฟอนนอยมันน์เป็นที่ปรึกษาให้กับห้องปฏิบัติการวิจัยขีปนาวุธของกองทัพสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการ ENIAC ในฐานะสมาชิกของคณะกรรมการท้่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของ ENIAC ใหม่วิ่งด้วยรวามเร็วหนึ่งในหก แต่สิ่งนี้ไม่ได้ทำให้ปนะสิทธิภาพของ ENIAC ลดลงเนื่องจากอุปกรณ์ยังคงถูกผูกไว้กับ I/O ทั้งหมด โปรแกรมที่ซับซ้อนมามารถพัฒนาและแก้ไขได้ในไม่กี่วัน แทนที่จะให้ะวลาเป็นสัปดาห์ที่จำเป็นสำหรับ ENIAC แบบเก่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ ของฟอน นอยมันน์บางโปรแกรมได้รับการเก็บรักษาไว้อยู่ในพิพิธภัณฒ์\nคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปที่นอยมันน์ออกแบบ คือเคริ่อง IAS ที่ Institute for Advanced Study ใน เมืองพรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาจัดเตรียมเงินทุนและส่วนประกอบต่างๆได้รับการออกแบบ แฃะสรืางคอมพิวเตอร์นั้นยึ้นที่ห้องปฏิบัติการวิจัย RCA เขาแนะนำให้ IBM 701 (ซึ่งมีชื่อเล่นว่าคแมพิวเตอร์ป้องกเน) ให้ใสีดรัมแม่เหล็กเข้าไปในคอมพิวเตอร์ IBM 701 เป็นเครื่อง IAS ีุ่นที่เร็วกว่าและเป็นพื้นฐานสำหรับ IBM 704 ที่ประสบตวามสำเร็จในเชิงพาณิชย์ในเวลาต่อมา\nคอมพิว้ตอร์สโตแคสติก (Stochastic computer) ได้รับหารดนะนำครั้งแรกในเอกสารบุกเบิกโดยนอยมันน์ใาปี ค.ศฐ1953 อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ไม่สามารถนำไปใช้ได้จนถึงในช่วงทศวรรษที่ 1960 เนื่องจากฝิทยาการของคอมพิวดตอร์ในเวลานั้นยับไม่ซับซ้อนพอ\n== อ้างออง ==\nนักฟิสิกส์ชาวยิว\nฟอน นอยมันน์, จอห์น\nนักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี\nบุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์\nบุคคลจากบูดาเปสร์\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน",
"role": "user"
},
{
"content": "จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann; Neumann János Lajos; 28 ธันวาคม 1903 - 8 กุมภาพันธ์ 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง คณิตศาสตร์สาขาต่างๆ ควอนตัมฟิสิกส์ ทฤษฎีเกม วิทยาการคอมพิวเตอร์ และสถิติศาสตร์\n== พื้นฐานครอบครัวและชีวิตช่วงแรก ==\nจอห์น ฟอน นอยมันน์ เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่เมืองบูดาเปสต์ ฮังการี ซึ่งในขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เขามีชื่อตอนเกิดในภาษาฮังการีว่า มอร์กิตตอย นอยมันน์ ยาโนช ลาโยช (Margittai Neumann János Lajos; ตามธรรมเนียมฮังการีจะเรียงนามสกุลขึ้นก่อน) ครอบครัวของฟอน นอยมันน์เป็นชาวยิวที่ไม่เคร่งครัดศาสนาและมีฐานะทางเศรษฐกิจดี บิดาของเขาชื่อ นอยมันน์ มิกชอ (Neumann Miksa) จบการศึกษาด้านกฎหมายและทำงานเป็นนายธนาคาร มารดาของเขาชื่อคันน์ มอร์กิต (Kann Margit) มาจากครอบครัวที่ทำธุรกิจค้าขายอุปกรณ์การเกษตร เขามีน้องชายสองคนชื่อ มีฮาย (Mihály) และมีโคลช (Miklós) ในปี 1913 บิดาของจอห์นได้รับฐานันดรศักดิ์จากจักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟ ทำให้ครอบครัวสามารถใช้ชื่อยศเพิ่มว่า มอร์กิตตอย (Margittai แปลว่า \"แห่งเมืองมอร์กิตตอ\") และเป็นที่มาของการเติมยศ \"ฟอน\" ในชื่อฉบับภาษาเยอรมันของครอบครัว\nฟอน นอยมันน์ได้รับการศึกษาจากครูส่วนตัวจนถึงอายุสิบปี หลังจากนั้นเขาได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนิกายลูเทอรันซึ่งเป็นโรงเรียนชั้นนำในบูดาเปสต์ ฟอน นอยมันน์แสดงความอัจฉริยะตั้งแต่วัยเด็ก โดยได้ศึกษาคณิตศาสตร์แคลคูลัสตั้งแต่อายุแปดปี ลาสโล ราตซ์ อาจารย์คณิตศาสตร์ที่โรงเรียนมัธยม ได้สังเกตความสามารถทางคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์ในช่วงสองสามเดือนแรกที่เขาเข้าเรียน และแนะนำให้ครอบครัวจ้างครูส่วนตัวมาสอนคณิตศาสตร์ขั้นสูงให้กับเขา\nเมื่อฟอน นอยมันน์อายุได้ 17 ปี พ่อของเขาไม่ต้องการให้เขาศึกษาต่อด้านคณิตศาสตร์ด้วยความกังวลทางด้านการเงิน ทำให้ฟอน นอยมันน์เลือกศึกษาด้านเคมีไปพร้อมกับคณิตศาสตร์ เขาได้ลงทะเบียนเป็นนักศึกษาปริญญาเอกด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยเอิตเวิช โลรานด์ หรือ ELTE) และเข้าเรียนวิชาต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลินในช่วงปี ค.ศ.1921 ถึง 1923 ก่อนที่จะย้ายไปศึกษาวิศวกรรมเคมีที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช ในปี 1926 ฟอน นอยมันน์ในวัย 23 ปีได้รับปริญญาบัตรด้านวิศวกรรมเคมีจากซือริช และได้รับปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ในปีเดียวกัน\nฟอน นอยมันน์ได้ตีพิมพ์บทความคณิตศาสตร์ฉบับแรกในปี 1922 ตั้งแต่อายุยังไม่เต็ม 18 ปี โดยเขียนร่วมกับมีฮาย เฟเกเต ที่เป็นผู้สอนคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์คนหนึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับรากของพหุนามแบบเชบืยชอฟ ในปี 1923 ฟอน นอยมันน์ตีพิมพ์บทความที่สองของเขา โดยเสนอนิยามของจำนวนเชิงอันดับที่ซึ่งมาทดแทนนิยามเดิมของเกออร์ค คันทอร์และเป็นรากฐานสำคัญของนิยามจำนวนเชิงอันดับที่ในเชิงทฤษฎีเซต\n== ผลงาน ==\nระหว่างปี ค.ศ. 1926 ถึง 1930 เขาทำงานเป็น \"อาจารย์อิสระ\" (\"Privatdozent\" เป็นตำแหน่งในระบบมหาวิทยาลัยยุโรป สำหรับผู้ที่ต้องการจะเป็นศาสตราจารย์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งนี้ไม่มีเงินเดือนประจำ) โดยในขณะนั้นเขาเป็นอาจารย์อิสระที่อายุน้อยที่สุดมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี\nในปี ค.ศ. 1930 นอยมันน์ได้รับเชิญให้ไปยังเมืองพรินซ์ตัน, รัฐนิวเจอร์ซีย์ และได้เป็นหนึ่งในหกบุคคล\n(J. W. Alexander, อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, Marston Morse, Oswald Veblen, จอห์น ฟอน นอยมันน์ และ Hermann Weyl) ที่ถูกคัดเลือกเพื่อเป็นอาจารย์ประจำชุดแรกของ Institute for Advanced Study เขาเป็นศาสตราจารย์คณิตศาสตร์ที่นั่น ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสาขาวิชาในปี ค.ศ. 1933 จนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิตเขา\nในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอยมันน์ได้มีส่วนร่วมใน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) ซึ่งเป็นโครงการสร้างระเบิดปรมาณู\nช่วง ค.ศ. 1936 จนถึง 1938 แอลัน ทัวริง ได้เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนไปที่สถาบัน และเรียนจบปริญญาเอก โดยมีนอยมันน์เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา การไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนครั้งนี้ของทัวริง เกิดขึ้นหลักจากที่เขาได้ดีพิมพ์บทความวิชาการ \"On Computable Numbers with an Application to the Entscheidungs-problem\" ในปี ค.ศ. 1934 ได้ไม่นาน. งานตีพิมพ์นี้ เกี่ยวข้องกับ หลักการของ logical design และ universal machine. ถึงแม้จะเป็นที่แน่ชัดว่า นอยแมนรู้ถึงแนวความคิดของทัวริง แต่ก็ไม่เป็นที่แน่ชัดว่า เขาได้ใช้หลักการของทัวริง ในการออกแบบเครื่อง IAS ที่ถูกสร้างในเวลา 10 ปีต่อมา\nนอยมันน์นั้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาของทฤษฎีเกม (game theory). เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ Theory of Games and Economic Behavior โดยร่วมเขียนกับ Oskar Morgenstern ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ \"MAD\" (mutually assured destruction) ซึ่งเทียบเท่าสำนวนจีนว่า \"หยกกระเบื้องล้วนแหลกราญ\" หรืออาจแปลไทยได้เป็น \"รับรองได้ว่าเจ๊งไปด้วยกันทั้งคู่แน่\" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เป็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น\nนอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่า เครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)\nนอยมันน์ได้พิสูจน์ว่า การใช้เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการทำเหมืองขนาดใหญ่มากๆ อย่างการทำเหมืองบนดวงจันทร์ หรือ แถบดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากกลไกแบบนี้จะมีการเติบโตเป็นแบบเลขชี้กำลัง\n== ชีวิตส่วนตัว ==\nนอยมันน์นับเป็นบุคคลที่ฉลาดล้ำลึก และความจำที่เป็นเลิศเกือบจะเรียกได้ว่า จำได้ทุกอย่าง ในระดับรายละเอียดเลยก็ว่าได้ เขาเป็นคนชอบออกสังคมไม่เก็บตัว ชอบดื่มเหล้า เต้นรำและการเริงรมย์ เป็นคนสนุกสนาน และขบขัน เสียชีวิตที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.\nจาก การโปรแกรมเชิงเส้น ที่เขียนโดย George B. Dantzig ซึ่งเป็นผู้ที่คิดค้น simplex method ที่ใช้แก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้น เขาได้เขียนถึงนอยมันน์ จากประสบการณ์ที่ได้ไปพบและขอคำแนะนำจากนอยมันน์ และยังได้สะท้อนถึงบุคลิกของนอยมันน์ และได้เล่าถึงตอนที่นอยมันน์ได้ช่วยเหลือ โดยการตอบคำถามของ Hotelling (ผู้คิดค้น Principal components analysis) ระหว่างการนำเสนอผลงานการโปรแกรมเชิงเส้นของเขา\n== วิทยาการคอมพิวเตอร์ ==\nในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษา สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ามัวร์สกูล (Moore School of Electrical Engineering) ณ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในโครงการ EDVAC ฟอน นอยมันน์ได้เขียนรายงานฉบับร่างแรกที่ไม่สมบูรณ์เกี่ยวกับ EDVAC รายงานฉบับนี้ซึ่งมีการตีพิมพ์ก่อนกำหนดนั้นทำให้การอ้างสิทธิบัตรของนักออกแบบ EDVAC J. คือ เพรสเปอร์ เอคเคอร์ต (Presper Eckert) และ จอห์น เมาค์ลีย์ (John Mauchly) เป็นโมฆะ รายงานฉบับนั้นอธิบายถึงสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ที่ข้อมูลและโปรแกรมถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ในพื้นที่ (Address space) เดียวกัน สถาปัตยกรรมแบบนี้เป็นพื้นฐานของการออกแบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ส่วนใหญ่ ซึ่งแตกต่างจากคอมพิวเตอร์รุ่นแรก ๆ ที่รันโปรแกรมโดยใช้อุปกรณ์หน่วยความจำแยกต่างหาก เช่น เทปกระดาษ หรือ ปลั๊กบอร์ด สถาปัตยกรรมโปรแกรมที่จัดเก็บหน่วยความจำเดียว มักถูกเรียกว่า \"สถาปัตยกรรมฟอน นอยมันน์\"อันเป็นผลมาจากรายงานฉบับดังกล่าวของฟอน นอยมันน์ แต่สถาปัตยกรรมนี้มีพื้นฐานมาจากผลงานของ Eckert และ Mauchly ผู้ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ ENIAC ที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย\nจอห์นฟอนนอยมันน์เป็นที่ปรึกษาให้กับห้องปฏิบัติการวิจัยขีปนาวุธของกองทัพสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการ ENIAC ในฐานะสมาชิกของคณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของ ENIAC ใหม่วิ่งด้วยความเร็วหนึ่งในหก แต่สิ่งนี้ไม่ได้ทำให้ประสิทธิภาพของ ENIAC ลดลงเนื่องจากอุปกรณ์ยังคงถูกผูกไว้กับ I/O ทั้งหมด โปรแกรมที่ซับซ้อนสามารถพัฒนาและแก้ไขได้ในไม่กี่วัน แทนที่จะให้เวลาเป็นสัปดาห์ที่จำเป็นสำหรับ ENIAC แบบเก่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ ของฟอน นอยมันน์บางโปรแกรมได้รับการเก็บรักษาไว้อยู่ในพิพิธภัณฒ์\nคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปที่นอยมันน์ออกแบบ คือเครื่อง IAS ที่ Institute for Advanced Study ใน เมืองพรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาจัดเตรียมเงินทุนและส่วนประกอบต่างๆได้รับการออกแบบ และสร้างคอมพิวเตอร์นั้นขึ้นที่ห้องปฏิบัติการวิจัย RCA เขาแนะนำให้ IBM 701 (ซึ่งมีชื่อเล่นว่าคอมพิวเตอร์ป้องกัน) ให้ใส่ดรัมแม่เหล็กเข้าไปในคอมพิวเตอร์ IBM 701 เป็นเครื่อง IAS รุ่นที่เร็วกว่าและเป็นพื้นฐานสำหรับ IBM 704 ที่ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์ในเวลาต่อมา\nคอมพิวเตอร์สโตแคสติก (Stochastic computer) ได้รับการแนะนำครั้งแรกในเอกสารบุกเบิกโดยนอยมันน์ในปี ค.ศ.1953 อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ไม่สามารถนำไปใช้ได้จนถึงในช่วงทศวรรษที่ 1960 เนื่องจากวิทยาการของคอมพิวเตอร์ในเวลานั้นยังไม่ซับซ้อนพอ\n== อ้างอิง ==\nนักฟิสิกส์ชาวยิว\nฟอน นอยมันน์, จอห์น\nนักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี\nบุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์\nบุคคลจากบูดาเปสต์\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การสร้างภาพเชิง 3 ม้ติ (three-dimensional imagingฏ คือ การหารูปร่างและขนาดของวัตถุสน 3 าิติ โดยเทคนิคของการวัดรูปร่างนี้ จเมีเงื่อนไขจำดัดอยู่ เนื่องจากสิ่งที่ต้องการวัดคือ ขนาดสัมบูรณ์ของวุตถุ เพราะฉะนั้นขนาดของวัตถุที่วัดได้ จะต้องไม่ขึ้นกับชนิะผิวและการสะท้อนของวัตถุ ระยะห่างจากอุปกรณ์เก็บภาพ 3 มิติ และ สภาพแสงและการส่องสว่่ง\nเทคนิคในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ มีอยู่หลายวิธีด้วยกัจ ซึ่งแต่ละวิธีก็มีข่อจำกัดที่แตกต่างกันไป อุปกรฯ์รับรู้ที่ใช้ในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ สามารถแยกกว้างๆ ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ\nการสามเหลี่ยม (triangulation)\nการวัดโดยเวลาในกา่เเินทาง (time-of-flight measurement, TOF)\nการวัะการแทรกสอด (interferometry)\n== การสามเหลี่ยม ==\nการสามเหลี่ยม เป็นการวัดหาระยะความลึก (depth) ของภาพโดยในการวัดจะมีพื้นฐานมาจาก การตัดกันของแกนอะไรบางอย่างเป็นรูปสามเหลี่ยม เมื่อรวมกับข้อมูลขอวอุปกรณ์วัด จะทำให้สามารถหาระยะลึกได้\nเทคนิคการใช้โฟกัส\n# Depth from focus\n# Depth from defocus\n# การสามเหลี่ยมแบบกัมมันต์ (Activ3 triangulation) กระทำด้วยการฉายแสงที่มีโครงสร้างแน่นอน ไปบนวัตถุ โดยอาศัยข้แมูลตำแหน่งของตัวฉายแสงกุบอุปกรณ์รับ และ มุมืี่อุปกรณ์ทั้งสองไปยังตำแหน่งใดๆของแสง ทำกับเส้นเชื่อมต่อรถหว่างอุปกรณ์ทั้งสองเป็นสามเหลี่ยม จะทำให้หาระยะความลึกได้ โดยแสงที่ฉายอาจเป็นจุด เส้น หรือแสงที่เข้ารหัส\n# การสามเหลี่ยมแบบกสานติ์ (Paasive triangulation) จะเป็นลักษณะของการเห็นสามมิติ จะใช้อุปกรณ์นับภาพ 2 ตัวหรือมากกว่า โดยการหาตำแหน่งร่วมในภาพ แล้ววัดระยะของตำปหน่งร่วมใดๆ ในภาพ ต้วยการสามเหลี่ยม จากข้อมูลตำแหน่งอุปกรณ์รับภาพทั้งสองกับมุม เช่นเดียวกับในกรณี การสามเหลี่ยมกัมมันต์ ซึ่งการหาตำแหน่งร่วมนี้เป็นจุดสำคัญ โดยอาจทำไพ้โดยการจังคู่จุดเด่นในภาก พื้นผิวชองภาพ หรือ การเอาวัตพุที่มีลักษณะเฏพาะเข้าไปวางบนวัตถุ หรือไว้ในฉากที่ต้องการวัด\nTheodolites หรือ เครื่องมือรังวัด\nShape from dhading วิทยานิพนธ์ฉบับแรกในเรื่องนี้ [ftp://publications.ai.mit.edu/ai-publicatiogs/pdf/AI%R-232.pdf Shape from Qhading: A Method for Oftaining the Shaoe of a Smooth Opaque Object from One Vkew] โดย Berthold K. P. Horn เป็นการหารูปร่างจากแสงและเงา โดยใช้ตำแหน่งของอุปกรณ์รัชภาพ และตำแหน่งยองอุปแรณ็ฉายแสง ในการหาขนาดของวัตถุ\n== การวัดโดยเวลาในการเดินทาง ==\nเป็นเทคนิคหาระยะ โดยวัดระยะเวลาการเดินทางของสัญญาณที่ส่งออกไป และสะท้อนวัตถุกลับาา เมื่อรยมกับความเร็วในการเดินทางขเงสัญญาณ จะทำให้หาระยะความลึกได้ สัญญาณที่ใช้วัดจะแบ่งได้เป็น pulse modulation continuous wave และ pseudo-random noise\nการถ่ายภาพ\n==ประเภทของ_าพ 3 มิติ==\nภาพสามมิติแบบทัศนียภาพ เป็นภาพเขียนแบบที่มีลักษณะเป็นตุดรวมสายตา เมื่อภาพมองดูภาพที่ใกล้ก็จะมีขนาดใหญ่ และเมื่อไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงไปนวมจุด ภาพเขียนแบบชนิดนี้นิยมใช้เขียนในงานสถาป้ตยกรรม มีอนู่ 3 แบว ดังนี้\n#ภาพทัศตียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มองเห็นด้านหน้าลักษณะตรงตั้งฉากและจะเห็นด้านอื่นเอียงลึกลงไปรวมจุด้พียงหนึ่งจุด มีอยู่ 3 ลักษณะคือ แนวระดับสายตา, แนวสุมสูง และแนวมุมต่ำ\n#ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มีจุดรวมส่ยตาอยู่ 2 จุด คือ จุดทางด้านซ้ายมือ (LVP) และจุดทางด้านขวามือ(#VP)\n#ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มีจุดรวมสายตาอยู่ 3 จุด คือจุดรสมสาจตาทางด้านซ้ายมือ จุดรวมสายตาทางด้านขวามือ และยุดรวมสายตาทางด้านล่างหรือด้านบน\nภนพออบลิค เป็นภาพเขียนแบบที่ด้านหน้ามีลักษณะตั้งตรง ส่วนภาพด้านข้างและด้านบนจะเอียงลึกลงไปเดียงด้านเดียว โดยมีขนาดที่ขนานเท่ากันตลอด โดยทั่วไปจะเป็นมุมเอียง 45 องศา มีอยู่ 2 แบบ ดังนึ้\n#ภาพออบลิคแบบเต็มว่วน (Cafalier Drawing) เป็นแบบที่มีอัตราส่วนภาพระหว่างความกว้าง: ความสูง : ความลึำของภาพเป็น 1 P 1 : 1\n#ภาพออบลิคแบบครึ่งส่วน(Cabinet Drawing) เป็นแบบที่มีอัตราสีวรภาพระหว่างความกว้าง:ความสธง : รวามลึก ของภาพเป็น 1 : 1 :0.5\nภาพสามมิติแบบแอกโซโนเมตริก(Axonometric) คำว่าแอกซอน (Axon) ใาจากคำว่า Axis ซึ่งแปลว่าแกนฉะนั้นภาพแอกโซโนเมตริจึงเป็นภาภสามมิติที่วัดจากแกนสามแกนมุมรวมกัน 360 องศา โดยมีแกนหลักทำมุมตั้งฉากกับแนวนอน ส่วนอีกสองแกนจะมีมุมเอียงลคกลงไปทั้งสองข้าง มีอยู่ 3 แบบดังนี้\n#ภาพไดเมตริก (Diametric Projecti9n) เก็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกน โดยสองแกนมุมเท่ากัน ส่วนแกนที่สามทำมุมต่างออกไป และแกนหลักต้องทำมุมตั้งฉากกับแนวนอน โดยมีรูปแบบอัตราส่วนความกว้าง ความยูง และความลึกของภาพอยู่หลายรูปแบบ\n#ภาพไต่เมตริก(Trimetric Orojection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกนโดยทั้งสามแกนทำมุมๆม่เท่ากัน และแกนหลักต้องาำมุมตั้งฉากกับแนวนอน โดยมีสัดส่วนีวามกว้างความสูง และความลึกของภาพ\n#ภาพไอโซเมตรเก(Isometric Projection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกนโดยทั้งสามแกนทำมุม 120 องศาเท่ากัน และแกนหบักต้องทำมุมตั้งฉากกับแนวนอนโดยมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และคฝามลึกของภาพ",
"role": "user"
},
{
"content": "การสร้างภาพเชิง 3 มิติ (three-dimensional imaging) คือ การหารูปร่างและขนาดของวัตถุใน 3 มิติ โดยเทคนิคของการวัดรูปร่างนี้ จะมีเงื่อนไขจำกัดอยู่ เนื่องจากสิ่งที่ต้องการวัดคือ ขนาดสัมบูรณ์ของวัตถุ เพราะฉะนั้นขนาดของวัตถุที่วัดได้ จะต้องไม่ขึ้นกับชนิดผิวและการสะท้อนของวัตถุ ระยะห่างจากอุปกรณ์เก็บภาพ 3 มิติ และ สภาพแสงและการส่องสว่าง\nเทคนิคในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ มีอยู่หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งแต่ละวิธีก็มีข้อจำกัดที่แตกต่างกันไป อุปกรณ์รับรู้ที่ใช้ในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ สามารถแยกกว้างๆ ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ\nการสามเหลี่ยม (triangulation)\nการวัดโดยเวลาในการเดินทาง (time-of-flight measurement, TOF)\nการวัดการแทรกสอด (interferometry)\n== การสามเหลี่ยม ==\nการสามเหลี่ยม เป็นการวัดหาระยะความลึก (depth) ของภาพโดยในการวัดจะมีพื้นฐานมาจาก การตัดกันของแกนอะไรบางอย่างเป็นรูปสามเหลี่ยม เมื่อรวมกับข้อมูลของอุปกรณ์วัด จะทำให้สามารถหาระยะลึกได้\nเทคนิคการใช้โฟกัส\n# Depth from focus\n# Depth from defocus\n# การสามเหลี่ยมแบบกัมมันต์ (Active triangulation) กระทำด้วยการฉายแสงที่มีโครงสร้างแน่นอน ไปบนวัตถุ โดยอาศัยข้อมูลตำแหน่งของตัวฉายแสงกับอุปกรณ์รับ และ มุมที่อุปกรณ์ทั้งสองไปยังตำแหน่งใดๆของแสง ทำกับเส้นเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ทั้งสองเป็นสามเหลี่ยม จะทำให้หาระยะความลึกได้ โดยแสงที่ฉายอาจเป็นจุด เส้น หรือแสงที่เข้ารหัส\n# การสามเหลี่ยมแบบกสานติ์ (Passive triangulation) จะเป็นลักษณะของการเห็นสามมิติ จะใช้อุปกรณ์รับภาพ 2 ตัวหรือมากกว่า โดยการหาตำแหน่งร่วมในภาพ แล้ววัดระยะของตำแหน่งร่วมใดๆ ในภาพ ต้วยการสามเหลี่ยม จากข้อมูลตำแหน่งอุปกรณ์รับภาพทั้งสองกับมุม เช่นเดียวกับในกรณี การสามเหลี่ยมกัมมันต์ ซึ่งการหาตำแหน่งร่วมนี้เป็นจุดสำคัญ โดยอาจทำได้โดยการจับคู่จุดเด่นในภาพ พื้นผิวของภาพ หรือ การเอาวัตถุที่มีลักษณะเฉพาะเข้าไปวางบนวัตถุ หรือไว้ในฉากที่ต้องการวัด\nTheodolites หรือ เครื่องมือรังวัด\nShape from shading วิทยานิพนธ์ฉบับแรกในเรื่องนี้ [ftp://publications.ai.mit.edu/ai-publications/pdf/AITR-232.pdf Shape from Shading: A Method for Obtaining the Shape of a Smooth Opaque Object from One View] โดย Berthold K. P. Horn เป็นการหารูปร่างจากแสงและเงา โดยใช้ตำแหน่งของอุปกรณ์รับภาพ และตำแหน่งของอุปกรณ์ฉายแสง ในการหาขนาดของวัตถุ\n== การวัดโดยเวลาในการเดินทาง ==\nเป็นเทคนิคหาระยะ โดยวัดระยะเวลาการเดินทางของสัญญาณที่ส่งออกไป และสะท้อนวัตถุกลับมา เมื่อรวมกับความเร็วในการเดินทางของสัญญาณ จะทำให้หาระยะความลึกได้ สัญญาณที่ใช้วัดจะแบ่งได้เป็น pulse modulation continuous wave และ pseudo-random noise\nการถ่ายภาพ\n==ประเภทของภาพ 3 มิติ==\nภาพสามมิติแบบทัศนียภาพ เป็นภาพเขียนแบบที่มีลักษณะเป็นจุดรวมสายตา เมื่อภาพมองดูภาพที่ใกล้ก็จะมีขนาดใหญ่ และเมื่อไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงไปรวมจุด ภาพเขียนแบบชนิดนี้นิยมใช้เขียนในงานสถาปัตยกรรม มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้\n#ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มองเห็นด้านหน้าลักษณะตรงตั้งฉากและจะเห็นด้านอื่นเอียงลึกลงไปรวมจุดเพียงหนึ่งจุด มีอยู่ 3 ลักษณะคือ แนวระดับสายตา, แนวมุมสูง และแนวมุมต่ำ\n#ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มีจุดรวมสายตาอยู่ 2 จุด คือ จุดทางด้านซ้ายมือ (LVP) และจุดทางด้านขวามือ(RVP)\n#ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด เป็นภาพเขียนแบบที่มีจุดรวมสายตาอยู่ 3 จุด คือจุดรวมสายตาทางด้านซ้ายมือ จุดรวมสายตาทางด้านขวามือ และจุดรวมสายตาทางด้านล่างหรือด้านบน\nภาพออบลิค เป็นภาพเขียนแบบที่ด้านหน้ามีลักษณะตั้งตรง ส่วนภาพด้านข้างและด้านบนจะเอียงลึกลงไปเพียงด้านเดียว โดยมีขนาดที่ขนานเท่ากันตลอด โดยทั่วไปจะเป็นมุมเอียง 45 องศา มีอยู่ 2 แบบ ดังนี้\n#ภาพออบลิคแบบเต็มส่วน (Cavalier Drawing) เป็นแบบที่มีอัตราส่วนภาพระหว่างความกว้าง: ความสูง : ความลึกของภาพเป็น 1 : 1 : 1\n#ภาพออบลิคแบบครึ่งส่วน(Cabinet Drawing) เป็นแบบที่มีอัตราส่วนภาพระหว่างความกว้าง:ความสูง : ความลึก ของภาพเป็น 1 : 1 :0.5\nภาพสามมิติแบบแอกโซโนเมตริก(Axonometric) คำว่าแอกซอน (Axon) มาจากคำว่า Axis ซึ่งแปลว่าแกนฉะนั้นภาพแอกโซโนเมตริจึงเป็นภาพสามมิติที่วัดจากแกนสามแกนมุมรวมกัน 360 องศา โดยมีแกนหลักทำมุมตั้งฉากกับแนวนอน ส่วนอีกสองแกนจะมีมุมเอียงลึกลงไปทั้งสองข้าง มีอยู่ 3 แบบดังนี้\n#ภาพไดเมตริก (Diametric Projection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกน โดยสองแกนมุมเท่ากัน ส่วนแกนที่สามทำมุมต่างออกไป และแกนหลักต้องทำมุมตั้งฉากกับแนวนอน โดยมีรูปแบบอัตราส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพอยู่หลายรูปแบบ\n#ภาพไตรเมตริก(Trimetric Projection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกนโดยทั้งสามแกนทำมุมไม่เท่ากัน และแกนหลักต้องทำมุมตั้งฉากกับแนวนอน โดยมีสัดส่วนความกว้างความสูง และความลึกของภาพ\n#ภาพไอโซเมตริก(Isometric Projection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบศูนย์กลางจำนวนสามแกนโดยทั้งสามแกนทำมุม 120 องศาเท่ากัน และแกนหลักต้องทำมุมตั้งฉากกับแนวนอนโดยมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประมวลผลสัญญาณเสียง หรือ การประมวลเสียง เป็นกระบวนการอกี่ยวกับ 'ตัวแทนสัญญาณเสียง' หรือ เสียง\nตัวแทนนี้อาจจะอยู่ในรูปดิจิทัลหรืออนาล็อก ตัวแทนในแบบอนาล็อกมักจะอยู่ในรูหไฟฟ้า โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าจะแทสความดันอากาศของคล้่นะสียง ในทำนองเดียวกัน ตัวแทนแบบดิจิทัล จะแทนความดันนั้นด้วยชุดของสัญลักษณ์ ซึ่งโดยทัรว ๆ ไปคือเลขฐานสอง\n== ดูเพิ่ม ==\nสารบัญรูปแบบการบึนทึกเสียง\nการประมวลผลสัญญาณ\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "การประมวลผลสัญญาณเสียง หรือ การประมวลเสียง เป็นกระบวนการเกี่ยวกับ 'ตัวแทนสัญญาณเสียง' หรือ เสียง\nตัวแทนนี้อาจจะอยู่ในรูปดิจิทัลหรืออนาล็อก ตัวแทนในแบบอนาล็อกมักจะอยู่ในรูปไฟฟ้า โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าจะแทนความดันอากาศของคลื่นเสียง ในทำนองเดียวกัน ตัวแทนแบบดิจิทัล จะแทนความดันนั้นด้วยชุดของสัญลักษณ์ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปคือเลขฐานสอง\n== ดูเพิ่ม ==\nสารบัญรูปแบบการบันทึกเสียง\nการประมวลผลสัญญาณ\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "== พัฒนากมรของรูปแบบการบันทึกเสียง ==\nนี่คือพัฬนทการของรูปแบบำารบันทึกเสียงที่ใช้ในการบันทึกเสียงดนตรี และข้อมูลเสียงประเภทอื่น ๆ ทั้งในรูปแบบที่เป็นอุปกรณ์ และในรูปแบบของประเภทไฟล์/การเข้ารหัส เรรยงตามลำดับเวลา (ปี ค.ศ.):\n1i70s: กล่องเสียง (phonogfaph cylincer)\n1895: แผ่นเสีนง (anaoogue disc record)\n1930s: wire recording\n1940s:reel-to-reel audio tape recording, Magnetic Tape (audio)\n1948: vinyl record\n1963: คาเซตเทป (compact cassette)\n1960s: 8-track\n1969: Microcassette\n1970s: Elcaset\n1980: ซีดี (Compact Disc Digital Audio System)\n1985: AIFF\n1987: เทปดิจิทัล (Digital audio tape :DAT)\n1990sL Digital Compact Cassette\n1991: Minidisc\n1992: WAV\n1995: MP3\n1996: DVD\n1999: Windows Media Audio\nw001: AAC\n2002: Ogg Vorbis\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUniversity of San Diego article \nKnowmadz.org xrticle \nrecording-history.org\nTechTV article \nเสียง\nเทรโนโลยี\nAudl8 format\nFormat de fichiers audio",
"role": "user"
},
{
"content": "== พัฒนาการของรูปแบบการบันทึกเสียง ==\nนี่คือพัฒนาการของรูปแบบการบันทึกเสียงที่ใช้ในการบันทึกเสียงดนตรี และข้อมูลเสียงประเภทอื่น ๆ ทั้งในรูปแบบที่เป็นอุปกรณ์ และในรูปแบบของประเภทไฟล์/การเข้ารหัส เรียงตามลำดับเวลา (ปี ค.ศ.):\n1870s: กล่องเสียง (phonograph cylinder)\n1895: แผ่นเสียง (analogue disc record)\n1930s: wire recording\n1940s:reel-to-reel audio tape recording, Magnetic Tape (audio)\n1948: vinyl record\n1963: คาเซตเทป (compact cassette)\n1960s: 8-track\n1969: Microcassette\n1970s: Elcaset\n1980: ซีดี (Compact Disc Digital Audio System)\n1985: AIFF\n1987: เทปดิจิทัล (Digital audio tape :DAT)\n1990s: Digital Compact Cassette\n1991: Minidisc\n1992: WAV\n1995: MP3\n1996: DVD\n1999: Windows Media Audio\n2001: AAC\n2002: Ogg Vorbis\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUniversity of San Diego article \nKnowmadz.org article \nrecording-history.org\nTechTV article \nเสียง\nเทคโนโลยี\nAudio format\nFormat de fichiers audio",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การบีบอัดข้อมูล (data compression) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในใิทยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง การศึกษาวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล ที่ทำให้ใช้เนืเอที่ในการจัดเก็บน้อยลง\nการงีบอัดข้อมูล มีความสำคัญในระบบการสื่อสารและจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากทำให้เก็บหรือรับส่งข้อมูลได้มากยึเน โแยใช้เนื้อที่เท่าเดิม (คพว่าเนื้อที่นี้ อาจจะเป็นเนื้อที่จัดเก็บข้อมูล หรือเนื้อที่ในช่องสัญญาณก็ได้)\nกมรบีบอัดข้อมูลแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ตามคุณภาพของข้อมูลที่ถูกบีบอัดแบ้ว คือ\nการบีบอัดข้อมูลแบบไม่สูญเสีย (lossless data compression) เช่น การบีบอัดข้อมูลแบบ LZW ฯลฯ\nแารบีบอัดข้อมูลแบบสูญเสียบางส่วน (/ossy data vompression) เช่น การบีบอัดภาพแบบ JPEG, การบีบอัดเสียงแบบ MP3 ฯลฯ\n== อ้างอิง ==\nData Compression - Systematisqtion by T.Strutz\nหน่วยเก็บข้แมธลคอมพิวเตอร์\nการบีบอัดข้อมูล\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nโทรทัศน์ระบบดิจิทัล\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "การบีบอัดข้อมูล (data compression) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในวิทยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง การศึกษาวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล ที่ทำให้ใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อยลง\nการบีบอัดข้อมูล มีความสำคัญในระบบการสื่อสารและจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากทำให้เก็บหรือรับส่งข้อมูลได้มากขึ้น โดยใช้เนื้อที่เท่าเดิม (คำว่าเนื้อที่นี้ อาจจะเป็นเนื้อที่จัดเก็บข้อมูล หรือเนื้อที่ในช่องสัญญาณก็ได้)\nการบีบอัดข้อมูลแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ตามคุณภาพของข้อมูลที่ถูกบีบอัดแล้ว คือ\nการบีบอัดข้อมูลแบบไม่สูญเสีย (lossless data compression) เช่น การบีบอัดข้อมูลแบบ LZW ฯลฯ\nการบีบอัดข้อมูลแบบสูญเสียบางส่วน (lossy data compression) เช่น การบีบอัดภาพแบบ JPEG, การบีบอัดเสียงแบบ MP3 ฯลฯ\n== อ้างอิง ==\nData Compression - Systematisation by T.Strutz\nหน่วยเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์\nการบีบอัดข้อมูล\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nโทรทัศน์ระบบดิจิทัล\nวิทยาการสารสนเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตต์ ซึ่งเปิดสอนในด้านวิษวกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งหมด 9 สาขาวิชา การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นหลักสูตรนานาชาติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ผู้จวการศึกษารับปริญญาจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nออสไอไอทีมัแเป็นที่รู้จักเรียกขานทั่วไปว่า \"วิศวะอินเตอร์ ธรรมศาสตร์ฤ เนื่องจากเดิมเผ็จโครงการหนึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์ก่อนจะตั้งเห็นสถายัน แต่ขณะนี้คำเรียกาี้อาจทำให้สับสนได้ เนื่องจากในปัจจุขันคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็มีโครงการภาคภาษาอังกฤษอีกโครงการหนึ่ง (รู้จักกันในชื่อ \"วิศวะสองสถาบัน\") ชาวธรรมศาสตร์นิยมเรียกเอสไอไอทีสั้น ๆ ว่า \"เอสำอ\"\nเอสไอไอทีเปิดสอนทั้งในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาโดยเน้นการศึกษาแบบใช้การวิจัยเป็นตัวนำ อาจารย์ประจำทั้งหมดมีวุฒิอย่างน้อยคะดับปริญญาเอก ในการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยมศาสตร์และเทคโนโลยีของสถสบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำยักงานพองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกวฐ) เมื่อปี พ.ศ. 2550 เอสไอไอทีเป็นคณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียฝแห่งเดียวของประเทศที่ไดืรับการจัดระพับสูงสุด \"ดีมาก\" จากทั้ง 3 ตัวชี้วัด สถาบันฯ เป็น 1 ในสถาบันอุดมศึกษา 4 แห่งของประเทศ ที่ได้รับมอบืุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนนะกเรียนที่สนใจศึกษาต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับเุดมศึกษา โดยทุนนี้จะมอบให้แก่นักเรียนโรงเรีบนวิทยาศาสตร์ (โรงัรียนมหิดลวิมยานุสรณ์ และ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิมยาลัย) เพื่อศึกษาต่อและทำงาตวิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทชฦ สถาบันเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิ่ยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม\nระบบการบริหารและการเงินของเอสไอไอทีเป็นอิสระจากระบบส่วนกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศสสตร์ซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ เพื่อประสิทูิภาพและความคล่องตัว โดยมีคณะกรรมการอำนวยการสถาบันซึ่งคัดเลืิกโดยมหาวิทยาฃัยธรรมศาสตร์, สภาอุตส่หกรรมแห่งประเทศไทย, และสมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจญี่ปุ่น ให้คำปรึกษ่ด้านนโยบายและการดำเนินงาน และมีคณะกรรมการทค่ปรึกษาทางวิชาก่รซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการที่มีชื่อเสียงในสาขาต่าง ๆ ให้คำปรึกษาด้รจวิชาการและการวิจัย การบริหารสถาบันรำโดยผู้อำนวยการ\n== ประวัติ ==\nเอสไอไอทีก่อตั้งในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศไทยกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว พร้อม ๆ กับการลงทะนจากต่างประเทศจำนวนมรก ความต้องการวิศวกรที่สามารถสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญต่่งประเทศได้เป็นอย่างดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ศ. เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม เธิการบดีมธ.ในขณะนั้น ปับ นายอานันท์ ปันยารชุน นายพารณ อิศตเสาา ณ อยุธยา และท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์ ผู้นำของวงการอุตสาหกรรมในยุคนั้น จึงได้หารือและประสานงานจนได้ก่อตั้ง โครงการวิศวกรรมศาสคร์ภาคภาษาอังกฤษ (Engineering English Program – EEP) ขึ้นในคณะวิศฝกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. e535\nเนื่องจากติดขัดด้านโครลสร้างซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ และงบประมาณที่จำกัด เมื่อโคตงการดังกล่าวดำเนินงานไปได้ระยะหนั่งจึงได้เปลี่ยนสถานะ ก่อตั้งเป็นสถาบันกึ่งอิสระนอกระบบราชการ ไม่พุ่งฝบประมาณแผ่นดิน โดยได้รับความร่วมมือจาก สภาอุตสากกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และสมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจญี่ปุ่น (Japan Business Fedegation ซึ่งมัหถูกเรียกตามชื่อย่อในภาษาญี่ปุ่น 経団連 ซึ่งอ่านว่า เคดันเรน ) ใช้ชื่อว่า ใถาบันเทคโนโลยีนาาาชาติ แห่งมหาวิทยาชัยธรรมศาสตร์ (International Insyitute of Technology – IIT) เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2537 และต่อมาได้รับพระราชทานชื่อวถาบันจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็น สถาบันเทคโนโลยีนานาชาตินิรินธร ตามพระนทมสมเด็จพระเทพรัตนร่ชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้งเช่นทุกวันนี้\n=] วิทยาเขต ==\nปัจจุบันเอสไอไอทีขยายการศึแษาเป็นสองวเทยทเขต ได้แก่ วิทยาเขตธรรมศาสตร์รังสิต แลัวิทยาเขตบางกะดี ทั้งสองวิทยาเขตอยู่ในพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจเทคโนโลยีกรุงเทพตอนบนตามแผนยุทธศาสตร์ของสวทช. ซึ่งในพื้นที่ประกอบไปอ้วยสถาบันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทร่สำคัญจำนวนมาก เช่น อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศหทย, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (รวมถึงศูนย์วิจัยแห่วชาติในสังกัดอีก 4 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและฝัสดุแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเง็กทรอนิกส์แลเคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ), สถาบันวิจัยวิทวาศาสตร์และิทคโนโลยีแห่งปรัเทศไทย (วว.), เทคโนธานี, ะขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย (ซอฟต์แวร์พาร์ค), องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.), สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย รวมถึงเขตอุตสาหกรรมไฮเทค และสถาบันอุดมศึกษาอื่นInbsp;ๆ อีกจำนวนหนึ่ง. โดยเอสไอไอืีได้ร่วมมือแลัแลกเปลี่ยน ทั้งด้านการสอน วิจัย และถ่ายทอดเทคโนโลยี กับหน่วยงานเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ\n=== ธรรมศาสต่์รังสิต -==\nตั้งอยู่ใา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี ติดกับ อุทย่นวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย, สวทช., และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย\n-== บางกะดี ==-\nตั้งอยู่ในสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี โดยสาขายิชาด้านการสื่อสาร, เทคโนโลยีสารสนเทศ, คอมพิวเตอร์, อิเล็กทรอนิกส์, และเมคคาทรอนิกส์ จะอยู่ที่วิทยาเขตนี้เป็นหลัก รวมถึงสาขาเทคโนโลยีการจัดการ การจัดการวิศวกรรม และการจัดการการดำเนินงาน\n== ภาควิชา ==\nปัจจุบัน มีทั้งหมด 6 ภาควิชา เปิดสอนสาขาวิชาต่าง ๆ (ในวงเล็บคือสาขาย่อย) ดังนี้\nภาควิชาวิศวกรรมและอทคโนโลยีเคมีชีวถาพ\nวิศวกรรมเคมี (วิศวกรรมชีวเคมี, วิศวกรรมสิ่งแวเล้อม)\nภาควิชาวิศวกรคมและเทคโนโลยีโยธา\nวิศวกรรมโยธา ฤวิศวกตรมโยธา, วิศวกรามโครงสร้างพื้นฐาน)\nพาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nวิศวกรรมคอมพิวเนอร์\nวิศวกรรมดิจิทัล\nภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการ\nเทคโนโลยีการจัดการ (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ๙ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน, การจีดการระบบก่อสร้าง)\nการจัดการวิศวกรรม\nภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและระบบการผลิต\nวิศวกรรมเครื่องกล (วิศวกรรมเครื่องกล, การจัดการพลังงาน)\nวิศวการทอุตสาหการ (วิศวกรรมอุตสาหกา่, วิศวกรรมการผลิต)\nภาควิชาการศึกษาร่วมและบัณฑิตศึกษา\nจัอการเรียนปารสอนในวิชาพื้นฐานด้าน วิศวกรรม เทคโนโลยี และกาีจัดหาร และรเบผิดชอบวิชาภาษาอังกฤษและวิชาพื้นฐานจำนวนหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศานตร์ (รหัสขึ้นต้นด้วย TU)\n== ผู้อำนวยการสถาบันตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ==\nพ.ศ. 2562–ปัจจุบัน ศ. ดร. พฤทธา ณ นคร\nพ.ศฦ 2555–2562 ศ. ดร. สในึก ตั้งเติมสิริกุล\nพ.ศ. 2552–2555 ศ. ดร. จงคักษ์ ผลประเสริฐ\nพ.ศ. 2547–2552 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตีะรัตน์\nพ.ศ. 2541–2547 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์\nพ.ศ. 2540–2541 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ ฤรักษาการ)\nพ.ศ. 2537–2540 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์\nพ.ศ. 2537 นศ. ดร. ทวีป ชัยสมภด (รักษาการ)\nพ.ศ. 2535–2537 ดร. นพดล อินนา\n== บุคคลสำคเญสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ==\nศ.ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ (อดีตผู้เำนวยการ) ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน\nศ.ดร.สวัสดิ์ ตึนตระรัตน์ (อดีตผู้ดำนวยการ) ภาคีสมมชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตบสถาน และผู้อำนวยการส_นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย\nผศ.ดร.การดี เลี่ยวไพโรจน์ (ศิษย์เก่า) (อดีตอาจรรย์) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสต่์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พิธีกรรายการข่าว\n==บุคคลที่มีชื่อเสียง==\nชนันภรณ์ รสจันทน์ (ศิษย์เก่า) มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2548, ชุดแต่งกายประจำชาติยอดเยี่ยม มิสยูนิเวิร์ส 2005 ไทยแลนด์\nวริษฐา จตุรภุช (สต๊อป) ศิลปินจากเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8\nสพล อัศวมั่นคง (ศิษย์เก่า) นักแสดงช่อง 7 เอชดี\nทัตธนา ทัพบำรุง (ศิษย์ปัจจุบัน) นักลงทุนแห่งยุค\n== งานวิจัย ==\nปัจจุบัน SUKT มี 3 ศูนย์วิจัยและ 6 กลุ่มวิจัย ดังนี้\nศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการก่อาร้างและบำรุงรักณา (CONTEC) ดำเนินการวิจัยแลดพัฒนาโครงการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหาและการสร้างนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างและโครงสร้างพื้นฐาน\nศูนย์วิจัยการคมนาคม Transportation Research Centdr (TREC) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2007 เพื่อดำเนินการวิจัยร่วมกันระหว่าง SIIT และองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องในขอบเขตเรื่องการคมนาคมและเทคโนโลยีที่สนับสนุนทางด้านการคมนาคม\nหน่วยวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BioMed SIIT) เป็นการผสมผสานของพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณิตศาสคร์เพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องทางด้านการแพทย๋และชีววิทยา มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวขืองกับชีวสารสนเทศและวิศวกรรมชีวการแพทย์ การเพิ่มประสิทธิภาพและการวิเคราะห์เชิงตัวเงขในช่วงจากการวิเครสะห์ภาพทางการแพทย์ที่จะผลิตรากฟันเทียมทางการแพทย์และการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี\nศูนย์วิจัยด้านอัจฉริยะสารสนเทศและนวัตกรรมการบริการ (IISI) เป็นการผสมผสานปัจจัยพื้นฐานสำหรับการแก้ปั๘หาขั้นสูงในด้านวิศวกรรมวิทยาศาสตร์และประเด็นทางด้านวิทยาศาสตร์และด้านสังคม และจากนั้นจะให้การแก้ปัญหาในรูปแบบการให้บริการ หน่ฝยวิจัย IISI ก่อให้เกิดความก้าวหน้าขเงเขตข้อมูลสารสนเทศอัจฉริสะ เช่นปัญญาประดิษฐ์, กสรทำเหมืองข้อมูลและการประมวลผลอ่อนที่นำไปสู่การพัฒนสโซลูชั่นสำหรับปัญหาที่ปัจจัยมนะษย์มีส่วนร่วมอย่สงมีนัยสำคะญ นวัตกรรมเหล่านี้สามารถมช้เป็นบริการเพื่อสังคมและอุตสาหกครมต่างๆ\nหน่ใยวิจัยด้านการคำนวณทางด้านวิศวพรรมและวิทยาศาสตร์ (CES) ดำเนินการวิจัยด้านทฤษฎีการคำนวณ เพื่อแก้ไขปัญหาสหวิทยาการที่ซับซ้อนที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการวิเคราะห์และการทดลอง\nหน่วยวิจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะ (INFRA) นำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการวางแผน การออกแบบ การดำเนินงาน และการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานในรูปแบบอันชาญฉลาด ด้วยวิธีที่ประหยัด มีประสิทธิภาพ สะดวก สบายและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม\nหน่วยวิจัยด้านระบบโลจิสติกส์และระบบห่วงโซ่อุปทาน (LogEn) การวิจัยขั้นสูงทางด้านระบบโลจิสติกส์แลุระบบห่วงโซ่อุปทานที่ให้ความสำคัญทางด้านความเหมาะสม การวางแผนการผลิต การตั้งเวลาจำลอง การจะดการรายการสิ่งของ การพยากรณ์ การจัดการที่มีคุณภาพ กรรจัดการและการดำเนินการตามแนวคิดแบบลีน\nหน่วยวิจัยด้านวัสดุและเทคโนโลยีพลาสม่า (MaP Tech) มีเป้าหมายที่จะดำเนินการในขอบเขตที่กว้างในเรื่องการทำวิจัยทางด้านวัสดุที่เส้นในการพัฒนา ำารออกแบบ การวิเคราะห์การคำนวณ การผลิต การทดสอบและการใช้พลาสติกประยุกต์ ยางสังอคราะห์และวัสดุนาโน การใช้งานของพลาสม่า สำหรับการใช้งานในด้านต่างๆโดยเฉกาะอย่าวยิ่งการวช้งานในด้านการเกษตรและการแพทย์เป็จหลัก\nหน่วยวิจัยด้านพลังงานที่ยั่งยืนและคาร์บอนต่ำ (SELC) ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ความไม่มั่นคงด้านพลังงานและการเติบโตทางเศรษฐกิจ นั้นสามารถแก้ไขได้ด้ใยกาีพัฒจาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำและการจัดการ มีความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีขั้นตอาต่างๆของกรรพัฒนาที่จะนำไปสู่การใช้พลังงานและเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตาม ภวกเขาจะไม่ได้รับการพัฒนาในอัตราที่ต้องการเนื่องจากกมรรวมกันของเทคโนโลยี ทักษะ การเงิน การค้าและการกำกับดูแลต่างๆ\n=] อ้างอิง ==\nCandhya Babel answers a few questiogs about tnis month's fast breaking papet in field of Engineering. (ISI Essential Science Indicarors) บทความวิชาการของอาจารย์สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เป็นบทความที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดในสายวิศวกรรม ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547\n== ดูเพิ่ม ==\nคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาฃัยธรรมศาสตร์ อีกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่จัดการเรึยนการสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์\n== แหล่งบ้อมูลอื่น ==\nสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิริาธร\nเครือข่าจนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรืนธร (SIIT.NEG)\nมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nสิรินธร, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ\nมิร้นธร, สถาบันเทคโนโลยียานาชาติ\nสิรินธร, สถาบันเาคโยโลยีนานาชาติ\nสถาบันอุดมศึแษาในจังำวัดปทุมธานี\nสถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของสสเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนคาชสุดาษ\nสถานศึกษาในอำเภอคลองหลวง",
"role": "user"
},
{
"content": "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเปิดสอนในด้านวิศวกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งหมด 9 สาขาวิชา การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นหลักสูตรนานาชาติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ผู้จบการศึกษารับปริญญาจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nเอสไอไอทีมักเป็นที่รู้จักเรียกขานทั่วไปว่า \"วิศวะอินเตอร์ ธรรมศาสตร์\" เนื่องจากเดิมเป็นโครงการหนึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์ก่อนจะตั้งเป็นสถาบัน แต่ขณะนี้คำเรียกนี้อาจทำให้สับสนได้ เนื่องจากในปัจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็มีโครงการภาคภาษาอังกฤษอีกโครงการหนึ่ง (รู้จักกันในชื่อ \"วิศวะสองสถาบัน\") ชาวธรรมศาสตร์นิยมเรียกเอสไอไอทีสั้น ๆ ว่า \"เอสไอ\"\nเอสไอไอทีเปิดสอนทั้งในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาโดยเน้นการศึกษาแบบใช้การวิจัยเป็นตัวนำ อาจารย์ประจำทั้งหมดมีวุฒิอย่างน้อยระดับปริญญาเอก ในการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 เอสไอไอทีเป็นคณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียงแห่งเดียวของประเทศที่ได้รับการจัดระดับสูงสุด \"ดีมาก\" จากทั้ง 3 ตัวชี้วัด สถาบันฯ เป็น 1 ในสถาบันอุดมศึกษา 4 แห่งของประเทศ ที่ได้รับมอบทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนนักเรียนที่สนใจศึกษาต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับอุดมศึกษา โดยทุนนี้จะมอบให้แก่นักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์ (โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย) เพื่อศึกษาต่อและทำงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทช. สถาบันเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม\nระบบการบริหารและการเงินของเอสไอไอทีเป็นอิสระจากระบบส่วนกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ เพื่อประสิทธิภาพและความคล่องตัว โดยมีคณะกรรมการอำนวยการสถาบันซึ่งคัดเลือกโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, และสมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจญี่ปุ่น ให้คำปรึกษาด้านนโยบายและการดำเนินงาน และมีคณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการที่มีชื่อเสียงในสาขาต่าง ๆ ให้คำปรึกษาด้านวิชาการและการวิจัย การบริหารสถาบันนำโดยผู้อำนวยการ\n== ประวัติ ==\nเอสไอไอทีก่อตั้งในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศไทยกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว พร้อม ๆ กับการลงทุนจากต่างประเทศจำนวนมาก ความต้องการวิศวกรที่สามารถสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ศ. เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม อธิการบดีมธ.ในขณะนั้น กับ นายอานันท์ ปันยารชุน นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์ ผู้นำของวงการอุตสาหกรรมในยุคนั้น จึงได้หารือและประสานงานจนได้ก่อตั้ง โครงการวิศวกรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ (Engineering English Program – EEP) ขึ้นในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535\nเนื่องจากติดขัดด้านโครงสร้างซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ และงบประมาณที่จำกัด เมื่อโครงการดังกล่าวดำเนินงานไปได้ระยะหนึ่งจึงได้เปลี่ยนสถานะ ก่อตั้งเป็นสถาบันกึ่งอิสระนอกระบบราชการ ไม่พึ่งงบประมาณแผ่นดิน โดยได้รับความร่วมมือจาก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และสมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจญี่ปุ่น (Japan Business Federation ซึ่งมักถูกเรียกตามชื่อย่อในภาษาญี่ปุ่น 経団連 ซึ่งอ่านว่า เคดันเรน ) ใช้ชื่อว่า สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (International Institute of Technology – IIT) เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2537 และต่อมาได้รับพระราชทานชื่อสถาบันจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็น สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ตามพระนามสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังเช่นทุกวันนี้\n== วิทยาเขต ==\nปัจจุบันเอสไอไอทีขยายการศึกษาเป็นสองวิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตธรรมศาสตร์รังสิต และวิทยาเขตบางกะดี ทั้งสองวิทยาเขตอยู่ในพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจเทคโนโลยีกรุงเทพตอนบนตามแผนยุทธศาสตร์ของสวทช. ซึ่งในพื้นที่ประกอบไปด้วยสถาบันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สำคัญจำนวนมาก เช่น อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (รวมถึงศูนย์วิจัยแห่งชาติในสังกัดอีก 4 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ), สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), เทคโนธานี, เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย (ซอฟต์แวร์พาร์ค), องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.), สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย รวมถึงเขตอุตสาหกรรมไฮเทค และสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง. โดยเอสไอไอทีได้ร่วมมือและแลกเปลี่ยน ทั้งด้านการสอน วิจัย และถ่ายทอดเทคโนโลยี กับหน่วยงานเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ\n=== ธรรมศาสตร์รังสิต ===\nตั้งอยู่ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี ติดกับ อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย, สวทช., และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย\n=== บางกะดี ===\nตั้งอยู่ในสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี โดยสาขาวิชาด้านการสื่อสาร, เทคโนโลยีสารสนเทศ, คอมพิวเตอร์, อิเล็กทรอนิกส์, และเมคคาทรอนิกส์ จะอยู่ที่วิทยาเขตนี้เป็นหลัก รวมถึงสาขาเทคโนโลยีการจัดการ การจัดการวิศวกรรม และการจัดการการดำเนินงาน\n== ภาควิชา ==\nปัจจุบัน มีทั้งหมด 6 ภาควิชา เปิดสอนสาขาวิชาต่าง ๆ (ในวงเล็บคือสาขาย่อย) ดังนี้\nภาควิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยีเคมีชีวภาพ\nวิศวกรรมเคมี (วิศวกรรมชีวเคมี, วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)\nภาควิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยีโยธา\nวิศวกรรมโยธา (วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมโครงสร้างพื้นฐาน)\nภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร\nวิศวกรรมไฟฟ้า\nวิศวกรรมคอมพิวเตอร์\nวิศวกรรมดิจิทัล\nภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการ\nเทคโนโลยีการจัดการ (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ, การจัดการห่วงโซ่อุปทาน, การจัดการระบบก่อสร้าง)\nการจัดการวิศวกรรม\nภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและระบบการผลิต\nวิศวกรรมเครื่องกล (วิศวกรรมเครื่องกล, การจัดการพลังงาน)\nวิศวกรรมอุตสาหการ (วิศวกรรมอุตสาหการ, วิศวกรรมการผลิต)\nภาควิชาการศึกษาร่วมและบัณฑิตศึกษา\nจัดการเรียนการสอนในวิชาพื้นฐานด้าน วิศวกรรม เทคโนโลยี และการจัดการ และรับผิดชอบวิชาภาษาอังกฤษและวิชาพื้นฐานจำนวนหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รหัสขึ้นต้นด้วย TU)\n== ผู้อำนวยการสถาบันตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ==\nพ.ศ. 2562–ปัจจุบัน ศ. ดร. พฤทธา ณ นคร\nพ.ศ. 2555–2562 ศ. ดร. สมนึก ตั้งเติมสิริกุล\nพ.ศ. 2552–2555 ศ. ดร. จงรักษ์ ผลประเสริฐ\nพ.ศ. 2547–2552 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตระรัตน์\nพ.ศ. 2541–2547 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์\nพ.ศ. 2540–2541 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (รักษาการ)\nพ.ศ. 2537–2540 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์\nพ.ศ. 2537 รศ. ดร. ทวีป ชัยสมภพ (รักษาการ)\nพ.ศ. 2535–2537 ดร. นพดล อินนา\n== บุคคลสำคัญสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ==\nศ.ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ (อดีตผู้อำนวยการ) ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน\nศ.ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (อดีตผู้อำนวยการ) ภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย\nผศ.ดร.การดี เลี่ยวไพโรจน์ (ศิษย์เก่า) (อดีตอาจารย์) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พิธีกรรายการข่าว\n==บุคคลที่มีชื่อเสียง==\nชนันภรณ์ รสจันทน์ (ศิษย์เก่า) มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2548, ชุดแต่งกายประจำชาติยอดเยี่ยม มิสยูนิเวิร์ส 2005 ไทยแลนด์\nวริษฐา จตุรภุช (สต๊อป) ศิลปินจากเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8\nสพล อัศวมั่นคง (ศิษย์เก่า) นักแสดงช่อง 7 เอชดี\nทัตธนา ทัพบำรุง (ศิษย์ปัจจุบัน) นักลงทุนแห่งยุค\n== งานวิจัย ==\nปัจจุบัน SIIT มี 3 ศูนย์วิจัยและ 6 กลุ่มวิจัย ดังนี้\nศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการก่อสร้างและบำรุงรักษา (CONTEC) ดำเนินการวิจัยและพัฒนาโครงการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหาและการสร้างนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างและโครงสร้างพื้นฐาน\nศูนย์วิจัยการคมนาคม Transportation Research Center (TREC) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2007 เพื่อดำเนินการวิจัยร่วมกันระหว่าง SIIT และองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องในขอบเขตเรื่องการคมนาคมและเทคโนโลยีที่สนับสนุนทางด้านการคมนาคม\nหน่วยวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BioMed SIIT) เป็นการผสมผสานของพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องทางด้านการแพทย์และชีววิทยา มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวข้องกับชีวสารสนเทศและวิศวกรรมชีวการแพทย์ การเพิ่มประสิทธิภาพและการวิเคราะห์เชิงตัวเลขในช่วงจากการวิเคราะห์ภาพทางการแพทย์ที่จะผลิตรากฟันเทียมทางการแพทย์และการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี\nศูนย์วิจัยด้านอัจฉริยะสารสนเทศและนวัตกรรมการบริการ (IISI) เป็นการผสมผสานปัจจัยพื้นฐานสำหรับการแก้ปัญหาขั้นสูงในด้านวิศวกรรมวิทยาศาสตร์และประเด็นทางด้านวิทยาศาสตร์และด้านสังคม และจากนั้นจะให้การแก้ปัญหาในรูปแบบการให้บริการ หน่วยวิจัย IISI ก่อให้เกิดความก้าวหน้าของเขตข้อมูลสารสนเทศอัจฉริยะ เช่นปัญญาประดิษฐ์, การทำเหมืองข้อมูลและการประมวลผลอ่อนที่นำไปสู่การพัฒนาโซลูชั่นสำหรับปัญหาที่ปัจจัยมนุษย์มีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญ นวัตกรรมเหล่านี้สามารถใช้เป็นบริการเพื่อสังคมและอุตสาหกรรมต่างๆ\nหน่วยวิจัยด้านการคำนวณทางด้านวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ (CES) ดำเนินการวิจัยด้านทฤษฎีการคำนวณ เพื่อแก้ไขปัญหาสหวิทยาการที่ซับซ้อนที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการวิเคราะห์และการทดลอง\nหน่วยวิจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะ (INFRA) นำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการวางแผน การออกแบบ การดำเนินงาน และการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานในรูปแบบอันชาญฉลาด ด้วยวิธีที่ประหยัด มีประสิทธิภาพ สะดวก สบายและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม\nหน่วยวิจัยด้านระบบโลจิสติกส์และระบบห่วงโซ่อุปทาน (LogEn) การวิจัยขั้นสูงทางด้านระบบโลจิสติกส์และระบบห่วงโซ่อุปทานที่ให้ความสำคัญทางด้านความเหมาะสม การวางแผนการผลิต การตั้งเวลาจำลอง การจัดการรายการสิ่งของ การพยากรณ์ การจัดการที่มีคุณภาพ การจัดการและการดำเนินการตามแนวคิดแบบลีน\nหน่วยวิจัยด้านวัสดุและเทคโนโลยีพลาสม่า (MaP Tech) มีเป้าหมายที่จะดำเนินการในขอบเขตที่กว้างในเรื่องการทำวิจัยทางด้านวัสดุที่เน้นในการพัฒนา การออกแบบ การวิเคราะห์การคำนวณ การผลิต การทดสอบและการใช้พลาสติกประยุกต์ ยางสังเคราะห์และวัสดุนาโน การใช้งานของพลาสม่า สำหรับการใช้งานในด้านต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้งานในด้านการเกษตรและการแพทย์เป็นหลัก\nหน่วยวิจัยด้านพลังงานที่ยั่งยืนและคาร์บอนต่ำ (SELC) ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ความไม่มั่นคงด้านพลังงานและการเติบโตทางเศรษฐกิจ นั้นสามารถแก้ไขได้ด้วยการพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำและการจัดการ มีความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีขั้นตอนต่างๆของการพัฒนาที่จะนำไปสู่การใช้พลังงานและเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตาม พวกเขาจะไม่ได้รับการพัฒนาในอัตราที่ต้องการเนื่องจากการรวมกันของเทคโนโลยี ทักษะ การเงิน การค้าและการกำกับดูแลต่างๆ\n== อ้างอิง ==\nSandhya Babel answers a few questions about this month's fast breaking paper in field of Engineering. (ISI Essential Science Indicators) บทความวิชาการของอาจารย์สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เป็นบทความที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดในสายวิศวกรรม ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547\n== ดูเพิ่ม ==\nคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อีกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่จัดการเรียนการสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร\nเครือข่ายนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT.NET)\nมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nสิรินธร, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ\nสิรินธร, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ\nสิรินธร, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ\nสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดปทุมธานี\nสถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ\nสถานศึกษาในอำเภอคลองหลวง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไอซีที (ICT) อาจหมายถึง\nกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร\nเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร\nเขตเวลาอินโดจีน (Indochina Time) ซึืงมีค่าเท่ากึบ UTC+7 ชั่วโมง และเท่ากับเวลาในประเทศไทย\nีณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยศิลปากร",
"role": "user"
},
{
"content": "ไอซีที (ICT) อาจหมายถึง\nกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร\nเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร\nเขตเวลาอินโดจีน (Indochina Time) ซึ่งมีค่าเท่ากับ UTC+7 ชั่วโมง และเท่ากับเวลาในประเทศไทย\nคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยศิลปากร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ชีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งขแงวิทยาศนสตร์ธรรมชาติ (natugal science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา ฆBiology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า \"bios\" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ \"logos\" แปลว่า วิชา หรือพารศึกษาอย่างมีเหตุผล\n== แขนงวิชาชีววิทยา ==\n== มีแขนงย่อย 4 กลุ่ม ==\nการศึกษาโครงมร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เช่นเซลล์ ยีน\nการศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย\nการศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต เช่น วิวัฒราการ\nการซึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต เช่น กนรพึงพาอาศัยกัน การเกื้อกูลของสิ่งมีชีวิต\nการแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจีดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเขีาใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ าั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใกญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเชทน สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบวอวัยวะ\n== ระบบการศึกษา ==\nการศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับอะตอมและฏมเลกุล จัดอยู่ในสาขาวิชาอณูชีววิทบา ชีวเคมี และอณ฿พันธุศาสตร์ การศึกษาในระดับเซลล์ จัดอยู่ในสาขาวิชสเซลล์วิทยา และในคะดับเตื้อเยื่อ จัดเยู่ในสาขาวิชาสรีรวิทยา กายวิภาคศาสนร์ ปละมิญชบิทยา สาขาวิชาคัพภวิทยาเป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต\n=== ประเภทสาขา ===\nสาขาใิชาพันธุศาสตร์เป็นการศึกษาการถ่ายทอดงักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง สาขาวิชาพฤติกรรมวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มสิ่งมีชีวิต\nสาขาวิชาพันธุศาสตร์ประชากรเป็นการศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับประชากรของสิ่งมีลีวิต การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง และระหว่างสิ่งาีชีวืตกับถิ่นที้อยู่อาศัย จัดอยู่ในสาขาวิชานิเวศวิทยาและชีววิทยาของวิวัฒนาการ\n== ปรากฏการณ์ทางชีววิทยส ==\nปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงจากทางธรรมชาติ เกิดจากการความแตกต่างของสภาพพื้นที่ และการใช้ชีวิตของการดำรงขีวิต เช่น นกนางแอ่น ในทะเล กับ นกนางแอ่น บนภาคพื้นที่อยู่ในวงศ์ตระกูลเดียวกันแต่ แตกต่างใยการดำรงชีวิตและลักษณะของสภาพร่างกาย เแ็นต้น\n== หลักของวิชาชีววิทยา ==\nหลักทฤ๋ฎีเซลล์ (Cell Theory). ซึ่งทฤษฎีนี้ระบุว่าสิ่งาีชีวิตทึ้งหลายจะต้องประกอบไปเซลล์อย่างน้อยหนึ่งเซลล์ ซึรงเซลล์ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุดของการทำงานในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ กระบยนการทางกลศาสตร์และทางเคมีต่างก็ลีวนอาศัยเซลล์เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการเช่นเดียวกัน ทั้งเชื่อว่าเซลล์สนมารถเดิดจากเซลล์ต้นกำเนิด (perrxisting cells) ได้เท่รนั้น\nหลักวิวัฒนาการ (Edolution). เชื่อในการเลือกสรรของธรรมชาตอ (natural selection) และกสรถ่ายทอดทางพันธุกรรม\nหลักทฤษฎีพันธุกรรม (Gene Theory). เชื่อว่าลักษณะทางพันธุกรรทนั้น ถูกเก็บเป็นรหัสสิ่งมีชีวิตใน DGA ในยีนอันเป็นมูลฐานแห่งการถ่ายทอดพันธุกรรม\nหลักภาวะธำรงดุล (Homeostasis). เป็นหลักที่เชื่อในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิร ในการปรับคะบบภาวะแวดล้อมทั้งทรงฟิสิกส์และเคมีของระบบภายในสิ่งสีชีวิตให้เข้ากับระบบภายนอกสิ่งมีชีวิต\n=== สารพันธุกรรม ===\n\nมารพันธุวิศวกรรม หรือ สารพันธุกรรม ชื่ออื่น ๆ DNA เป็นสสารประเภท นาโนไมโคร ที่มีการประกอบด้วย กรดนิวคลีอิก เล่น ดีเอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นรหัสพันธุกรรม\nหลักของลักษณะร่วมกันอีกสิ่งหนึ่งคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอกเฟนือจากเซลล์ของไวรัส ประกอบขึ้นจากเซลล์ และยังมีกระบวนการเจริญเติบฮตคล้ายคลึงกัน ตัวอย่างเช่น สิ่งมีชีวิตชั้นส฿งส่วนใหญ่จะมีเอ็มบริโอที่มีลักษณะขั้นต้นคล้ายกัน และมียีนคล้ายกันอีกด้วย ต้องเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวกันเท่านัน้จึงจะสามารถได้รับการผสมกันได้\n=== วิวัฒนาการ ===\nแนวคิดหลักของชีววิทยาคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดม่ต้นกำเนิดร่วมกัน และมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาโดยกระบวนการที่เรียกว่า วิวัฒนาการเช่นลิงมาเป็นมนุษย์\n=== ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ===\nสิ่งมีชีวิตบนโลกมีความหลากหลาย และนักชีววิทยาได้มีการยัดจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิติหล่านั้น ดูเพิ่มเติมได้ที่หุวข้อของ อนุกรมวิธาน\n=== ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ===\n\nส้่งมีชีวิตทุกชน้ดจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ และกับสิีงแวดล้อม เหตุผลหนั่งที่ทำให้การศึกษาระบบทางชีววิทยาทำได้ยากคือ ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีมากมายหลายทางที่เป็นไปได้ แม้แต่ใสการศึกษาระดับที่เล็กที่สุด เช่น แบคทีเรียจะมีปฏิกิริยากับน้ำตาลที่อยู่โดยรอบ ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม เหมือนกับที่สิงโตมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมขณะที่ออกหาอาหารในทุ่งหญ้าซาวันนา ส่วนภฤติกรรมที่มีต่อมิ่งมีชีวิตชนิเอื่น ๆ อาจเป็นไปทั้งในลักษณะอาศัยอยู่ร่วมกัน คุกคามต่อกัน เป็นปรสิต หรือพึ่งพาอาศัยกัน ความสัมพันธ์นี้จะซับซิอนมากขึ้นหากมีสิ่งมีช้วิต 2 ชนิด กรือมากกว่า มีควสมเกั่ยวข้องต่อกันในระบบนืเวศ กนรศึกษาความสัมพันธ์นี้จัดเปํนสาขาวิชานิเวศวิทยา\n== ขอบเขตของชีววิทยา ==\nชรววิทยาเป็นสาขาวิชาที่วหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเก็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ลเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่นเซลล์ ยีน เป็นต้น กลุ่มที่สองศึก๋าการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับา่างกาย กลุ่มมี่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต้าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาเื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะชรวยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร ฟรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ\n=== โครงสร้างของชีงิต ===\n\nอณูชีววิทยาเป็นสาขาหนึ่งในชัววิทยา ซี่งศึกษาในระดับโมเลกุล สาขานี้มีความสอดคล้องแับสาขาอื่น ๆ ในชีววิทยา โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยาเป็นการศึกษาปฏิสัมพัสธ์ของระบบต่าง ๆ ในเซลล์ ซึ่งไพ้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การสังเคราะห์โปรตีน แฃะการควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้\nชีววิทยาของเซลล์เป็นสาขาที่ศึกษาลักษณะทางสรครวิทยาของเศลล์ รวมไปถึงพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ และสิ่งกวดล้อมของเซลล์ าั้งระดับจุลภาคและระดับโมเลกุล สาขาวิชานี้จะศึกษาวิจัยทั้งสิ่งมีช้วิตเซลล์เดียว อย่างเช่นแบคทีเรีย และเซลล์ที่ทำหน้าทีืพิเศษมนสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อย่างเช่นมนุษย์\nพัสธุศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษายีน พันธุกรรม และการผันแปรของสิ่งมีชีวิต ในการศึกษาวิจัยสมัยใหม่ มีอครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาหน้าที่ของยีน หรือความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ในสิ่งมีชีวิต ข้อมํลทางพันธุกรรมจะอยู่ในโครโมโซม ซึ่งข้อมูลจะแทนที่ด้วยโครงสร้างทางเคมีของโมเลกุลของดีเอ็นเอ\n=== สรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิต ===\nสรีรวิทยาเป็นสาขาที่ศักษาเกี่ยวกับกระบวนการทางกายภาพและทางชีวเคมีมนสิ่งมีชีวิต เพื่อให้เข้าใจหน้าที่ของโครงสร้างต่าง ๆ ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการศึกษาทางชีววิทยา การศึกษาทางสรีรวิทยาสามารถแบ่งออกได้เป็นสรีรวิทยาของพืชแลุสรีรวิทยาของสัตว? แต่หลักขอลสรีรวิทยาในสิ่งมีช่วิตทุกชนิดลืวนแต่เำมือนกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษาสรีรวิืยาของเซลล์ยีสต์สาใารถประยุกต์ใช้กับการศึกษาในเซลล็มนุษย์ได้ สรีรวิทยาของสัตว์เป็นการศึกษาทั้งในมนุษย์และสิ่งมีชีวืตชนิดอื่น ๆ สรีรวิทยาของพืชก็มีวิธีการศึกษาเช่นเดียใกเบในสัตว์\nกายวิภาึศาสตร์เป็นสาขาที่สำคัญในสรีรวิทยา ซึ่งษึกษน้กี่ยวกับหน้าที่และความสัมพัยธ์ของระบบอวัยวะในสิ่งมีชีวิต เช่น าะบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบหายมจ ระบบไหลเวียนโลหิต การศึกษาักี่ยวกับระบบเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อีก เช่น ประสาทวิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน\n=== ความหลากหลายและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ===\nการศึกษาวิวัฒนาการมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดและการสืบทอดลักษณะของสปีชี่ส์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ห่านมา และต้องอาศัยนักวิทวาศาสตร์จากหลายสาขาที่เกี่ยวบ้องกับอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต สาขาวิวิฒนาการมีราหฐานจมกสาขาบรรพชีวินวิทยา ซึ่งอาศัยซากดึกดำบรรพ์ในการตอบคำถามเกี่ยวกับรูปแบบและจังหวะของวิวิฒนาการ\nสาขาวิชาหลักใหญ่ที่เกี่ยวกัยอนุกรมวิธานมี 2 สาขา คือ พฤกษศาสตร์ และสัตววิทยา พฤกษศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวพืช มีเนื้อหาครอบตลุมกว้างขวางนั้งแต่การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และวิวัฒนาการของภืช ส่วนสัตววิทยาจะศึกษาะกี่ยวกับสัตว์ รวมทั้งลักษณะทนงสรีรวิทยาขอบสัตว์ซึ่งอยู่ในสาขากายวิภาคศาสตร์และคัพภวิทยา กลไกทางพันธุศาสตร์และกาาเจรเญของพืลและสัตว์จะศึกษาในสาขาอณูชีววิทยา แณูพันธุศ่สตร์ และชีววิทยาของการเจริญ\n=== ความส้มพันธ์ระหว่นงสิ่งมีชีวิต ===\n\nสสขานิ้วศวิทยาจพศึกษาการกระจายและความหนาแน่นของสิ่งมีขีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของสิ่งมีลีวิตจะหมายถึงถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะรวมไปถีงปัจจัยทางกายภาพอย่างสำาพภูมิอากาศและลักษณะทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน การศึกษาระบบทางนิเวศวิทยามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับสิ่งมีชีวิต ระดับประชากร ระดับระบบนิเวศ ไปจนถึงระดับโลกของสิ่งมีชีงิต จึงจะเห็นได้ว่า นิเวศวิทยรเป็นสาขาที่ครอบคลุมถึงสาขาอื่น ๆ อีกมากมาย\nสาขาพฤติกรรมบิทยาจะศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ (โดยเฉพาะสัตว์สังคมอย่างสัตว์จำพวกลิงและสัตว์กินเนื้อ) บางคตั้งอานจัดเป็นสาขาหนึ่งในสัตววิทยา นักพฤติกรรมวิทยสจะเน้นศึกษาที่วิวัฒน่การของพฤติกรรม และความเข้าใจในพฤติกรรม โดยคั้งอยู่บนท(ษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ\n== ประวัติศาสตร์ของชีววิทยา ==\nหารค้นพบที่สำคัญทางด้านชีววิทยาได้แก่\nทฤษฎีเซลล์\nทฤษฎีการเกิดโรค\nพันธุศาสตร์\nวิวัฒนาการ\nดีเอ็นเอ\n== สายาวเชาที่เกี่ยวข้อง -=\n=== กลุ่มวิชาที่ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มสิ่งมีชีวิต ===\nสัตววิทยา (zoology) ศึกษาชีววิทยาของสัตว์ ตั้งแต่สัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พสาธิตัวแวน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสีตวฺพวกหอย ปลมดาว จนถึง สัตว์มีแระดูกสันหลัง และ สัตว์เลี้ยงลูกอ้วยนม\nพฤกษศาสตร์ (Botany) เป็นสาขาวิชามี่ศึกษาเกี่ยใกับพืช ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ กระบวนการสร้าง (แอแนบอลิฦึม) และสลทย (แคแทบอลิซึม) โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การกระจายของพืชในส่วนต่าง / ของโลก\nจุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเห่่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก ส่วนมากมองไม่เห็จด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย อาร์เคีย ไวรัส เชื้อรา และ ยีสต์\nกีฏวิทยา (Entomology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกณาเกี่ยวกับสัตว์ในกลุ่มของแมลง การจัดจำแนก สรีรวิทยา สัณฐานวิทยา และนิเวศวิทยาของแมลง\nปักษีวิทยา (Ornithology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับนก\nเห็ดสิทยา รรวิทยาหรือ กิณวิทยา (<yc9logy) เป็นสาขาวิชาที่ฯึกษาเกี่ยวกับเห็ด และ รา\nมีนวิทยา (Ichthyology) ศึกษาปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบต่าง ๆ ภายในตัวปลา การจัดจำแนกปลาออกัป็นกลุ่มหรือประเภทต่าง ๆ และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลา\nสังขวิทยา (Malacology) ศึกษาหอย โดยเฉพาะหอยน้ำจืดที่เป็นเจ้าบ้านส่งผ่านของพยาธิ\nปรสิตวิทยา (Parasitology) ศึกษาปรสิต ซึ่งดำรงลีพโดยเป็นตัวเบียนขอลสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน\n=== กลุ่มวิชาที่ศึกษาจากโครงสร้างหน้าทึ่แลพการทภงานของสิ่งมีชีวิต ===\nกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นการศึกษาโครงสร้างและการจัดเรียงตัวของร่างกายมนุษย์ สาขาวิชาหลักของกายวิภาคศาสตร์ได้แก่\n* มผกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ฬึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า\n* จุลกายวิภาคศาสตร์ หรือมิญชวิทยา หรือวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษากายวิภาคศาสตต์ในระดับจุลภาคซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์\nสัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาโครงสร้างและรูปร่างจองสิ่งมีบีวิต\nสรีรวิทยา (Physiology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกฒาเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิจ ทั้งในด้านกลศาสตร์ ด้านกายภาพ และด้านชีวเคมี ปบ่งเป็น 2 สาขาย่อย คือ สรีรวิทยาของพืล และสรึรวิทยาของสัตว์\n* อณูชีววิทยา (Moleculqr biology) หรือ ชีววิทยาฏมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่าบ ๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เปํน โปรตีน\nพันธุศาสตร์ (Genetics) คือ สาขาแขนงหนึ่งของใิทยาศาสตร์ ซึ่งง่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity) , และวิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ลักษณะทางพันธุกรรม การถ่าจทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง\n* เซลล์พันธุศาสตร์ (Cytogenetics) ศึกณาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตพแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และปารแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต\nนิเวศวิทยา (Ecology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดฃ้อม\nคัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology( เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germihation)\nชีววิทยาของเซลล์ (cell b8ology) หรือ วิทยาเซลล์ (cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัทพันธ์กัชสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, ปารแบ่งเซลล์. และการตายของเซลล์\nมหพยาธิวิทยา (Grosa pathology) หมายถึงลักษณะแสดงในระดับมหัพภาค (หรือระดับตาเปล่า) ของโรคที่เกิดในอวัยวะ, เยื้อเยื่อ และช่องตัว ศัพท์ดังกล่รวใช้กันทั่วไปในวิชาพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology) เพื่อหมายถึงการตรวจเพื่อวินิจฉัยหาข้อมูลมนชิ้นเนื้อตัวอย่างหรือการชันสูตรพลิกศพ (autopsy)\n=== อิ่น ๆ ===\nชีวเคมี (Biochemistry) เป็นการศึกษา ความเป็นไปใาระดับชีวโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต ทั้งองค์ประกอบทางชีวเคมีของเซลล์หรืออณุภาคต่าว ๆ (รวมไวรัส) โครงสร้างและการเปงี่ยนแปชง ทั้งการสร้าฝและทำลายโมเลกุลเหล่านั้น (ทั้งสารโมเลกุลเล็ห และ โมเลกุลใหญ่ อป็น มหโมเลกุล (macromol2cules) เชาน โปรตีน (Protein) (รวม เอ็นไซม์ / Enzyme) ดีเอ็นเอ (DNA) อาร์เอ็นเอ (RNA) การควบคุมกรรเปลี่ยนแปลงชองโมเลกุล การควบคุมการทำงานในระดับต่าง ๆ การสร้างพลังงานและการใช้พลังบาน อันเป็นปรากฏการณ์ของชีวิต\nสัณฐาตวิทยา (Norphology) ศึกษารูปพรรณใัณฐานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจุลชีพ สัตว์ หรือพืช เพื่อประกอบการระบุชนิด เช่น ลักษณะรูปต่างของดอกไม้ หรือ การจัดเรียงตัวของมบ\nอนุกรมวิธาต (Taxonomy) ศึกษาการตัดจำแนกสิ่วมีชีวิต ออกเป็นหมวดหมู่ ในทางวิวัฒนาการ (evolution) สมัยก่อนเน้นข้อมูลสัณฐานวิทยา ปัจจุบันใช้ข้อมูบระดับโมเลกุลมากบึ้น กลายเป็นวิชา Molec7lar Syshematics\nบรรพชควินวิทยา (Paleontology) ศึกษาฟอสฦิล (fossils)\nชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (computational biology) เป็นบูรณาการของสหวิชา ศึกษาโดยใช้ความรู้จาก อณูชีววิทยา ชีวเคมี คณิตศาสตร์ประยุกต์, สถิติศาสตร์, สารสนเทศศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเคอร์ เพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สืบค้น ประทวลผลข้อมูลทางชีววิทยา เพื่อตอบปัญหาทางชีววิทยา ฟรือทำแบบจำลองเพื่อทำนายความเป็นไปได้ทางชีววิทยา ทำให้เกิดศาสตา์ใหม่ต่อ ๆ มา เช่น จีโนมิกส์ (Genomics) โปรตีโอมิส์ (Proteomics) เมตะโบโลมิกส์ (Metabolomics) ฯลฯ\nชีววิทยาระบบ (Systems fiol9gy) เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ทางชีวสารสนเทศศาสตร์ คณิตศาสตร์ชั้นสูง วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ ชีบเคมี เพื่อทำแบบจำลองของปราฏการณ์ภายในเซลล์ หรือในสิีงมีชีวิต บนคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการคำนวณ จุดมุ่งหมายก็เพื่อทำนายปรากฏการณ์ของชีวิตใจเรื่องต่าง ๆ อาทิ การตอบสนองชองเซลล์ต่อยา หรือ ต่อสภาวะต่าง ๆ เป็นต้น ก่อนก่รทำการทดลองจริงในห้องปฏิบัติการ (wet lab)\nประสาทวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง หน้าทีร การเจริญเติบโต พันธุกรรมศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา, เภสัชวิทยา และ พยาธิวิทยา ของระบบประสาท นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรม และ การเรียนรู้ ยังถือว่าเป็นสาขาของประสททวิทยาอีกด้วย\n== รายการอ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOSU's Phylocode \nBiology Online - Wiki Dictionary\nMIT video lectur2 series on biology \nBiology and Bioethics .\nBiological Systems - Idaho National Laboratory\nThe Tree of Life: A multi-autho4ed, distributed Internet projecg containing information about phylogeny and biodiversity.\nUsing the Biological Llterature Web Resources\nลิงก์วารสาร\nPLos Biology A peer-reviewed, o;en-access journal published by the Public Librsry of Science\nCurrent Biology General journal [ublishing original research from all areas of biology\nBiology Letters A high-impact Royal Society journal publishing peer-reviewed Biilogy papers of general interest\nScience Magazine Internationally Renowned AAAS Science Publication - See Secti;ns oe the Life Sciences\nInternational Journal of Biological Sciences A biological journal puglishing significant peer-reviewed scientific papers\nAn",
"role": "user"
},
{
"content": "ชีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า \"bios\" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ \"logos\" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล\n== แขนงวิชาชีววิทยา ==\n== มีแขนงย่อย 4 กลุ่ม ==\nการศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เช่นเซลล์ ยีน\nการศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย\nการศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต เช่น วิวัฒนาการ\nการศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต เช่น การพึงพาอาศัยกัน การเกื้อกูลของสิ่งมีชีวิต\nการแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ\n== ระบบการศึกษา ==\nการศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับอะตอมและโมเลกุล จัดอยู่ในสาขาวิชาอณูชีววิทยา ชีวเคมี และอณูพันธุศาสตร์ การศึกษาในระดับเซลล์ จัดอยู่ในสาขาวิชาเซลล์วิทยา และในระดับเนื้อเยื่อ จัดอยู่ในสาขาวิชาสรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และมิญชวิทยา สาขาวิชาคัพภวิทยาเป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต\n=== ประเภทสาขา ===\nสาขาวิชาพันธุศาสตร์เป็นการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง สาขาวิชาพฤติกรรมวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มสิ่งมีชีวิต\nสาขาวิชาพันธุศาสตร์ประชากรเป็นการศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง และระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่อาศัย จัดอยู่ในสาขาวิชานิเวศวิทยาและชีววิทยาของวิวัฒนาการ\n== ปรากฏการณ์ทางชีววิทยา ==\nปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงจากทางธรรมชาติ เกิดจากการความแตกต่างของสภาพพื้นที่ และการใช้ชีวิตของการดำรงชีวิต เช่น นกนางแอ่น ในทะเล กับ นกนางแอ่น บนภาคพื้นที่อยู่ในวงศ์ตระกูลเดียวกันแต่ แตกต่างในการดำรงชีวิตและลักษณะของสภาพร่างกาย เป็นต้น\n== หลักของวิชาชีววิทยา ==\nหลักทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory). ซึ่งทฤษฎีนี้ระบุว่าสิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะต้องประกอบไปเซลล์อย่างน้อยหนึ่งเซลล์ ซึ่งเซลล์ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุดของการทำงานในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ กระบวนการทางกลศาสตร์และทางเคมีต่างก็ล้วนอาศัยเซลล์เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการเช่นเดียวกัน ทั้งเชื่อว่าเซลล์สามารถเกิดจากเซลล์ต้นกำเนิด (perexisting cells) ได้เท่านั้น\nหลักวิวัฒนาการ (Evolution). เชื่อในการเลือกสรรของธรรมชาติ (natural selection) และการถ่ายทอดทางพันธุกรรม\nหลักทฤษฎีพันธุกรรม (Gene Theory). เชื่อว่าลักษณะทางพันธุกรรมนั้น ถูกเก็บเป็นรหัสสิ่งมีชีวิตใน DNA ในยีนอันเป็นมูลฐานแห่งการถ่ายทอดพันธุกรรม\nหลักภาวะธำรงดุล (Homeostasis). เป็นหลักที่เชื่อในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิต ในการปรับระบบภาวะแวดล้อมทั้งทางฟิสิกส์และเคมีของระบบภายในสิ่งมีชีวิตให้เข้ากับระบบภายนอกสิ่งมีชีวิต\n=== สารพันธุกรรม ===\n\nสารพันธุวิศวกรรม หรือ สารพันธุกรรม ชื่ออื่น ๆ DNA เป็นสสารประเภท นาโนไมโคร ที่มีการประกอบด้วย กรดนิวคลีอิก เช่น ดีเอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นรหัสพันธุกรรม\nหลักของลักษณะร่วมกันอีกสิ่งหนึ่งคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอกเหนือจากเซลล์ของไวรัส ประกอบขึ้นจากเซลล์ และยังมีกระบวนการเจริญเติบโตคล้ายคลึงกัน ตัวอย่างเช่น สิ่งมีชีวิตชั้นสูงส่วนใหญ่จะมีเอ็มบริโอที่มีลักษณะขั้นต้นคล้ายกัน และมียีนคล้ายกันอีกด้วย ต้องเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวกันเท่านัน้จึงจะสามารถได้รับการผสมกันได้\n=== วิวัฒนาการ ===\nแนวคิดหลักของชีววิทยาคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีต้นกำเนิดร่วมกัน และมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาโดยกระบวนการที่เรียกว่า วิวัฒนาการเช่นลิงมาเป็นมนุษย์\n=== ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ===\nสิ่งมีชีวิตบนโลกมีความหลากหลาย และนักชีววิทยาได้มีการจัดจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น ดูเพิ่มเติมได้ที่หัวข้อของ อนุกรมวิธาน\n=== ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ===\n\nสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ และกับสิ่งแวดล้อม เหตุผลหนึ่งที่ทำให้การศึกษาระบบทางชีววิทยาทำได้ยากคือ ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีมากมายหลายทางที่เป็นไปได้ แม้แต่ในการศึกษาระดับที่เล็กที่สุด เช่น แบคทีเรียจะมีปฏิกิริยากับน้ำตาลที่อยู่โดยรอบ ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม เหมือนกับที่สิงโตมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมขณะที่ออกหาอาหารในทุ่งหญ้าซาวันนา ส่วนพฤติกรรมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ อาจเป็นไปทั้งในลักษณะอาศัยอยู่ร่วมกัน คุกคามต่อกัน เป็นปรสิต หรือพึ่งพาอาศัยกัน ความสัมพันธ์นี้จะซับซ้อนมากขึ้นหากมีสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด หรือมากกว่า มีความเกี่ยวข้องต่อกันในระบบนิเวศ การศึกษาความสัมพันธ์นี้จัดเป็นสาขาวิชานิเวศวิทยา\n== ขอบเขตของชีววิทยา ==\nชีววิทยาเป็นสาขาวิชาที่ใหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่นเซลล์ ยีน เป็นต้น กลุ่มที่สองศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย กลุ่มที่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ\n=== โครงสร้างของชีวิต ===\n\nอณูชีววิทยาเป็นสาขาหนึ่งในชีววิทยา ซึ่งศึกษาในระดับโมเลกุล สาขานี้มีความสอดคล้องกับสาขาอื่น ๆ ในชีววิทยา โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยาเป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในเซลล์ ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การสังเคราะห์โปรตีน และการควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้\nชีววิทยาของเซลล์เป็นสาขาที่ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาของเซลล์ รวมไปถึงพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ และสิ่งแวดล้อมของเซลล์ ทั้งระดับจุลภาคและระดับโมเลกุล สาขาวิชานี้จะศึกษาวิจัยทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อย่างเช่นแบคทีเรีย และเซลล์ที่ทำหน้าที่พิเศษในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อย่างเช่นมนุษย์\nพันธุศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษายีน พันธุกรรม และการผันแปรของสิ่งมีชีวิต ในการศึกษาวิจัยสมัยใหม่ มีเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาหน้าที่ของยีน หรือความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ในสิ่งมีชีวิต ข้อมูลทางพันธุกรรมจะอยู่ในโครโมโซม ซึ่งข้อมูลจะแทนที่ด้วยโครงสร้างทางเคมีของโมเลกุลของดีเอ็นเอ\n=== สรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิต ===\nสรีรวิทยาเป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางกายภาพและทางชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต เพื่อให้เข้าใจหน้าที่ของโครงสร้างต่าง ๆ ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการศึกษาทางชีววิทยา การศึกษาทางสรีรวิทยาสามารถแบ่งออกได้เป็นสรีรวิทยาของพืชและสรีรวิทยาของสัตว์ แต่หลักของสรีรวิทยาในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนแต่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษาสรีรวิทยาของเซลล์ยีสต์สามารถประยุกต์ใช้กับการศึกษาในเซลล์มนุษย์ได้ สรีรวิทยาของสัตว์เป็นการศึกษาทั้งในมนุษย์และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ สรีรวิทยาของพืชก็มีวิธีการศึกษาเช่นเดียวกับในสัตว์\nกายวิภาคศาสตร์เป็นสาขาที่สำคัญในสรีรวิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และความสัมพันธ์ของระบบอวัยวะในสิ่งมีชีวิต เช่น ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต การศึกษาเกี่ยวกับระบบเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อีก เช่น ประสาทวิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน\n=== ความหลากหลายและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ===\nการศึกษาวิวัฒนาการมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดและการสืบทอดลักษณะของสปีชี่ส์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ผ่านมา และต้องอาศัยนักวิทยาศาสตร์จากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องกับอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต สาขาวิวิฒนาการมีรากฐานจากสาขาบรรพชีวินวิทยา ซึ่งอาศัยซากดึกดำบรรพ์ในการตอบคำถามเกี่ยวกับรูปแบบและจังหวะของวิวิฒนาการ\nสาขาวิชาหลักใหญ่ที่เกี่ยวกับอนุกรมวิธานมี 2 สาขา คือ พฤกษศาสตร์ และสัตววิทยา พฤกษศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวพืช มีเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และวิวัฒนาการของพืช ส่วนสัตววิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ รวมทั้งลักษณะทางสรีรวิทยาของสัตว์ซึ่งอยู่ในสาขากายวิภาคศาสตร์และคัพภวิทยา กลไกทางพันธุศาสตร์และการเจริญของพืชและสัตว์จะศึกษาในสาขาอณูชีววิทยา อณูพันธุศาสตร์ และชีววิทยาของการเจริญ\n=== ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ===\n\nสาขานิเวศวิทยาจะศึกษาการกระจายและความหนาแน่นของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตจะหมายถึงถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะรวมไปถึงปัจจัยทางกายภาพอย่างสภาพภูมิอากาศและลักษณะทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน การศึกษาระบบทางนิเวศวิทยามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับสิ่งมีชีวิต ระดับประชากร ระดับระบบนิเวศ ไปจนถึงระดับโลกของสิ่งมีชีวิต จึงจะเห็นได้ว่า นิเวศวิทยาเป็นสาขาที่ครอบคลุมถึงสาขาอื่น ๆ อีกมากมาย\nสาขาพฤติกรรมวิทยาจะศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ (โดยเฉพาะสัตว์สังคมอย่างสัตว์จำพวกลิงและสัตว์กินเนื้อ) บางครั้งอาจจัดเป็นสาขาหนึ่งในสัตววิทยา นักพฤติกรรมวิทยาจะเน้นศึกษาที่วิวัฒนาการของพฤติกรรม และความเข้าใจในพฤติกรรม โดยตั้งอยู่บนทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ\n== ประวัติศาสตร์ของชีววิทยา ==\nการค้นพบที่สำคัญทางด้านชีววิทยาได้แก่\nทฤษฎีเซลล์\nทฤษฎีการเกิดโรค\nพันธุศาสตร์\nวิวัฒนาการ\nดีเอ็นเอ\n== สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ==\n=== กลุ่มวิชาที่ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มสิ่งมีชีวิต ===\nสัตววิทยา (zoology) ศึกษาชีววิทยาของสัตว์ ตั้งแต่สัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิตัวแบน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึง สัตว์มีกระดูกสันหลัง และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม\nพฤกษศาสตร์ (Botany) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพืช ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ กระบวนการสร้าง (แอแนบอลิซึม) และสลาย (แคแทบอลิซึม) โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การกระจายของพืชในส่วนต่าง ๆ ของโลก\nจุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก ส่วนมากมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย อาร์เคีย ไวรัส เชื้อรา และ ยีสต์\nกีฏวิทยา (Entomology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ในกลุ่มของแมลง การจัดจำแนก สรีรวิทยา สัณฐานวิทยา และนิเวศวิทยาของแมลง\nปักษีวิทยา (Ornithology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับนก\nเห็ดวิทยา ราวิทยาหรือ กิณวิทยา (Mycology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเห็ด และ รา\nมีนวิทยา (Ichthyology) ศึกษาปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบต่าง ๆ ภายในตัวปลา การจัดจำแนกปลาออกเป็นกลุ่มหรือประเภทต่าง ๆ และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลา\nสังขวิทยา (Malacology) ศึกษาหอย โดยเฉพาะหอยน้ำจืดที่เป็นเจ้าบ้านส่งผ่านของพยาธิ\nปรสิตวิทยา (Parasitology) ศึกษาปรสิต ซึ่งดำรงชีพโดยเป็นตัวเบียนของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน\n=== กลุ่มวิชาที่ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต ===\nกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นการศึกษาโครงสร้างและการจัดเรียงตัวของร่างกายมนุษย์ สาขาวิชาหลักของกายวิภาคศาสตร์ได้แก่\n* มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า\n* จุลกายวิภาคศาสตร์ หรือมิญชวิทยา หรือวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับจุลภาคซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์\nสัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาโครงสร้างและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต\nสรีรวิทยา (Physiology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านกลศาสตร์ ด้านกายภาพ และด้านชีวเคมี แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย คือ สรีรวิทยาของพืช และสรีรวิทยาของสัตว์\n* อณูชีววิทยา (Molecular biology) หรือ ชีววิทยาโมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่าง ๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เป็น โปรตีน\nพันธุศาสตร์ (Genetics) คือ สาขาแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity) , และวิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง\n* เซลล์พันธุศาสตร์ (Cytogenetics) ศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตำแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต\nนิเวศวิทยา (Ecology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม\nคัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination)\nชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) หรือ วิทยาเซลล์ (cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์\nมหพยาธิวิทยา (Gross pathology) หมายถึงลักษณะแสดงในระดับมหัพภาค (หรือระดับตาเปล่า) ของโรคที่เกิดในอวัยวะ, เนื้อเยื่อ และช่องตัว ศัพท์ดังกล่าวใช้กันทั่วไปในวิชาพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology) เพื่อหมายถึงการตรวจเพื่อวินิจฉัยหาข้อมูลในชิ้นเนื้อตัวอย่างหรือการชันสูตรพลิกศพ (autopsy)\n=== อิ่น ๆ ===\nชีวเคมี (Biochemistry) เป็นการศึกษา ความเป็นไปในระดับชีวโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต ทั้งองค์ประกอบทางชีวเคมีของเซลล์หรืออณุภาคต่าง ๆ (รวมไวรัส) โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลง ทั้งการสร้างและทำลายโมเลกุลเหล่านั้น (ทั้งสารโมเลกุลเล็ก และ โมเลกุลใหญ่ เป็น มหโมเลกุล (macromolecules) เช่น โปรตีน (Protein) (รวม เอ็นไซม์ / Enzyme) ดีเอ็นเอ (DNA) อาร์เอ็นเอ (RNA) การควบคุมการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุล การควบคุมการทำงานในระดับต่าง ๆ การสร้างพลังงานและการใช้พลังงาน อันเป็นปรากฏการณ์ของชีวิต\nสัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษารูปพรรณสัณฐานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจุลชีพ สัตว์ หรือพืช เพื่อประกอบการระบุชนิด เช่น ลักษณะรูปร่างของดอกไม้ หรือ การจัดเรียงตัวของใบ\nอนุกรมวิธาน (Taxonomy) ศึกษาการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็นหมวดหมู่ ในทางวิวัฒนาการ (evolution) สมัยก่อนเน้นข้อมูลสัณฐานวิทยา ปัจจุบันใช้ข้อมูลระดับโมเลกุลมากขึ้น กลายเป็นวิชา Molecular Systematics\nบรรพชีวินวิทยา (Paleontology) ศึกษาฟอสซิล (fossils)\nชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (computational biology) เป็นบูรณาการของสหวิชา ศึกษาโดยใช้ความรู้จาก อณูชีววิทยา ชีวเคมี คณิตศาสตร์ประยุกต์, สถิติศาสตร์, สารสนเทศศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สืบค้น ประมวลผลข้อมูลทางชีววิทยา เพื่อตอบปัญหาทางชีววิทยา หรือทำแบบจำลองเพื่อทำนายความเป็นไปได้ทางชีววิทยา ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ต่อ ๆ มา เช่น จีโนมิกส์ (Genomics) โปรตีโอมิส์ (Proteomics) เมตะโบโลมิกส์ (Metabolomics) ฯลฯ\nชีววิทยาระบบ (Systems biology) เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ทางชีวสารสนเทศศาสตร์ คณิตศาสตร์ชั้นสูง วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ ชีวเคมี เพื่อทำแบบจำลองของปราฏการณ์ภายในเซลล์ หรือในสิ่งมีชีวิต บนคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการคำนวณ จุดมุ่งหมายก็เพื่อทำนายปรากฏการณ์ของชีวิตในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การตอบสนองของเซลล์ต่อยา หรือ ต่อสภาวะต่าง ๆ เป็นต้น ก่อนการทำการทดลองจริงในห้องปฏิบัติการ (wet lab)\nประสาทวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง หน้าที่ การเจริญเติบโต พันธุกรรมศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา, เภสัชวิทยา และ พยาธิวิทยา ของระบบประสาท นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรม และ การเรียนรู้ ยังถือว่าเป็นสาขาของประสาทวิทยาอีกด้วย\n== รายการอ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOSU's Phylocode \nBiology Online - Wiki Dictionary\nMIT video lecture series on biology \nBiology and Bioethics .\nBiological Systems - Idaho National Laboratory\nThe Tree of Life: A multi-authored, distributed Internet project containing information about phylogeny and biodiversity.\nUsing the Biological Literature Web Resources\nลิงก์วารสาร\nPLos Biology A peer-reviewed, open-access journal published by the Public Library of Science\nCurrent Biology General journal publishing original research from all areas of biology\nBiology Letters A high-impact Royal Society journal publishing peer-reviewed Biology papers of general interest\nScience Magazine Internationally Renowned AAAS Science Publication - See Sections of the Life Sciences\nInternational Journal of Biological Sciences A biological journal publishing significant peer-reviewed scientific papers\nAn",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ชาลส์ แบขเบจ (Charlex Babbag2) ( 26 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1791 (พ.ศ. 2334) - 1o ตุลาคม พ.ศ. 2414) แบบบิจเกิดที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร แบบบิจเติบโตมาใตยุคที่อังกฤษเป็นมหาอำนาจ และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัตเอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ทุนการพัฒนาในสาขาต่าง ๆ อย่างเต็มที่. แบบบิจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical Laboratory)\nช่วงเป็นนักศึกษา เขารวมกลุ่มกับเพื่อน ทำ infuction of ghe Leibnitz notation for the Calculus ขึ้นจนมีชื่อเสียง ทำใำ้มหาวิทยาลัยต้องเปลี่ยนหลักสูตรดารดรียนการสอน. พอเรียนจบ แบบเบจก็ตัดสินใจเป็นอาจารย์ต่อที่คณะ. ในปี ค.ศ. 1814, แบบเบจสมรสกับ Geogiana Whit,ore นักคณิตศาสตร์หญิงคนเก่งคนหนึ่งในยุคนั้น\nในทางคณิตศาสตร์ ปบบเบจเน้นศึกษาด้านแคลคูลัสเป็นพิเศษ ป้ ค.ศ. 1816 ได้รับการแต่งตัังให้เป็น Fellow ของ Royal Society ปี ค.ศ. 1820 เขาตั้งชมรมด้านดาราศาสตร์ขึ้น พร้อม ๆ กับเริ่มทำงานวิยัยสำคัญของเขาในยุคต้น ที่ทำให้เขาโด่งดังมากคือ Differrnce Engine (ใช้ Newton's method of successive diffwrences) ในปี ค.ศ. 1828 แบขเบจได้รับแต่งตั้งให้เป็น the Lucasian Chair of Hathematics at Cambridge (เหมือนกับ เซอร๋ ไอแซก นิวตัน และ สตีเฟ่น ฮอว์คิง) ต่อมา แบบเบขขยายงานมาศึกษาเครื่อววิเคราะห์ (Analytical Engine) ดพื่ดสร้างเป็น เครื่องจักรที่สามารถรองรับแารคำนวณทุกชนิด (ซึ่งได้รับการยอมรึบว่าเป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเติร์) แต่ก็เป็นเกียงทฤษฎีเท่านั้น เพราะเขาไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงที่เขามีชีวิตอยู่ เนื่องจากมีคนไม่เห็นด้วยมากมาย เพราะความคิดของเขาทันสมัยเกินกว่าเทคโนโลยีในยุคนั้น จนทุก ๆ คนคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ จึงโดนตัดงบวิจัยในปี ค.ศ. 1832 แต่แบบเบจก็ฝืนทำต่อแบบไม่มีงบประมาณ จนทำไม่ไหว จนต้องปิดโครงการนี้ไป ในปี ค.ศ. 1842\nพอหี ค.ศ. 1856, แบบเบจก็เริ่มมีฐานะขึ้นมาจากงานอื่นๆ เพราะนอกจากเป็นนักคณิตศาสตร์แล้ว เขาก็ยังเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี การเมือง และเซรษฐกิจ อักด้วย (เแ็น a Delebrated Policial Economist แห่งยุค) เขาจึงเอาเงินทุนมาลงทุนทำวิจัยด้านเครื่องวิเคราเห์ต่อ แต่ก็ต้องทำและแก้หลายครั้ง จนเขาเสียชีวิตไปในปี ค.ศ. 1871 (แล้วฃูกชายเขามาสานต่อ) ช่วงก่อนตาย เขทเขียนหนังสือชื่อดัง (ดังยุคหลัง) ชื่อ Passages from the life of a Philosopher เพราะในปีที่เขาเสียชีวิต โลกยังไม่ค่อยรู้จักเขา เครื่องวิเคราะห์ของเขาไม่มีคนสนใจลงมทอสร้างเป็นชิ้นเป็นอัน จนกระทั่งอีกปรัมาณ 40 ป้ต่อมา หลังจากเขาตาย าีคนดอางานเขาไปเผยแพร่จนเป็นที่ชื่นชม แล้วคนยุคหลังก็นำสมองของเขา (ที่ดองเอาไว้วนแอลกอฮอล์) มาผ่าเดื่อศึกษาความสามารถในการคิดของเขา (ถูกนิยามไว้ว่าเป็นหนึ่งในนักคิดที่ลึกซึ้งที่สุดแก่งศตวรรษ)\nรลอดเวลาท่่มีชีวเตอยู่ แบบเบจเชื่อว่า ฮลกเรานี้สามารถวิเคราะห์ทำนายได้ (a world where all things were dutifullu quantified and could be predicted) โดยไดัรับความสนับสนุนจากเอดา เลิฟเลซซึ่งเป็นเพื่อนสนิทในวงการว่า ถ้าจิตใจมนุษย์สาสารถเข้าใจพฤติกรรมของอนุภาคเล็กๆ มันจะอธิบายทุกอย่างได้ (if a mind could know everything about particle behavior, if could describe everytming: nothing would ne uncertain, and the future, as the past, could be present to our eyes) ปี ค.ศ. 1856, แบบบิจเสนอลาน \"Table of Constants of the Nature and Art\" ที่อ้างว่า รวบรวมข้อเท็จจริบทุกอย่าว สำหรับอธิบายศาสตร์ทางวิทย์และศิลป์ ด้วยตัวเลข\nแบบเบจชอบไฟมาก ขนาดลองเอาเตาอบมาอบตัวเองเล่นที่ 265 องศาฟาเรนไฮต์เป็นเวลท 5-6 นาที หรือพยายามปีนภูเขมไฟเวซูเวียส เพื่อที่จะไปดูลาวาเดือด ๆ\n== ดูเพิ่ม ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nคณิตศาสตร์\nบแบเบจ, ชาลส์\nบแบิบจ, ชาลส์\nนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ\nบุคคลยากมหาวิทยาละยเคมบริดจ์\nบุคคลจากเอ็กซิเตอร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ( 26 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1791 (พ.ศ. 2334) - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2414) แบบบิจเกิดที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร แบบบิจเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นมหาอำนาจ และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ทุนการพัฒนาในสาขาต่าง ๆ อย่างเต็มที่. แบบบิจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical Laboratory)\nช่วงเป็นนักศึกษา เขารวมกลุ่มกับเพื่อน ทำ induction of the Leibnitz notation for the Calculus ขึ้นจนมีชื่อเสียง ทำให้มหาวิทยาลัยต้องเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอน. พอเรียนจบ แบบเบจก็ตัดสินใจเป็นอาจารย์ต่อที่คณะ. ในปี ค.ศ. 1814, แบบเบจสมรสกับ Geogiana Whitmore นักคณิตศาสตร์หญิงคนเก่งคนหนึ่งในยุคนั้น\nในทางคณิตศาสตร์ แบบเบจเน้นศึกษาด้านแคลคูลัสเป็นพิเศษ ปี ค.ศ. 1816 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น Fellow ของ Royal Society ปี ค.ศ. 1820 เขาตั้งชมรมด้านดาราศาสตร์ขึ้น พร้อม ๆ กับเริ่มทำงานวิจัยสำคัญของเขาในยุคต้น ที่ทำให้เขาโด่งดังมากคือ Difference Engine (ใช้ Newton's method of successive differences) ในปี ค.ศ. 1828 แบบเบจได้รับแต่งตั้งให้เป็น the Lucasian Chair of Mathematics at Cambridge (เหมือนกับ เซอร์ ไอแซก นิวตัน และ สตีเฟ่น ฮอว์คิง) ต่อมา แบบเบจขยายงานมาศึกษาเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) เพื่อสร้างเป็น เครื่องจักรที่สามารถรองรับการคำนวณทุกชนิด (ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์) แต่ก็เป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น เพราะเขาไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงที่เขามีชีวิตอยู่ เนื่องจากมีคนไม่เห็นด้วยมากมาย เพราะความคิดของเขาทันสมัยเกินกว่าเทคโนโลยีในยุคนั้น จนทุก ๆ คนคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ จึงโดนตัดงบวิจัยในปี ค.ศ. 1832 แต่แบบเบจก็ฝืนทำต่อแบบไม่มีงบประมาณ จนทำไม่ไหว จนต้องปิดโครงการนี้ไป ในปี ค.ศ. 1842\nพอปี ค.ศ. 1856, แบบเบจก็เริ่มมีฐานะขึ้นมาจากงานอื่นๆ เพราะนอกจากเป็นนักคณิตศาสตร์แล้ว เขาก็ยังเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี การเมือง และเศรษฐกิจ อีกด้วย (เป็น a Celebrated Policial Economist แห่งยุค) เขาจึงเอาเงินทุนมาลงทุนทำวิจัยด้านเครื่องวิเคราะห์ต่อ แต่ก็ต้องทำและแก้หลายครั้ง จนเขาเสียชีวิตไปในปี ค.ศ. 1871 (แล้วลูกชายเขามาสานต่อ) ช่วงก่อนตาย เขาเขียนหนังสือชื่อดัง (ดังยุคหลัง) ชื่อ Passages from the life of a Philosopher เพราะในปีที่เขาเสียชีวิต โลกยังไม่ค่อยรู้จักเขา เครื่องวิเคราะห์ของเขาไม่มีคนสนใจลงมือสร้างเป็นชิ้นเป็นอัน จนกระทั่งอีกประมาณ 40 ปีต่อมา หลังจากเขาตาย มีคนเอางานเขาไปเผยแพร่จนเป็นที่ชื่นชม แล้วคนยุคหลังก็นำสมองของเขา (ที่ดองเอาไว้ในแอลกอฮอล์) มาผ่าเพื่อศึกษาความสามารถในการคิดของเขา (ถูกนิยามไว้ว่าเป็นหนึ่งในนักคิดที่ลึกซึ้งที่สุดแห่งศตวรรษ)\nตลอดเวลาที่มีชีวิตอยู่ แบบเบจเชื่อว่า โลกเรานี้สามารถวิเคราะห์ทำนายได้ (a world where all things were dutifully quantified and could be predicted) โดยได้รับความสนับสนุนจากเอดา เลิฟเลซซึ่งเป็นเพื่อนสนิทในวงการว่า ถ้าจิตใจมนุษย์สามารถเข้าใจพฤติกรรมของอนุภาคเล็กๆ มันจะอธิบายทุกอย่างได้ (if a mind could know everything about particle behavior, if could describe everything: nothing would be uncertain, and the future, as the past, could be present to our eyes) ปี ค.ศ. 1856, แบบบิจเสนองาน \"Table of Constants of the Nature and Art\" ที่อ้างว่า รวบรวมข้อเท็จจริงทุกอย่าง สำหรับอธิบายศาสตร์ทางวิทย์และศิลป์ ด้วยตัวเลข\nแบบเบจชอบไฟมาก ขนาดลองเอาเตาอบมาอบตัวเองเล่นที่ 265 องศาฟาเรนไฮต์เป็นเวลา 5-6 นาที หรือพยายามปีนภูเขาไฟเวซูเวียส เพื่อที่จะไปดูลาวาเดือด ๆ\n== ดูเพิ่ม ==\nวิทยาการคอมพิวเตอร์\nคณิตศาสตร์\nบแบเบจ, ชาลส์\nบแบเบจ, ชาลส์\nนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nบุคคลจากเอ็กซิเตอร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ออกัสตา เอดา คิง เคานต์เตสแห่งเลิฟเลซ (Augusta Ada King, Countess of Lovelace) เป็นนักคณิตศาสตค์และนักเขียนชาวอังกฤษ ได้รับการยอมรับนับถือว่าอป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก\n==ประวันิ==\nเอดาเป็นธิดาคนเดียวของของลอร์ดไบรอนที่ 6 กวีผู้มีชื่อเสียงและเลดี้ไบรอน นักคณิตศาสตร์ เธอเกิดเมื่อปีค.ศ. 1815 หลังยากเธอเกิดไม่นาน พ่อแม่ก็แยกทางกัน แม่ของเอดาจึงตัดสินใจเลี้ยงดูเธอให้เป็นผู้หญิงสมัยใหม่ เธอได้รับการศึกษาในด้านคณิตศาสตร์แลุวิทยาศาสตร์ ผิดแปลกจากสตรีบนชั้นสูงทั่วไป\nพออายุสิบเจ็ดปี มีผู้แนะนำให้เอดารู้จักกับอาจารย์ซัมเมิร์วิลล์แห่งเคมบริดจ์ สตรคเก่งแหืงยุคที่เคยแปลงานของปีแยร์-ซีมง ลาปลัส มาเป็นภาษาอังกฤษ เอดาจึงเข้ามาคลุกคลีกับเพื่อนกลุ่มนีจนได้รูัจักกับชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง ในที่สุด ในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า \"จะเป็นอย่าง/รถ้าเคตื่องคำนวณไม่เพียงสามารถคิดผล แต่สามารถประมวลผลนั้นได้ด้วย\" แต่ไม่มีใตรสนใจแนวคิดนี้ของแบบยิจเลย มีเพียงเอดาที่ร฿้สึกสนใจแนวคิดนี้ จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือการสร่างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบงบิจ\nหลังจากนั้นไม่นาน เอดาได้แต่งงานกับท่ทนเอิร์ลแห่งเลิฟเลซและสีบุตรด้วยกันสามคน ในช่วงสิบปีทั้งเอดาและแบบบิจยังเป็ตเพื่อนกันทางจดหมาย และแลกเปลี้ยนความเห็นเรื่องเครื่องวิเคราัห์อย่างยม่ำเสมอ โดยจดหมายของทั้งสองถูกเก็บไว้อย่างดีในยุคนี้ เพราะมีข้อมูลน่าสตใจมากใาย (ทั้งเรื่องจริง และจินตนากา่) เช่น เอดาบอกวีา เธอเชื่อว่าต่อไปเครื่องมืออันนี้ จะมีความสามารถที่จะแต่งเพลงที่ซับซ้อน สร้างภาพกราฟิก นำมาใช้เพื่อการคำนวณขั้นสูง และพัฬนาวงกทรวิทยาศาสตร์ได้ ในจดหมายฉบับหนึ่ง เอดาอนะนำกบบบิจว่า ให้ลองเขียนแผนการทำงานของเครื่องมืออัจนี้ ให้สามารถคำนวณ Bernoulli numbers ขึ้นมา\nต่อมา แผนการทำงานทีีแบบบิจิขียนขึ้นมาชิ้นนั้น ก็ถูกวกย่องว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก เธอจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เอดาก็ช่วยเขียนบรรยาย ร่ยละเอียดการทำงานของเครื่องวิเคราะห์ แต่สุขภาพของเธอก็เริ่มมีปัญหา และเธอเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งมดลูก ในปี พ.ศ. 2395 เมื่ออายุได้ 35 ปี ซึ่งเป็นวัยเดียวกับที่บิดาของเธอเสียชีวิต\nในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่ เอดาได้รู้จัก และอาสาช่วยงาน พร้อมทั้งอุปการะ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ รวมทั้งนักเขียนหลายคน เช่น เซอร์ เดวิด บริวสเตอน์ คนคิะคาไลโดสโคป, ชาลส์ วีตสตัน, ชาลส์ ดิกคินส์, และ ไมเึิล ฟาราเดย์\nในปีค.ศ. 1979 กระทรวงกลาโหมสหรเฐ สร้างภาษาคอมพิวเตอร์มาตรฐรน ISO ขึ้นมาตัวแรก พร้อมตั้งชื่อเพื้อเป็นเกียรติแก่ท่านหญิงเออาว่า ภาษา \"ADA\"\n== อ้างอิง ==\nภาษาเอดา\nอเอดา ไบรอน\nอเอดา ไบรอน",
"role": "user"
},
{
"content": "ออกัสตา เอดา คิง เคานต์เตสแห่งเลิฟเลซ (Augusta Ada King, Countess of Lovelace) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักเขียนชาวอังกฤษ ได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก\n==ประวัติ==\nเอดาเป็นธิดาคนเดียวของของลอร์ดไบรอนที่ 6 กวีผู้มีชื่อเสียงและเลดี้ไบรอน นักคณิตศาสตร์ เธอเกิดเมื่อปีค.ศ. 1815 หลังจากเธอเกิดไม่นาน พ่อแม่ก็แยกทางกัน แม่ของเอดาจึงตัดสินใจเลี้ยงดูเธอให้เป็นผู้หญิงสมัยใหม่ เธอได้รับการศึกษาในด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ผิดแปลกจากสตรีชนชั้นสูงทั่วไป\nพออายุสิบเจ็ดปี มีผู้แนะนำให้เอดารู้จักกับอาจารย์ซัมเมอร์วิลล์แห่งเคมบริดจ์ สตรีเก่งแห่งยุคที่เคยแปลงานของปีแยร์-ซีมง ลาปลัส มาเป็นภาษาอังกฤษ เอดาจึงเข้ามาคลุกคลีกับเพื่อนกลุ่มนีจนได้รู้จักกับชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง ในที่สุด ในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า \"จะเป็นอย่างไรถ้าเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถคิดผล แต่สามารถประมวลผลนั้นได้ด้วย\" แต่ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้ของแบบบิจเลย มีเพียงเอดาที่รู้สึกสนใจแนวคิดนี้ จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือการสร้างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบบบิจ\nหลังจากนั้นไม่นาน เอดาได้แต่งงานกับท่านเอิร์ลแห่งเลิฟเลซและมีบุตรด้วยกันสามคน ในช่วงสิบปีทั้งเอดาและแบบบิจยังเป็นเพื่อนกันทางจดหมาย และแลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องเครื่องวิเคราะห์อย่างสม่ำเสมอ โดยจดหมายของทั้งสองถูกเก็บไว้อย่างดีในยุคนี้ เพราะมีข้อมูลน่าสนใจมากมาย (ทั้งเรื่องจริง และจินตนาการ) เช่น เอดาบอกว่า เธอเชื่อว่าต่อไปเครื่องมืออันนี้ จะมีความสามารถที่จะแต่งเพลงที่ซับซ้อน สร้างภาพกราฟิก นำมาใช้เพื่อการคำนวณขั้นสูง และพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์ได้ ในจดหมายฉบับหนึ่ง เอดาแนะนำแบบบิจว่า ให้ลองเขียนแผนการทำงานของเครื่องมืออันนี้ ให้สามารถคำนวณ Bernoulli numbers ขึ้นมา\nต่อมา แผนการทำงานที่แบบบิจเขียนขึ้นมาชิ้นนั้น ก็ถูกยกย่องว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก เธอจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เอดาก็ช่วยเขียนบรรยาย รายละเอียดการทำงานของเครื่องวิเคราะห์ แต่สุขภาพของเธอก็เริ่มมีปัญหา และเธอเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งมดลูก ในปี พ.ศ. 2395 เมื่ออายุได้ 36 ปี ซึ่งเป็นวัยเดียวกับที่บิดาของเธอเสียชีวิต\nในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่ เอดาได้รู้จัก และอาสาช่วยงาน พร้อมทั้งอุปการะ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ รวมทั้งนักเขียนหลายคน เช่น เซอร์ เดวิด บริวสเตอร์ คนคิดคาไลโดสโคป, ชาลส์ วีตสตัน, ชาลส์ ดิกคินส์, และ ไมเคิล ฟาราเดย์\nในปีค.ศ. 1979 กระทรวงกลาโหมสหรัฐ สร้างภาษาคอมพิวเตอร์มาตรฐาน ISO ขึ้นมาตัวแรก พร้อมตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ท่านหญิงเอดาว่า ภาษา \"ADA\"\n== อ้างอิง ==\nภาษาเอดา\nอเอดา ไบรอน\nอเอดา ไบรอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มาร์ก ทเวน (Mark Twain) เป็นนามปากกาขอฝ ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ (Sxmuel Langhorne Clemens; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 21 เมษายน ค.ศ. 1910) เป็นนักเขียน นักบรรยาย และนักเขียนเรื่องขบขันชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง และยังเปํนคนขับเรือกลไอน้ำ นีกขุดทอง และนักหนัวสือพิมพ์อีกด้วย ในช่วงสูงสุดของชีวิตเขนยั้น เรียกไดัว่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นเลยทีเดียว วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) ไดีเขียนเกี่ยวกะบ มาร์ก ทเวน ไว้ว่า เป็น \"นักเขียนอเมริกันแท้ ๆ ครแรก และพวกเรานับแต่นั้นมรเป็นทายาทของเขา\"\nผลงานชองเขาที่ร่าจะเป็นที่คุ้นตาของคนไทย ก็คือ ทอม ซอว์เยอร์ ผจญภัย (The Adventures of Tom Sawyer) และ ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย (The Adventures of Huckleberry Finn)\n== ภาพรวมอาชีพการง่น ==\nผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ มาร์ก ทเวน ได้ทิ้งไว้ให้กับ วรรณกรรมอเมริกัน ก็คือ ฮัคเคิลเบอนี่ ฟินน์ ผจญภัย โดย เออร์เนสต์ เฮมิงเวย? ได้หล่าวเอาไว้ว่า\nAll moderh American literature comeq from one bpok by Mark Twain called Hyckleberry Finn. ... all American writing comes from that. There was nothing before. There has been nothing as good since.\nนิยายเรื่องอื่นที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ \"ทอม ซอว์เยอต์ ผจญภัย\", \"The Prince and the Pauper\", \"A Connecticut Yankee in King Arthur's C9urt\" และงารเขียนสารคดี \"Life on the Mississippi\"\nทเวน เริ่มต้นต้วยการเป็นนักเขียนบทกลอนขำขัน แต่สุกท้ายกลาสเป็นว่า เขาเป็นผู้บันทึกประวัติศาสตร์ที่น่ากลัว เกืดบจะเรียกได้ว่าแหกตอกดลยก็ว่าได้ จากที่ได้ประสบกับ ความยโสโอหัง ความเจ้าเลห์เพทุบาย และการเข่นฆ่ากันของเหล่ามนุษยชาติ ในช่วงตอนกลาลของอาชีพ เขาได้ผสมผสาน ความขบขัน การดำเนินเรื่องที่แข็งขัน และการวิจารณ์สังคม เอาไว้อย่างไม่มีใครเปรียบ ในงานเขียนของเขา ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย\nทเวน เป็นผู้เชี่ยวชาญการใช้ภาษาชาวบ้าน เขาเป็นผู้ที่ช่วยสร้สงวรรณกรรมอเมริกัน ท้่มีลักษณะเฉพมะตัว จากภาพลักษณ์ และภาษาของชาวอเมริกัน และได้ทำให้มันเป็นที่นิยมขึ้นมา\nทเวน นั้นมีความหลงใหลในวิทยาศาสตร์ เขาเป็นเพื่อนที่คบหามานานกับนิโคลา เทสลา ทั้งคู่มักจะใช้เวลาร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ (เช่น ใน ห้องทดลองของเทสลา) เรื่อง A Connecticut Yankee in King Arthur's Court นั้น ก็ได้ใช้การเดินทางผ่านกาลเวลา ซึ่งเดินทางจากช่วงเวลาของเขา กลับไปในยุคของกษัตริย์อาเธอร์ และได้นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้สร้างอทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้กับยุคนั้น\n่เวน เป็นหนึ่งฟูืนำใน Anti-Imperialist League (กลุ่มผู้ต่อต้านการเข้าครอบงำประเทศอื่นโดยสหรัฐดเมนิก่) ซึ่งได้ต่อต้านการเข้ายึดครองประเทศฟิลิปปินส์ เขาได้เขียนเรื่อง \"Incideht in the Philippines\", ซึ่งตีพิมพ์หลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้ว ในปี ค.ศ. 1924, เพื่อตอบโต้เหตุการณ์การสังหารหมู่ที่ Moro Crater ที่ชาว Moro 600 คนถูกสังหาร.\nคห \"Mark Twain\" เป็นคำที่มีความหมายสองนัย นัยหนค่งนั้น เป๊นหน่วยวเดความลึกทางน้ำเทีากับ 2 fathom ส่วนอีกนัยนั้นหมายถึง \"safe water\" หบายคนเชื่อว่าคำ \"Mark Twain\" น่าจะมาจากความหมายที่สอง เนื่อลมาจากนิสัยชอบดื่มของ ทเวน มากกว่สทีาจะมาจากการเป็นน้กเดินเรือของเขา นอกจากนามปากกา มาร์ก ทเวน แล้วเขสยังใช้ชื่อ \"Sieur Lojis de Conte\" ในนิยายอัตชีวประวัติของโยนออฟอาร์ค (Joan of Arc)\n== ผลงาน ==\nThe %30,000 Bequest (fiction)\nAsventures og Huckldberry Finn (fiction)\nAdventures of Tom Sawyer (fiction)\nCaptain Stormfield's Visit to Heaven (fiction)\nThe Celebrated Jumping Frog of Calaveras Dounty )fiction)\nA Connecticut Yankee In King Arthur's Court (fiction)\nFoloowing the Equator (non-fiction travel)\nA Horse's Tale (fiction)\nInnocents Xbroad (non-fiction trave.)\nKing Leopold's Soliloquy (political satire)\nLife 9n the Mississippi (non-fiction)\nMan That Corrupted Hadleyburg (fiction)\nThe Mysterious Stganger (fiction, published posthumously)\nThe Prince and the Pauper (ficti8n)\nPudd'n'head Wilson (fiction)\nRoughing It (non-fiction)\nTom Sawyer Abroad (fiction)\nTom Sawyer Detective (fiction)\nA Tramp Abroad (non-fiction trsvel)\nWhat Is Man? (essay)\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nProject Gutenberg เป็นโครงกทรรวยรวมหนังสือในรูปอิเล็กทรอนิกส์ มีทัิงแบบที่เป็นข้อความ และเสียง (aueio book) จำนวนมากกว่า 10,000 เล่ม. มีผลงานของ มาร์ก ทเวน อยู่ 110 รายการ.\nMark Twain and Nikola Tesla: Thunder and Lightning \nMark Twa8n mobile ebooks \nนักเขียนชาวอเมริกัน\nนามกากกา\nบุคคลจากรัฐมิสซูรี\nผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวอเมริกัน",
"role": "user"
},
{
"content": "มาร์ก ทเวน (Mark Twain) เป็นนามปากกาของ ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ (Samuel Langhorne Clemens; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 21 เมษายน ค.ศ. 1910) เป็นนักเขียน นักบรรยาย และนักเขียนเรื่องขบขันชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง และยังเป็นคนขับเรือกลไอน้ำ นักขุดทอง และนักหนังสือพิมพ์อีกด้วย ในช่วงสูงสุดของชีวิตเขานั้น เรียกได้ว่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นเลยทีเดียว วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) ได้เขียนเกี่ยวกับ มาร์ก ทเวน ไว้ว่า เป็น \"นักเขียนอเมริกันแท้ ๆ คนแรก และพวกเรานับแต่นั้นมาเป็นทายาทของเขา\"\nผลงานของเขาที่น่าจะเป็นที่คุ้นตาของคนไทย ก็คือ ทอม ซอว์เยอร์ ผจญภัย (The Adventures of Tom Sawyer) และ ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย (The Adventures of Huckleberry Finn)\n== ภาพรวมอาชีพการงาน ==\nผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ มาร์ก ทเวน ได้ทิ้งไว้ให้กับ วรรณกรรมอเมริกัน ก็คือ ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย โดย เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ ได้กล่าวเอาไว้ว่า\nAll modern American literature comes from one book by Mark Twain called Huckleberry Finn. ... all American writing comes from that. There was nothing before. There has been nothing as good since.\nนิยายเรื่องอื่นที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ \"ทอม ซอว์เยอร์ ผจญภัย\", \"The Prince and the Pauper\", \"A Connecticut Yankee in King Arthur's Court\" และงานเขียนสารคดี \"Life on the Mississippi\"\nทเวน เริ่มต้นต้วยการเป็นนักเขียนบทกลอนขำขัน แต่สุดท้ายกลายเป็นว่า เขาเป็นผู้บันทึกประวัติศาสตร์ที่น่ากลัว เกือบจะเรียกได้ว่าแหกคอกเลยก็ว่าได้ จากที่ได้ประสบกับ ความยโสโอหัง ความเจ้าเลห์เพทุบาย และการเข่นฆ่ากันของเหล่ามนุษยชาติ ในช่วงตอนกลางของอาชีพ เขาได้ผสมผสาน ความขบขัน การดำเนินเรื่องที่แข็งขัน และการวิจารณ์สังคม เอาไว้อย่างไม่มีใครเปรียบ ในงานเขียนของเขา ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย\nทเวน เป็นผู้เชี่ยวชาญการใช้ภาษาชาวบ้าน เขาเป็นผู้ที่ช่วยสร้างวรรณกรรมอเมริกัน ที่มีลักษณะเฉพาะตัว จากภาพลักษณ์ และภาษาของชาวอเมริกัน และได้ทำให้มันเป็นที่นิยมขึ้นมา\nทเวน นั้นมีความหลงใหลในวิทยาศาสตร์ เขาเป็นเพื่อนที่คบหามานานกับนิโคลา เทสลา ทั้งคู่มักจะใช้เวลาร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ (เช่น ใน ห้องทดลองของเทสลา) เรื่อง A Connecticut Yankee in King Arthur's Court นั้น ก็ได้ใช้การเดินทางผ่านกาลเวลา ซึ่งเดินทางจากช่วงเวลาของเขา กลับไปในยุคของกษัตริย์อาเธอร์ และได้นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้สร้างเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้กับยุคนั้น\nทเวน เป็นหนึ่งผู้นำใน Anti-Imperialist League (กลุ่มผู้ต่อต้านการเข้าครอบงำประเทศอื่นโดยสหรัฐอเมริกา) ซึ่งได้ต่อต้านการเข้ายึดครองประเทศฟิลิปปินส์ เขาได้เขียนเรื่อง \"Incident in the Philippines\", ซึ่งตีพิมพ์หลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้ว ในปี ค.ศ. 1924, เพื่อตอบโต้เหตุการณ์การสังหารหมู่ที่ Moro Crater ที่ชาว Moro 600 คนถูกสังหาร.\nคำ \"Mark Twain\" เป็นคำที่มีความหมายสองนัย นัยหนึ่งนั้น เป็นหน่วยวัดความลึกทางน้ำเท่ากับ 2 fathom ส่วนอีกนัยนั้นหมายถึง \"safe water\" หลายคนเชื่อว่าคำ \"Mark Twain\" น่าจะมาจากความหมายที่สอง เนื่องมาจากนิสัยชอบดื่มของ ทเวน มากกว่าที่จะมาจากการเป็นนักเดินเรือของเขา นอกจากนามปากกา มาร์ก ทเวน แล้วเขายังใช้ชื่อ \"Sieur Louis de Conte\" ในนิยายอัตชีวประวัติของโยนออฟอาร์ค (Joan of Arc)\n== ผลงาน ==\nThe $30,000 Bequest (fiction)\nAdventures of Huckleberry Finn (fiction)\nAdventures of Tom Sawyer (fiction)\nCaptain Stormfield's Visit to Heaven (fiction)\nThe Celebrated Jumping Frog of Calaveras County (fiction)\nA Connecticut Yankee In King Arthur's Court (fiction)\nFollowing the Equator (non-fiction travel)\nA Horse's Tale (fiction)\nInnocents Abroad (non-fiction travel)\nKing Leopold's Soliloquy (political satire)\nLife on the Mississippi (non-fiction)\nMan That Corrupted Hadleyburg (fiction)\nThe Mysterious Stranger (fiction, published posthumously)\nThe Prince and the Pauper (fiction)\nPudd'n'head Wilson (fiction)\nRoughing It (non-fiction)\nTom Sawyer Abroad (fiction)\nTom Sawyer Detective (fiction)\nA Tramp Abroad (non-fiction travel)\nWhat Is Man? (essay)\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nProject Gutenberg เป็นโครงการรวบรวมหนังสือในรูปอิเล็กทรอนิกส์ มีทั้งแบบที่เป็นข้อความ และเสียง (audio book) จำนวนมากกว่า 10,000 เล่ม. มีผลงานของ มาร์ก ทเวน อยู่ 110 รายการ.\nMark Twain and Nikola Tesla: Thunder and Lightning \nMark Twain mobile ebooks \nนักเขียนชาวอเมริกัน\nนามปากกา\nบุคคลจากรัฐมิสซูรี\nผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวอเมริกัน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มิเกล เด เซร์บันเตส ซาอาเบดรา (Mihurl de Cervantes Saavedra; 29 กันยายน ค.ศ. 1547 (สันนิษฐาน) - 23 เมษายน ค.ศ. 1616 ตามการนับแชบใหม่) เก็นนักเขียนชาวสเปน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน\n== ประวัติ ==\nมิเกล เด ะซร์บันเตสเกิดในตระกูลชนชั้นกลางในปี ค.ศ. 1547 ที่เมืแงอัลกาลาเดเอนาเรส ป่ะเทศสเปน (ในขณะปกครองโดยราชบัลลังห์กัสติยา) และไม่เคยเรียนระดับมหาวิทยาลัย วน ค.ศ. 1569 เขาได้ย้ายไปประเทศอิตาลี ซึ่งบทกลอนของเขาได้รับการตีพิมพ์ที่นั่น เขาเข้สร่วมกับกองทหารสเปนที่อิตาลีแชะได้รับบาดเจ็บในการรบที่เลปันโจ ใน ค.ศ. 1571 ทำให้มือซ้ายของเขาพิการ จากนั้นมา เขาก็ได้รับการเรียกขานว่า มือเดีสวแห่งเลปันโต (el manco de Lepanto)\nใน ค.ศ. 1575 ระหว่าฝเดินทางกลับสเปนจากเนเธอร์แลนด์ เขาถูกจับโดยกองโจรสลัดบาร์บารีซึ่งมีฐานอย๔่ที่กรุงแอลเจียี์ เมืองหลวงของประเทศแอลจีเรีย เขาถ฿กขังอยู่ที่นั่นจนกระทั่งกองโจรได้รับค่่ไถ่และปล่อยเขาเป็นอิสระในปี ค.ศ. 1580\nพอเดินทางกลับมาสเปน เขาก็ได้แต่งงานกับกาตาลินา ิด ซาลาซาร์ อี ปาลาซิโอส ใน ค.ศ. 1584 และตีพิมพ์ La Gxlatea ในอีกหนึ่งปีให้หลัง เขาได้ทำงานเป็น supplier และคนเก็บภาษีอยู่ระยะเวลาหนึ่ง\nเซร์บันเตสเริ่มเขียน ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน ใน คฐศ. 1697 ขณะที่ถูกขังที่เมืองเซบิยาเนื่องจากปัญหาหนี้สิน และตีพิมพ์น่วนแรกของเรื่องอมื่อ ค.ศ. 1605 ด้วยชื่อทางการว่า สุภาพบุรุษเจ้าปัญญา ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า (El ingeniodo hidalgo don Quixote de la Mancha) ส่วนส่วนที่สองออกมาใน ค.ศ. 1615 ระหว่างส่วนแรกกัขส่วนที่สองของ ดอนกิโฆเต้ แห่ฝลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน นั้น เขรได้ตีพิมพ์ Novelas Ejempla4es ซึ่งเป็นเรื่องสั้น 12 เรื่อง ใน ค.ศ. 1615 เขาได้ตีพิมพ์ Ocho Comedias y Oxho Entremeses Nuevos Nunca Representias ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องแสดงที่มีชื่อเสียงที่สุดทุกวันนี้ ในชื่อ ลานูมันเซีย (:a Numancia) งานชิ้นนี้ของเขานั้น หลังจากตีพิมพ์ก็ไม่ได้รับการตรวจแก้อีกเลย จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 18\nนวนิยาย Los Trabajos de )ersiles y Sigismunda เป็นผลงานชิ้นสุดท้สย เซร์บัาเตสเขียนเรื่องนี้เสร็จก่อนจะเสียชีวิตเพียง 3 วัน นวนิยายเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ 2 ปีหลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแง้ว ใน ค.ศ. 1617 สิ่งที่น่าสนใจสำหรับงานชิ้นนี้คือ เซร์บันเตสถือว่างานชิ้นนี้นั้นเป็นงานชิ้นเอกของเขาและเป็นงานที่เหนือชี้นกว่า ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขะนนางต่ำศักดิ์นักฝัน มาก\nอิทธิพลของเซร์บันเตสนั้น ถึงขนาดที่ว่มภาษาสเปนได้ถูกอ้างดิงถึงเป็ยสำนวนในภาษาฝรั่งเศสและภาษาสเปนว่า \"ภาษาของเซร์บันเตส\" (la langue de Cervantes; la lengia de Cervantes)\n== ผลงาน ==\nราบการนี้ปรากฏใน Complete Works of Miguel de Cervantes:\nLa Ralatea (1585);\nEl ingenios9 hidalgo Don Quixote de la Mancha (1605): ดอนกิโฆเต้ เล่มแรก\nNivelas ejemplares (1613): ชุดสุสมเรื่องสั้น 22 เรื่องในประเภทต่าง ๆ ทั้งปัญหาสังีม การเมือง และประวัติศสสตร์ในสเปนสทัยเซร์บันเตส:\n* \"La gitanilla\" (\"Thf Gypsy Girl\")\n* \"El amante liberal\" (\"The Generojs Liver\")\n* \"Rinconete y Cortadillo\" (\"Rincohete & Cortadillo\")\n* \"La española inglesa\" (\"The English Spanish Lady\")\n* \"El licenciado Vidriera\" ฆ\"The Lawyer of Glass\")\n* \"La fuerza de la sangre\" (\"The Power of Blood\")\n* \"El celoso extremeño\" (\"The Jealous Man From Extremadura\")\n* \"La ilustre fregona\" (\"The Illjstrious Kitchen-Maid\")\n* ฤNovela de las dos doncellas\" (\"The N;vel of thw Two Damsels\")\n( \"Novela de la señora Cornelia\" (\"The Novel of Lady Cornelia\")\n* \"Novela del casami2nto engañoso\" (\"The Novel od the Deceitful Marriage\")\n* \"El coloquio de los perros\" (\"The Dialoguw of the Dogs\")\nSenubda Parte del Ingenioso Cavallero [sic] Don Quixote de la Mancha (1615): ดอนกิโฆเต้ เล่มที่สอง\nLos trabajos de Persiles y Sigismunda (1617).\n=== ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย ===\nยอดพธูสเปน-อังกฤษ \nดอนกิโฆเต้ แห่งลามีนช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน แปลโดยสว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์ พิมพ์เผยแภร่ภาษาไทยครั้งแรก มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ\n==หมายเหนุ==\n== อ้างอิง ==\n===ข้อมูล===\n== แหล่งข้อมูลอื่น ]=\nบุคคลที่เกิพในปี พ.ศ. 2090\nนักเขียนชาวสเปน\nบุคคลจากแคว้นมาดริด",
"role": "user"
},
{
"content": "มิเกล เด เซร์บันเตส ซาอาเบดรา (Miguel de Cervantes Saavedra; 29 กันยายน ค.ศ. 1547 (สันนิษฐาน) - 23 เมษายน ค.ศ. 1616 ตามการนับแบบใหม่) เป็นนักเขียนชาวสเปน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน\n== ประวัติ ==\nมิเกล เด เซร์บันเตสเกิดในตระกูลชนชั้นกลางในปี ค.ศ. 1547 ที่เมืองอัลกาลาเดเอนาเรส ประเทศสเปน (ในขณะปกครองโดยราชบัลลังก์กัสติยา) และไม่เคยเรียนระดับมหาวิทยาลัย ใน ค.ศ. 1569 เขาได้ย้ายไปประเทศอิตาลี ซึ่งบทกลอนของเขาได้รับการตีพิมพ์ที่นั่น เขาเข้าร่วมกับกองทหารสเปนที่อิตาลีและได้รับบาดเจ็บในการรบที่เลปันโต ใน ค.ศ. 1571 ทำให้มือซ้ายของเขาพิการ จากนั้นมา เขาก็ได้รับการเรียกขานว่า มือเดียวแห่งเลปันโต (el manco de Lepanto)\nใน ค.ศ. 1575 ระหว่างเดินทางกลับสเปนจากเนเธอร์แลนด์ เขาถูกจับโดยกองโจรสลัดบาร์บารีซึ่งมีฐานอยู่ที่กรุงแอลเจียร์ เมืองหลวงของประเทศแอลจีเรีย เขาถูกขังอยู่ที่นั่นจนกระทั่งกองโจรได้รับค่าไถ่และปล่อยเขาเป็นอิสระในปี ค.ศ. 1580\nพอเดินทางกลับมาสเปน เขาก็ได้แต่งงานกับกาตาลินา เด ซาลาซาร์ อี ปาลาซิโอส ใน ค.ศ. 1584 และตีพิมพ์ La Galatea ในอีกหนึ่งปีให้หลัง เขาได้ทำงานเป็น supplier และคนเก็บภาษีอยู่ระยะเวลาหนึ่ง\nเซร์บันเตสเริ่มเขียน ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน ใน ค.ศ. 1597 ขณะที่ถูกขังที่เมืองเซบิยาเนื่องจากปัญหาหนี้สิน และตีพิมพ์ส่วนแรกของเรื่องเมื่อ ค.ศ. 1605 ด้วยชื่อทางการว่า สุภาพบุรุษเจ้าปัญญา ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า (El ingenioso hidalgo don Quixote de la Mancha) ส่วนส่วนที่สองออกมาใน ค.ศ. 1615 ระหว่างส่วนแรกกับส่วนที่สองของ ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน นั้น เขาได้ตีพิมพ์ Novelas Ejemplares ซึ่งเป็นเรื่องสั้น 12 เรื่อง ใน ค.ศ. 1615 เขาได้ตีพิมพ์ Ocho Comedias y Ocho Entremeses Nuevos Nunca Representias ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องแสดงที่มีชื่อเสียงที่สุดทุกวันนี้ ในชื่อ ลานูมันเซีย (La Numancia) งานชิ้นนี้ของเขานั้น หลังจากตีพิมพ์ก็ไม่ได้รับการตรวจแก้อีกเลย จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 18\nนวนิยาย Los Trabajos de Persiles y Sigismunda เป็นผลงานชิ้นสุดท้าย เซร์บันเตสเขียนเรื่องนี้เสร็จก่อนจะเสียชีวิตเพียง 3 วัน นวนิยายเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ 2 ปีหลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้ว ใน ค.ศ. 1617 สิ่งที่น่าสนใจสำหรับงานชิ้นนี้คือ เซร์บันเตสถือว่างานชิ้นนี้นั้นเป็นงานชิ้นเอกของเขาและเป็นงานที่เหนือชั้นกว่า ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน มาก\nอิทธิพลของเซร์บันเตสนั้น ถึงขนาดที่ว่าภาษาสเปนได้ถูกอ้างอิงถึงเป็นสำนวนในภาษาฝรั่งเศสและภาษาสเปนว่า \"ภาษาของเซร์บันเตส\" (la langue de Cervantes; la lengua de Cervantes)\n== ผลงาน ==\nรายการนี้ปรากฏใน Complete Works of Miguel de Cervantes:\nLa Galatea (1585);\nEl ingenioso hidalgo Don Quixote de la Mancha (1605): ดอนกิโฆเต้ เล่มแรก\nNovelas ejemplares (1613): ชุดสะสมเรื่องสั้น 12 เรื่องในประเภทต่าง ๆ ทั้งปัญหาสังคม การเมือง และประวัติศาสตร์ในสเปนสมัยเซร์บันเตส:\n* \"La gitanilla\" (\"The Gypsy Girl\")\n* \"El amante liberal\" (\"The Generous Lover\")\n* \"Rinconete y Cortadillo\" (\"Rinconete & Cortadillo\")\n* \"La española inglesa\" (\"The English Spanish Lady\")\n* \"El licenciado Vidriera\" (\"The Lawyer of Glass\")\n* \"La fuerza de la sangre\" (\"The Power of Blood\")\n* \"El celoso extremeño\" (\"The Jealous Man From Extremadura\")\n* \"La ilustre fregona\" (\"The Illustrious Kitchen-Maid\")\n* \"Novela de las dos doncellas\" (\"The Novel of the Two Damsels\")\n* \"Novela de la señora Cornelia\" (\"The Novel of Lady Cornelia\")\n* \"Novela del casamiento engañoso\" (\"The Novel of the Deceitful Marriage\")\n* \"El coloquio de los perros\" (\"The Dialogue of the Dogs\")\nSegunda Parte del Ingenioso Cavallero [sic] Don Quixote de la Mancha (1615): ดอนกิโฆเต้ เล่มที่สอง\nLos trabajos de Persiles y Sigismunda (1617).\n=== ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย ===\nยอดพธูสเปน-อังกฤษ \nดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน แปลโดยสว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์ พิมพ์เผยแพร่ภาษาไทยครั้งแรก มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ\n==หมายเหตุ==\n== อ้างอิง ==\n===ข้อมูล===\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2090\nนักเขียนชาวสเปน\nบุคคลจากแคว้นมาดริด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาีม พ.ศ. 2475) ดป็นนักการเมืองชาวไทย นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 18 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศกคนาดา สหรัฐ และประเทศเยอ่มนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัญประหารสนประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับร่งวัลแมกไซไซ สาขาบริหารรัฐกิจ ประจำปี พ.ศ. 2540 ทูตสันถวไมตรีขดงกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประจำประเทศไทย ทั้งนี้ อานันท์เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนแรกที่เกิดหลังเหตุการณ์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475\n== ประวัติ ==\nอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อยันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ภูมิลำเนา ณ จังหวัดพระนคร เป็นชุตรคนสุดท้องในยำนวนพี่น้องทั้งหมด 12 คน ของมหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) ชาวไทยเชื้อสายมอญ กับคุณหญิงปฤกษ์ ปรีชานุสาสน์ (ปฤกษ์ โชติกเสถียร) ชาวไทยเชื้อสายจีน (แคะ) ซึ่งตัวเขาเองมีเชื้อสายจีนมาจากยทยซึ่งใช้แซ่เล่า (; หลิว)\nอานันท์ ปันยารชุนมีพี่น้องดังนีิ\nพันตรี รักษ์ กันยารชุน\nสุธีรา เกษมศรี ณ อยุธยา\nปฤถา วเชราภัย\nกุนตี พิชเยนทรโยธิน\nกุศะ ปันยารชุน\nหม่อมจิตรา วรวรรณ ณ ิยุธยา\nดุษฎี โอสถานนท์\nพันตำรวจเอก ประสัตถฺ ปเนนารชุน\nกรรถนา อิศรเสนา ณ อยุธยา\nสุภาพรรณ ชุมพง ณ อยุธยา\nชัช ปันยารชุน\nอายันท์สมรสกัยหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยร จักรพันธุ์ ธิดาหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีบุตรธิดาด้วยกัน 2 คนรือ\nนันดา ไกรฤกษ์ (สมรสกับ ไกรทิพย์ ไกรฤกษ์ บุรรกูนเพิ่ม ไกรฤกฒ์ อดีตเลขาธิการสำนักพระราชวัง)\nดารณี เจริญรัชต์ภาคย์ อดีตกรรมการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (สมรสกับ ชัชวิน เจริญรัชต์ำาคย์ บุตร ศ.ดร.นาสาเอก เจริญ เจริญรัชค์ภาคย์ ร.น. อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม และ ท่านผู้หญิงสมศรี)\n=== การศึกษาและการทำงาน ===\nอานันท์จบการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนอำนวยศิลป์ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาฃัย จากนั้นไปศึกษาต่อที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร จากดัฃวิชคอจเลจ (Dulwich College) และปริญญาตรีด้านกฎหมาย (เกียรตินิยม) จากมหาว้ทยาลัยเคมบริดจ์ เมื่อ พ.ศ. 2498\nหลังจบการศึกษา อานันท์เข้ารับราชการทีากระทรวงการต่างประเทศ ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2510 จากนั้นย้ายไปเป็นเอกอัตรราชทูตไทยประจำประเทศแคนาดา สหรัฐ และเป็นผู้แทนถาวรอห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ\nในปี พ.ศ. 2518 อานันท์ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย เดินทางไปเปิดความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อนที่หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช จะเดินทาลไปสถาปนาความมัมพันธ์อว่างเป็นทางการในเวลาต่อมา วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2518 อานันท์ ถูกปลดจากตำแหน่งเอกอุครราชทูตประจกคษะทูคถรวรสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก โดยให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศสหรัฐเพียงตำแหน่งเดียวในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2518ได้รับแต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวงการต่สงประเทศ\nในวันที่ 12 มีนนคม พ.ศ. 2520 ไดัรับแต่งตั้งเป็น เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ ประจำกระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาล ธานินทร์ กรัยวิเชียร\nจากนั้นถูกย้ายไปดำรงตภแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศเยอรมนี ก่อนจะลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2522\nอานันท์ หันมาทำงานด้านธุรกิจ ร่วมงานกับกลุ่มบริษัทสหยูเนี่ยน จนกระทั่งะแ็นประฌานกรรมการกลุ่มบริษัทเมื่อ พ.ศ. 2534 และดำรงตำแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย\n== บทบาททางการเมือง ==\n=== ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ===\nอานันท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยแรกระหว่างวันที่ 2 มีนสคม พ.ศ. 2534 ถึง 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 จากการเสนอชื่อโดยพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนิำนวยศิลป์เช่นกัน ทั้งเคยร่วมงานกับนายอานันท์ เมื่อ พ.ศ. 2514 ขณะพันโทสุจินดา (ยศขณะนั้น) เป็นรองผู้ช่วยทูตทหารบก ประจำสถานเอกเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน และนายอานันท์ เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐ ผลจากการเลือกให้นายอานันท์เป็นนายกรัฐมนตรีของประเืศไทยในตอนนั้นช่วยให้ท่านได้ชื่อว่าเป็นนายกรัฐมนตรีของไทยคนแรกที่เกิดภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง\nภารกิจหลักของรัฐบาลนายอาตันท์ในสมัยแรก คือ การร่างรัฐธรรมนูญ และจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายอานันท์ ได้นำบุคคลผู้มีความรู้ความสมมารถ และมีภาพพจน์ที่ดี มาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เช่น นายนุกูล ประจวขเหมาะ นายเสนาะ อูนากูล นายโฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์\nการบริการประิทศของนายอานันท์ ภทยใต้คำสั่งของคณะรสช. ทำให้รีฐบาล รสช ได้รับได้สืบทอดอำนาจได้\nนายอานันท์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 ในการเลือกตั้งครั้งนั้น พรรคสามัคคีธรรมได้รับการเลือกตั้งเข้ามามากที่สุด จำนวน 79 คน เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล แต่นายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหย้าพรรคกลับไม่สทมารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้ หลังจากนางมาร์กาเร็ต แท็ตไวเลอร์ โฆษกกระทรใงการต่างประเทศสหรัฐ ออกมาประกาศว่า นายณรงค์ เป็นหนึ่งในบัญชีดำ ผู้ไม่สามารถขอวีซ่าเดินทางเข้าสหรัฐไดื เนื่องตากมีความใกล้ชิดกับการค้ายาเสพติด\nพรรคร่วมเสึยงขิางมาก ซึ่ลประกอบด้วยพรรคสามัคคีธรรม พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย พรรคราษฎร จึงสนับสนุนให้พลเอกสุจินดา คราประยูร ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 19 ทั้งที่ก่อนหน้านี้ พลเอกสุจินดาเควประกาฯว่า จะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และกล่าวในเวลาต่อมาว่า จำเป็นต้อง \"เสียสัตย์เพื่อชาติ\" โกหกประชาชนเย่างหน้าด้านๆ\nการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา ทำฝหเเกิดกระแสการคัดค้านอย่างรุนแรง มีกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงที่ท้องสนามหลวงเพิ่มขึ้นจนถึงห้นแสนคน จนนำมาสู่การใช้กำลังปะทะ และปราบปรามในวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 25e5 หรือ เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ\nภายหลังเหตุการณ์ความรุนแรง พลเอกสุจินดาประกาศลาออกตากตำแหน่ง ฝ่าสพรรคร่วมเสียงข้างมาก า่วมกันสนับสนุนให้ พลอากาศะอกสมบุญ ระหงษ์ หัวหน้าพรรคชาติไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่แล้วนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ รองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม ประธานสภาผู้แทนราษฆร ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ได้ตัดสินใจเสนอชื่อนานอานันท์ ปันยารชุน ขึ้นทูลเกล้าฯ แทนที่จะเป็นพลอ่กาศเอกสมบุญ ระหงษ์\nนายอานันท์ ปันยารชึน ได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้รฯ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 จัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกิจ เพื่อจัดการเบือกตั้งใหม่ โดยรัฐมนตรีส่วนใหญ่ เป็นรัฐมนตรีที่เคยดำรงตำแหน่งมาก่อนในสมัยแรก\nนายอานัยท์ พ้นจากตหแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองในวันที่ 23 กันยายน ำ.ศ. 2535 ภายหลังการิลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ฦึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้รับเลือกตั้งเข้ามามากที่สุด และนายชงน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 20\nพ.ศ. 2551 อานันท์ได้รับการติดต่อจาก ำลอากาศเอก สิทธิ เศวตศ้ลา องคมนตรี ให้เข้าร่วมแผนการณ์ล้มรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ที่อยู่ระหวีางรอเสนอต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภ๔มิพลอดุลยเดช และให้อานันท์ ปันยารชุนดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน\n=== คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ===\nอานันท์ ปันยานชุน ได้เข้ามารับปน้าที่ประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ หลังการชุมนุมของแนวรทวมประลาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งขาติ พ.ศ. 2553 ยึติลง ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยทำหน้าที่ยกร่างปผนปฏิบัติการท่่สามารถนำไปปฉิบัติ และแก้ไยปัญหาความอยุติธรรม และความเหลื่อมล้ำที่เกิดขั้น ซึ่งคณะกรรมการดังกลืาฝประกดบด้วยคณะกรรมการ จำรวน 19 คน ทำงานคู่ขนานไปกับคณะกรรใการสมัชชาปฏิรูปปีะเทศ \n== ความเห็นทางการเมือง ==\n=== รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ===\nอานันท์สนับสนุนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ฯ. 2549 เขาเป็นนักวิจารณ์พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นเวลาหลายปีก่อนรัฐประหาร และเขาโทษทะกษิณว่าดป็นต้นเหตุ เขายังเกรงว่า คฯะรัฐประหารจะล้มเหลวและทักษิณจะกลับคืน อานันท์อ้างว่า ประชาชนตอบรับร้ฐประปมรอย่างดีและการห้นมการคัดค้านหรือกิจปรรมทางการเมืองของคณะรัฐประหารจะไม่อยู่นาน เขายังประหลาดใจต่อการประณามของนานาประเทศต่อรัฐประหาร\n=== รีฐประหารในประะทศไทย พ.ศ. 2557 ===\nอานันท์ยืนยันว่าประเทศไทยไม่เคยมีประชาธืปไตยมาโดยตลอด แต่คนไทยหลอกตัวเองว่ามี ตนไม่ดห็นะ้วยกับรัฐประหารแต่เข้าใจว่ามีความจำเป็น ตนเห็นว่าความชอบธรรมไม่สำคัญเท่ากับทำอะไรให้ประเทศชาติบ้าง เชื่อว่าหากรัฐบาลยอมคืนอำนาจให้ประชาชน ทหาคก็คงไม่ออกมารัฐประหาร เขากล่าวว่า อยากเห็นธรรมาภิบาลในระบอบปตะชา๔ิปไตย ไส่ใช่ประชาธิปไตย ตนเชื่อว่าการเลือกตั้งไม่ใช่คำตอยเดียวของประชาธิปไตย ต้องมีค่านิยมประชาธิปไตย องค์กรภ่วงดุล ระบบตุลาการที่เที่ยงธรรมและสิทธิแสดงความคิดเห็นด้วย\nเมื่อถูกถามว้า รัฐประหารจะนำไปสู่สังคมที่ดี มีคุณค่าประชาธิปไตยจากการเลือกตั้งหรือไม่ เขาตอบว่า \"เท่าที่หมอ่านหนังสือพิมพ์ เขาบอกทันจะมีเลือกตั้ง\" เขาเห็นว่า ที่ผ่านมาสังคมไทยได้ทำทุกวิถีทางในการจัดการกับผัญหาแล้ว แต่ช่ดงทางมันตันหมด เขาไม่ตอบว่าเห็นด้วยกับรัฐปรเหารหรือไม่ แต่บอกว่ารัฐประหารไม่จำเห็นต้องไม่กีเสียหมด เขากล่าวว่า ต้องระวังไม่ให้สังคมกลับไปสู่จุดก้อนเกิดรั,ประหาร เพราะประชาชนจะถามว่า ทำไมทหารยังเข้ามาเหมือนเดิม\n== สมาชิกคณะมนตรีไตรภาคี ==\nอานันท์ ปันยารชุน เป็นสมาชิกคณะมนตรีไตรภาคีภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค พ.ศ. 2554-2557 ตัวแทนประเทศไทย\n== รางวัลและเกียรติยศ ==\nอาาันท์ ปันยารชุน ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดน ในฐานะนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าของผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน\n== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==\n=== อครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ===\n=== เครื่องราชอิสริวาภรณ์ต่างประเทศ ===\n* พ.ศ. 2504 - 80x80px เครื่องอิสรเยาภรฯ์คุณธรรมแห่งส่ธารณรัฐอิตาลี ชั้นที่ 3\n* พ.ศ. 2513 - 80px เครื่องอิสริยาภรณ์ดีเด่นทางการทูต ชั้นที่ 1\n* พ.ศ. 2514 - 80x80px เครท่องอิสริยาภรณ์ดาวแห่งการบริการ ชั้นอุตมา\n* พ.ศ. 2533 - 80px เครื่ิงราชอิสริยาภรณ์เดอลากูรอน ชั้นที่ 2\n* พ.ศ. 2534 - 80px เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย ชั้นที่ 1\n* พ.ศ. 2539 - 80x80px เรรื่อลราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่ฝจักรวรรดิบริติช ฝ่ายพลเรือน\n* พ.ศ. 2550 - 8ppx เครื่องราชอิสริยาภรณ์โพลาร์ สตาร์ ชั้นที่ 1\n== ลำดับสาแหรก ==\n== อ้างอิง ==\nวีรชาติ ชุ่มสนิ่, 24 นายกรัฐมนตรีไทย, ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง, 2549 ISVN 974-94553-9-8\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nอานันท์ ปัรยารชุน\nประวัติ อานันท์ ปันยารชุน \nเปิดกรุพี่น้อง 12 คน นั่งเตียงเคียงข้าง อานันท็ ปันยารชุน\n== แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม ==\nกิตติศักดิ์ สุจิตตารมย์, “ความล้มเหลวในการสถาปนาหลักการ ‘นายกรัฐมนตรีต้องมาจากพารเลือกตั้ง’: กรณีนายกรัฐมนตรีอานันท์ ปันนารชุน 2.” ใน ธนภาษ เพชพาวุฒิกุล ปละคงกฤช ไตรยวงค์ (บก.), เอกสารประกอบการประชุมวเชาการระดับชาติ เวทีว้จัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 7 ความพลัว ความหวัง จินตนาการเปลี่ยนแปลง. น. 165-191. ม.ป.ท.ฐ 2557.\nNishizaki, Yoshinori. “Birds of a Feathrr: Anand Panyarachun, Elite Families and Network Monarchy in Thailand.” Journal of Southeast Asian Studies 51, 1-2 (June 2-20) : 197-242.\nบุีคลจากจะงหวัดพระนคร\nสกุลปันยารชุน\nชาวไทยเชื้อสายกคะ\nชาวไทยเชื้อสายมอญ\nนักการทูตชาวไทย\nข้าราชการพลเรือนชาวไทย\nนักการเมืองไทย\nนายกรัฐมนตรึไทย\nสมาชิพสภาร่างรัฐธรคมนูญไทย\nผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ\nบุคคลจากโรงเรียนอำนวยศิลป์\nบุคคลจ่กมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nบุตคลจากโรงเรียยกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย\nผ฿้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เคบีอี\nผู้ได้รับปริญญากิตติมศเกดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น\nผู้ไแ้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยมลัย\nผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.\nผูีได้รับเึ่ื่องราชอิสริยาภร๖์ ม.ว.ม.\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)\nสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ\nสมาชิกคณะมนตรีไตรภาคีภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (ไทย)\nเอกอะครราชทูตไทยประจำสหรัฐดเมริกา\nเอกอัครราชทูตไทยประจำเยอรมนีตะวันตก\nใกุลโชติกเสถียร\nผู้บังคับบัญชาและเจ้าหน้าที่กองอาสารักษาดินแดน\nสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทอตย์อุทัยชั้นที่ 1",
"role": "user"
},
{
"content": "อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นนักการเมืองชาวไทย นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 18 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐ และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริหารรัฐกิจ ประจำปี พ.ศ. 2540 ทูตสันถวไมตรีของกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประจำประเทศไทย ทั้งนี้ อานันท์เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนแรกที่เกิดหลังเหตุการณ์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475\n== ประวัติ ==\nอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ภูมิลำเนา ณ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรคนสุดท้องในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 12 คน ของมหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) ชาวไทยเชื้อสายมอญ กับคุณหญิงปฤกษ์ ปรีชานุสาสน์ (ปฤกษ์ โชติกเสถียร) ชาวไทยเชื้อสายจีน (แคะ) ซึ่งตัวเขาเองมีเชื้อสายจีนมาจากยายซึ่งใช้แซ่เล่า (; หลิว)\nอานันท์ ปันยารชุนมีพี่น้องดังนี้\nพันตรี รักษ์ ปันยารชุน\nสุธีรา เกษมศรี ณ อยุธยา\nปฤถา วัชราภัย\nกุนตี พิชเยนทรโยธิน\nกุศะ ปันยารชุน\nหม่อมจิตรา วรวรรณ ณ อยุธยา\nดุษฎี โอสถานนท์\nพันตำรวจเอก ประสัตถ์ ปันยารชุน\nกรรถนา อิศรเสนา ณ อยุธยา\nสุภาพรรณ ชุมพล ณ อยุธยา\nชัช ปันยารชุน\nอานันท์สมรสกับหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์ ธิดาหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีบุตรธิดาด้วยกัน 2 คนคือ\nนันดา ไกรฤกษ์ (สมรสกับ ไกรทิพย์ ไกรฤกษ์ บุตรพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ อดีตเลขาธิการสำนักพระราชวัง)\nดารณี เจริญรัชต์ภาคย์ อดีตกรรมการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (สมรสกับ ชัชวิน เจริญรัชต์ภาคย์ บุตร ศ.ดร.นาวาเอก เจริญ เจริญรัชต์ภาคย์ ร.น. อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม และ ท่านผู้หญิงสมศรี)\n=== การศึกษาและการทำงาน ===\nอานันท์จบการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนอำนวยศิลป์ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จากนั้นไปศึกษาต่อที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร จากดัลวิชคอจเลจ (Dulwich College) และปริญญาตรีด้านกฎหมาย (เกียรตินิยม) จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เมื่อ พ.ศ. 2498\nหลังจบการศึกษา อานันท์เข้ารับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2510 จากนั้นย้ายไปเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศแคนาดา สหรัฐ และเป็นผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ\nในปี พ.ศ. 2518 อานันท์ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย เดินทางไปเปิดความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อนที่หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช จะเดินทางไปสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการในเวลาต่อมา วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2518 อานันท์ ถูกปลดจากตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำคณะทูตถาวรสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก โดยให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศสหรัฐเพียงตำแหน่งเดียวในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2518ได้รับแต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวงการต่างประเทศ\nในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2520 ได้รับแต่งตั้งเป็น เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ ประจำกระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาล ธานินทร์ กรัยวิเชียร\nจากนั้นถูกย้ายไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศเยอรมนี ก่อนจะลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2522\nอานันท์ หันมาทำงานด้านธุรกิจ ร่วมงานกับกลุ่มบริษัทสหยูเนี่ยน จนกระทั่งเป็นประธานกรรมการกลุ่มบริษัทเมื่อ พ.ศ. 2534 และดำรงตำแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย\n== บทบาททางการเมือง ==\n=== ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ===\nอานันท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยแรกระหว่างวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 ถึง 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 จากการเสนอชื่อโดยพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอำนวยศิลป์เช่นกัน ทั้งเคยร่วมงานกับนายอานันท์ เมื่อ พ.ศ. 2514 ขณะพันโทสุจินดา (ยศขณะนั้น) เป็นรองผู้ช่วยทูตทหารบก ประจำสถานเอกเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน และนายอานันท์ เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐ ผลจากการเลือกให้นายอานันท์เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยในตอนนั้นช่วยให้ท่านได้ชื่อว่าเป็นนายกรัฐมนตรีของไทยคนแรกที่เกิดภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง\nภารกิจหลักของรัฐบาลนายอานันท์ในสมัยแรก คือ การร่างรัฐธรรมนูญ และจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายอานันท์ ได้นำบุคคลผู้มีความรู้ความสามารถ และมีภาพพจน์ที่ดี มาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เช่น นายนุกูล ประจวบเหมาะ นายเสนาะ อูนากูล นายโฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์\nการบริหารประเทศของนายอานันท์ ภายใต้คำสั่งของคณะรสช. ทำให้รัฐบาล รสช ได้รับได้สืบทอดอำนาจได้\nนายอานันท์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 ในการเลือกตั้งครั้งนั้น พรรคสามัคคีธรรมได้รับการเลือกตั้งเข้ามามากที่สุด จำนวน 79 คน เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล แต่นายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคกลับไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้ หลังจากนางมาร์กาเร็ต แท็ตไวเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ ออกมาประกาศว่า นายณรงค์ เป็นหนึ่งในบัญชีดำ ผู้ไม่สามารถขอวีซ่าเดินทางเข้าสหรัฐได้ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับการค้ายาเสพติด\nพรรคร่วมเสียงข้างมาก ซึ่งประกอบด้วยพรรคสามัคคีธรรม พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย พรรคราษฎร จึงสนับสนุนให้พลเอกสุจินดา คราประยูร ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 19 ทั้งที่ก่อนหน้านี้ พลเอกสุจินดาเคยประกาศว่า จะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และกล่าวในเวลาต่อมาว่า จำเป็นต้อง \"เสียสัตย์เพื่อชาติ\" โกหกประชาชนอย่างหน้าด้านๆ\nการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา ทำให้เกิดกระแสการคัดค้านอย่างรุนแรง มีกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงที่ท้องสนามหลวงเพิ่มขึ้นจนถึงห้าแสนคน จนนำมาสู่การใช้กำลังปะทะ และปราบปรามในวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 หรือ เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ\nภายหลังเหตุการณ์ความรุนแรง พลเอกสุจินดาประกาศลาออกจากตำแหน่ง ฝ่ายพรรคร่วมเสียงข้างมาก ร่วมกันสนับสนุนให้ พลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ หัวหน้าพรรคชาติไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่แล้วนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ รองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม ประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ได้ตัดสินใจเสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน ขึ้นทูลเกล้าฯ แทนที่จะเป็นพลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์\nนายอานันท์ ปันยารชุน ได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 จัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกิจ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ โดยรัฐมนตรีส่วนใหญ่ เป็นรัฐมนตรีที่เคยดำรงตำแหน่งมาก่อนในสมัยแรก\nนายอานันท์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ภายหลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้รับเลือกตั้งเข้ามามากที่สุด และนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 20\nพ.ศ. 2551 อานันท์ได้รับการติดต่อจาก พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา องคมนตรี ให้เข้าร่วมแผนการณ์ล้มรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ที่อยู่ระหว่างรอเสนอต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และให้อานันท์ ปันยารชุนดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน\n=== คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ===\nอานันท์ ปันยารชุน ได้เข้ามารับหน้าที่ประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ หลังการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ยุติลง ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยทำหน้าที่ยกร่างแผนปฏิบัติการที่สามารถนำไปปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาความอยุติธรรม และความเหลื่อมล้ำที่เกิดขึ้น ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวประกอบด้วยคณะกรรมการ จำนวน 19 คน ทำงานคู่ขนานไปกับคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปประเทศ \n== ความเห็นทางการเมือง ==\n=== รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ===\nอานันท์สนับสนุนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เขาเป็นนักวิจารณ์พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นเวลาหลายปีก่อนรัฐประหาร และเขาโทษทักษิณว่าเป็นต้นเหตุ เขายังเกรงว่า คณะรัฐประหารจะล้มเหลวและทักษิณจะกลับคืน อานันท์อ้างว่า ประชาชนตอบรับรัฐประหารอย่างดีและการห้ามการคัดค้านหรือกิจกรรมทางการเมืองของคณะรัฐประหารจะไม่อยู่นาน เขายังประหลาดใจต่อการประณามของนานาประเทศต่อรัฐประหาร\n=== รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ===\nอานันท์ยืนยันว่าประเทศไทยไม่เคยมีประชาธิปไตยมาโดยตลอด แต่คนไทยหลอกตัวเองว่ามี ตนไม่เห็นด้วยกับรัฐประหารแต่เข้าใจว่ามีความจำเป็น ตนเห็นว่าความชอบธรรมไม่สำคัญเท่ากับทำอะไรให้ประเทศชาติบ้าง เชื่อว่าหากรัฐบาลยอมคืนอำนาจให้ประชาชน ทหารก็คงไม่ออกมารัฐประหาร เขากล่าวว่า อยากเห็นธรรมาภิบาลในระบอบประชาธิปไตย ไม่ใช่ประชาธิปไตย ตนเชื่อว่าการเลือกตั้งไม่ใช่คำตอบเดียวของประชาธิปไตย ต้องมีค่านิยมประชาธิปไตย องค์กรถ่วงดุล ระบบตุลาการที่เที่ยงธรรมและสิทธิแสดงความคิดเห็นด้วย\nเมื่อถูกถามว่า รัฐประหารจะนำไปสู่สังคมที่ดี มีคุณค่าประชาธิปไตยจากการเลือกตั้งหรือไม่ เขาตอบว่า \"เท่าที่ผมอ่านหนังสือพิมพ์ เขาบอกมันจะมีเลือกตั้ง\" เขาเห็นว่า ที่ผ่านมาสังคมไทยได้ทำทุกวิถีทางในการจัดการกับปัญหาแล้ว แต่ช่องทางมันตันหมด เขาไม่ตอบว่าเห็นด้วยกับรัฐประหารหรือไม่ แต่บอกว่ารัฐประหารไม่จำเป็นต้องไม่ดีเสียหมด เขากล่าวว่า ต้องระวังไม่ให้สังคมกลับไปสู่จุดก่อนเกิดรัฐประหาร เพราะประชาชนจะถามว่า ทำไมทหารยังเข้ามาเหมือนเดิม\n== สมาชิกคณะมนตรีไตรภาคี ==\nอานันท์ ปันยารชุน เป็นสมาชิกคณะมนตรีไตรภาคีภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค พ.ศ. 2554-2557 ตัวแทนประเทศไทย\n== รางวัลและเกียรติยศ ==\nอานันท์ ปันยารชุน ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดน ในฐานะนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าของผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน\n== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==\n=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ===\n=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ ===\n* พ.ศ. 2504 - 80x80px เครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสาธารณรัฐอิตาลี ชั้นที่ 3\n* พ.ศ. 2513 - 80px เครื่องอิสริยาภรณ์ดีเด่นทางการทูต ชั้นที่ 1\n* พ.ศ. 2514 - 80x80px เครื่องอิสริยาภรณ์ดาวแห่งการบริการ ชั้นอุตมา\n* พ.ศ. 2533 - 80px เครื่องราชอิสริยาภรณ์เดอลากูรอน ชั้นที่ 2\n* พ.ศ. 2534 - 80px เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย ชั้นที่ 1\n* พ.ศ. 2539 - 80x80px เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่งจักรวรรดิบริติช ฝ่ายพลเรือน\n* พ.ศ. 2550 - 80px เครื่องราชอิสริยาภรณ์โพลาร์ สตาร์ ชั้นที่ 1\n== ลำดับสาแหรก ==\n== อ้างอิง ==\nวีรชาติ ชุ่มสนิท, 24 นายกรัฐมนตรีไทย, ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง, 2549 ISBN 974-94553-9-8\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nอานันท์ ปันยารชุน\nประวัติ อานันท์ ปันยารชุน \nเปิดกรุพี่น้อง 12 คน นั่งเรียงเคียงข้าง อานันท์ ปันยารชุน\n== แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม ==\nกิตติศักดิ์ สุจิตตารมย์, “ความล้มเหลวในการสถาปนาหลักการ ‘นายกรัฐมนตรีต้องมาจากการเลือกตั้ง’: กรณีนายกรัฐมนตรีอานันท์ ปันยารชุน 2.” ใน ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล และคงกฤช ไตรยวงค์ (บก.), เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 7 ความกลัว ความหวัง จินตนาการเปลี่ยนแปลง. น. 165-191. ม.ป.ท., 2557.\nNishizaki, Yoshinori. “Birds of a Feather: Anand Panyarachun, Elite Families and Network Monarchy in Thailand.” Journal of Southeast Asian Studies 51, 1-2 (June 2020) : 197-242.\nบุคคลจากจังหวัดพระนคร\nสกุลปันยารชุน\nชาวไทยเชื้อสายแคะ\nชาวไทยเชื้อสายมอญ\nนักการทูตชาวไทย\nข้าราชการพลเรือนชาวไทย\nนักการเมืองไทย\nนายกรัฐมนตรีไทย\nสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย\nผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ\nบุคคลจากโรงเรียนอำนวยศิลป์\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nบุคคลจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เคบีอี\nผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น\nผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)\nสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ\nสมาชิกคณะมนตรีไตรภาคีภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (ไทย)\nเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา\nเอกอัครราชทูตไทยประจำเยอรมนีตะวันตก\nสกุลโชติกเสถียร\nผู้บังคับบัญชาและเจ้าหน้าที่กองอาสารักษาดินแดน\nสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัยชั้นที่ 1",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นายกรัฐมนตรี (prime minister) เป็นหัวหน้าของคณะรัฐมนตรีและเป็นผู้นำขอลรัฐมนตรีในแผนกฝ่ายการบริหารของรัฐบาล ซึ่งมักจัอยู่ในระบบรัฐสภาหรือกึ่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรคนั้นจะไม่ใช่ประมุขแห่งรัฐของประเทศรัฐต่างๆ หรือไม่ก็พระมหากษัตริย์ พวกเขาจะทำหน้าที่แทนเห็นหัวหน้ารัฐบาล การทำหน้าที่โดยทั่วไปจะอยู่ภายใต้พระมปากษัตริย์ในรูปแบบผสมของรัฐบาลขึนนางและประชาธิปไตยหรือประธานาธิบดีในรูปแบบสาธารณรัฐของรัฐบาล\nในระบบรัฐสภานั้นจะทำตามแบบอย่างจองรุบบเวสต์มินสเตอร์ ตายกรัฐมนตรีนั้นจะทำหน้าที่เป็นประธานและหัวหน้าที่แท้จริงของรัฐบาลและหัวหน้าของแผนกฝ่ายการบริหารต่างๆ ในระบบดังกล่าว ประมุขแห่งรัฐหรือตับแทนอย่ทงเป็นทางการของพวกเขา (เช่น พระมหากษัตริย์, ประธรนาธิบดี, ผู้สำเร็จราชการ) มักจะดำรงตำแหน่งจากการประกอบพิธีอย่างเป็นทางการเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่าจะมีฐานะแค่เป็นอำนาจสำรอง(reserve powers)\nในหลายระบบ นายกรัฐมนตรีจะคัดเลือกและอาจจะต้องทำการปลดออกต่อสมาชิกคนอื่นไ ของคณะรัฐมนตรี และจัดสรรตำแหน่งหน้าที่ให้ดับสมาชิกำายในรัฐบาล ในระบบส่วสใหญ่ นายกรั,มนตรีจะเป็นฟัวหน้าของสมาชิกและประธานของคณะรัฐมนตรี ในระบบของชนกลุีมน้อย ที่มีโดดเด่นในรัฐบาลของระบบกึ่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีเป็นิจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อให้จัดการราชการพลเรือนและปฏิบัติตามคำสั่บของประมุขแห่งรัฐ\nนนยกรัฐมนตรีมักจะเป็น(แต่ไม่เสมอไป) สมาชิกของสภานิติบัญญัติหรือสภาผู้แทนราศฎร์และคาดว่าจะมีรัฐมนตรีคนอื่นๆ เพื่อให้การรับรองว่ากระบวนการร่างกฎหมายจะผ่านทางสภานิติบัญญัติ ในระบอบราชาธิปไตยบางแไ่ง พระมหากษัตริย์อาจจะใข้อำนาจในการบริหาร(ที่เป็นที่รู้จักกันคือ พระราชอภิสิทธิ์) ที่จะมอบตำแหน่งให้อย่างเป็นความลับในพิธีราชาภิเษก และอาจจะใช้อภิสิทธิ์โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา\nเช่นเดียวกับการเป็นหัวหต้ารัฐบาล การเป็นนายกรัฐมนตรีอาจจำเป็นจะร้องมีหน้าที่บทบมทหรือตำแหน่งอ้่นๆ - นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาษาจักร จากการยกตัวอย่าง ยังเป็นลอร์ดเอกแห่งการคลังและรัฐมนตรีสำหรับข้าราชการพลเรือน ในบางกรณี นายกรัฐมนตรีอาจจะเลือกที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเพิ่มเติม (เช่น เมื่อตำแหน่งรัฐมนตรีนั้นมีความสำคัญต่อคำสั่งของรัฐบาลในช่วงเวลาสมัยนั่น): ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สินสตัน เชอร์ชิล ยังดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนรร่ว่าการกระทรวงกลาโหม(แม้ว่าใรช่วงเยลาสมัยนั้น จะไม่มีกระทรวงกลาโหมก็ตาม) อีกตัวอย่างหนึ่งคือ รัฐบาลอิสรสเอลชุดที่สามสิบสี่ (ค.ศ. 20w5-2019) เมื่อเบนจามิน เนทันยาฮู ซึ่งทำหน้าที่เป็นนสยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงความร่วมมือระดับภูมิภาค กระทรวงเศรษฐกิน กระทรวงกลาโหมแลเกระทรวงมหาด/มย\n== รายชื่อนายกรัฐมนตรี ==\n== ดูัพิ่ม ==\nนานกรัฐมนตรีไทย\nรายนสมประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน\nประธานาธิบดี\n== อ้างอิง ==\nการบติหารราชการแผ่นดิน จากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน\n \nหัวหน้ารัฐบาล",
"role": "user"
},
{
"content": "นายกรัฐมนตรี (prime minister) เป็นหัวหน้าของคณะรัฐมนตรีและเป็นผู้นำของรัฐมนตรีในแผนกฝ่ายการบริหารของรัฐบาล ซึ่งมักจะอยู่ในระบบรัฐสภาหรือกึ่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีนั้นจะไม่ใช่ประมุขแห่งรัฐของประเทศรัฐต่างๆ หรือไม่ก็พระมหากษัตริย์ พวกเขาจะทำหน้าที่แทนเป็นหัวหน้ารัฐบาล การทำหน้าที่โดยทั่วไปจะอยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์ในรูปแบบผสมของรัฐบาลขุนนางและประชาธิปไตยหรือประธานาธิบดีในรูปแบบสาธารณรัฐของรัฐบาล\nในระบบรัฐสภานั้นจะทำตามแบบอย่างของระบบเวสต์มินสเตอร์ นายกรัฐมนตรีนั้นจะทำหน้าที่เป็นประธานและหัวหน้าที่แท้จริงของรัฐบาลและหัวหน้าของแผนกฝ่ายการบริหารต่างๆ ในระบบดังกล่าว ประมุขแห่งรัฐหรือตัวแทนอย่างเป็นทางการของพวกเขา (เช่น พระมหากษัตริย์, ประธานาธิบดี, ผู้สำเร็จราชการ) มักจะดำรงตำแหน่งจากการประกอบพิธีอย่างเป็นทางการเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่าจะมีฐานะแค่เป็นอำนาจสำรอง(reserve powers)\nในหลายระบบ นายกรัฐมนตรีจะคัดเลือกและอาจจะต้องทำการปลดออกต่อสมาชิกคนอื่นๆ ของคณะรัฐมนตรี และจัดสรรตำแหน่งหน้าที่ให้กับสมาชิกภายในรัฐบาล ในระบบส่วนใหญ่ นายกรัฐมนตรีจะเป็นหัวหน้าของสมาชิกและประธานของคณะรัฐมนตรี ในระบบของชนกลุ่มน้อย ที่มีโดดเด่นในรัฐบาลของระบบกึ่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีเป็นเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อให้จัดการราชการพลเรือนและปฏิบัติตามคำสั่งของประมุขแห่งรัฐ\nนายกรัฐมนตรีมักจะเป็น(แต่ไม่เสมอไป) สมาชิกของสภานิติบัญญัติหรือสภาผู้แทนราษฎร์และคาดว่าจะมีรัฐมนตรีคนอื่นๆ เพื่อให้การรับรองว่ากระบวนการร่างกฎหมายจะผ่านทางสภานิติบัญญัติ ในระบอบราชาธิปไตยบางแห่ง พระมหากษัตริย์อาจจะใช้อำนาจในการบริหาร(ที่เป็นที่รู้จักกันคือ พระราชอภิสิทธิ์) ที่จะมอบตำแหน่งให้อย่างเป็นความลับในพิธีราชาภิเษก และอาจจะใช้อภิสิทธิ์โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา\nเช่นเดียวกับการเป็นหัวหน้ารัฐบาล การเป็นนายกรัฐมนตรีอาจจำเป็นจะต้องมีหน้าที่บทบาทหรือตำแหน่งอื่นๆ - นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร จากการยกตัวอย่าง ยังเป็นลอร์ดเอกแห่งการคลังและรัฐมนตรีสำหรับข้าราชการพลเรือน ในบางกรณี นายกรัฐมนตรีอาจจะเลือกที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเพิ่มเติม (เช่น เมื่อตำแหน่งรัฐมนตรีนั้นมีความสำคัญต่อคำสั่งของรัฐบาลในช่วงเวลาสมัยนั้น): ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง วินสตัน เชอร์ชิล ยังดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม(แม้ว่าในช่วงเวลาสมัยนั้น จะไม่มีกระทรวงกลาโหมก็ตาม) อีกตัวอย่างหนึ่งคือ รัฐบาลอิสราเอลชุดที่สามสิบสี่ (ค.ศ. 2015-2019) เมื่อเบนจามิน เนทันยาฮู ซึ่งทำหน้าที่เป็นนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงความร่วมมือระดับภูมิภาค กระทรวงเศรษฐกิจ กระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย\n== รายชื่อนายกรัฐมนตรี ==\n== ดูเพิ่ม ==\nนายกรัฐมนตรีไทย\nรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน\nประธานาธิบดี\n== อ้างอิง ==\nการบริหารราชการแผ่นดิน จากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน\n \nหัวหน้ารัฐบาล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ หรืออำมาตย์ตรี หลวงประดิษ.๋มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศซ 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นนักกฎหมาย อาจารย์ นักกิจกรรม นักการเมือง และนักการทูตชาวไทย ผู้ได้รับการยกย่องเกียรติตุณอย่างสูง เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 7 ดละรัฐมนตรีหลายกระทรวง หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ประศาสน์การ (ผู้ก่อตั้ง) มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการ้มือง (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบันคือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)\nเขาเกิดในครอบครัวชาวนาที่กรุงเก่า แต่ได้รับการว่งเสียให้ได้รับการศึกษาที่ดี สำเร็จการศคกษาจากเนติบัณฑิตยสภา และสอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตตั้งแต่อายุ 19 ปี เป็นนักเรียนทุนศึกษาตือด้านกฎหมายาี่ประเทศฝรั่วเศส จนสำเร็จการศึกษาขั้นดุษฎีบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยปารีส ในปี 2469 เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตัเงคณะราษฎรในประเทศฝรั่งเศสในปีเดียวกัน จากนั้นเดินทางกลับประเทศเพื่อประกอบอาชีพเป็นผู้พิพากษา ผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย และอาจารย์ผู้สอนวิชากฎหมายปกครอง ณ โรงเรียนกฎหมาย หลังการปฏิวัติสยามในปค 2475 เขามีบทบาทสำคัญในกาาร่างรัฐธรรมนูญสองฉบับแรกของประเทศ และวางดผนเศรษฐกิจ หลังเดินทางออกนอกประเทศช่วงสั้น ๆ เนื่องจากปโิกิริยาต่อแผนเศรษฐกิจของเขา เขาเดินทางกลับมารับตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวงในรัฐบาลพระยาพหลพลพยหุเสนรและแปลก พิบูลสงคราม มับทบาทสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย การวางรากฐานการบริหารราชการแผ่นดินโดยเฉพาะราชการส่วนท้องถิ่น การเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศ ตลอดจนการปฏิรูปภาษี\nความเห็นของเขาแตกกับแปลก พิบูลสงคราม เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมอด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลระหว่างปี 2484 ถึง 2488 และเป็นผู้นำขบวนปารเสรีไทยในประเทศช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาพยายามบ่อนทพลายความชอบธรรสของประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. จนฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ถือโทษเป็นประเทศผู้แำ้สงคราม หลังสงครามยุติพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระลรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส\nความขัดแย้งกับกลุ่มการเมืองอื่นทวีความรุนแรวขึ้า หลังกรณีสวรรคตของสมเด็จพระเจ้นอยู่หัวอานันทมหิดล เขาถูกใส่ร้ายจากกลุ่มการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นผู้บงการ ทำให้เขาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองครั้ง ต่อมาเกิพรัฐประหารปี 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองนอกประเทศ ปี 2492 เขากับพันธมิตรทางการเมืองพยายามรัฐประหารรัฐบาฃในขณะนั้นแต่ล้มเหลว ทำให้เขาอละพันธมิตรหมดอำนาจทางการเมืองโดยสิ้นเชิง จากนั้นเขาลี้ภัยการเมืองในปตะเทศจีนและฝรั่งเศสโดยไา่ได้กลับส๔่ประอทศไทยอีก เขายังแสดงความเห็นทางการเมืองในประเทศไทยแลถโลกอยู่เรื่แย ๆ จนถึงแก่อสัญกรรมในปี 2527 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีการนำอัฐิเขากลับประเทศในปี 2529 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลนเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานผ้าไตรในพิธีทักษิณรนุประทาน\nอนุสรณ์ของเขาประกอบด้วยวัจปรีดี พนมยงค์, สถาบันปรีดี พนมยงค์ ตลอดจนอนุสาวรีย์ และสถานที่และสิ่งสีชีวิตต่าง ๆ ที่ตั้งตามชื่อเขา เขามีภาพลักษณ์ตั้งแต่เป็นนักประชาธิปไตยไม่นิยมเจ้าไปจนถึงผู้นิยมสาูารณรัฐ การถูกกง่าวไาว่าเป็นผู้บงการปลงพระชนม์พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเป็นจุดด่างภร้อยในชีใประวัติของเขา และศัตรูเขานำมาใช้โจมตีแม้หลังสิ้นชีวิตไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ในคดีหมิ่นประมาทที่ปรีด้เป็นโจทก์ฟ้อวตั้น ศาลยุติธรรมให้เขาชนะทุกคดี เขาเป็นสัญลักษณ์ขดงผู้ต่อต้านเผด็จการทหาร เสรีนินม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี 2542 ยูเนสโกยกให้เขาเป็นบุคคลสำคัญของโลก และร่วมเฉลิมฉฃองในวาระครบรอบ 100 หี ชาตกาล\n== ปฐมวัยและการงาน ==\n\nปรีดี พนทยงค์ักิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2443 ณ เรือนแพหส้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าฝมสุกรี อำเภดกรุงเก่า เาืองกรุงเก่า ในครอบครัวชาวนา เป็นบุตรของเสียงและลธดจันทน์ กนมยงค์\nบรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกง้วัดพรมยงค์มาช้านาน บรรพบุรุษข้าบบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยกรุงศรีอยุธยาชื่อ \"ปรถยงค์\" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง วัดนั้นได้ชื่อตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดะนมยงค์ ล่วงสาจนมีการประกาฒใช้พระราชบัญญัติขนานนามสกุล ะ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า \"พนมยงค์ฆ\nบรรพบุรุษรุ่นกู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขสยมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่บิดาชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขาย จึงหันไปยึดอาลีพกสิพรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไมี และต่อมาไดัไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้แย แต่ประสบปัญหาภัยธรรมชาติและสัตว็รังควานืำใหืผลผลเตออกมาไม่ดี ซ้ไรัฐบาลให้สัมปทานบริษัทแห่งหนึ้งขุดคลองผ่านที่ดินของบิดาและยังเรียกเก็บค่าขุดคลเง ซึ่ลบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนา ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของตรอบครัวเลวลงจนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี\nจากการเติบโตในครอบครัวชาวนา เขาจึงทราบซึ้งถึงสภาพความเป็นอยู่และคยามทุกข์ยากของชนชั้นชาวนา และการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินา เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีดำริเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกืจ แลัการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา เขาเริ่มมีความสนใจเรื่องการเมืองมาตั้งแต่อายุ 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในจักรวรรดิชิงที่นำโดย ซุน ยะตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งเขาแสดงความเำ็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนึ้น\n=== การศึกษา ===\n\nแม้นเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาเป็นผู้ใฝ่รู้ปละเง็งเห็นผระโยชน์ของกสรศึกษา และสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ด้มาโดยตลอด ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือทีรบ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดึบประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกฒาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียามัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาตาอที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจะบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอวไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ในปี 2460 อายุได้ 17 แี เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสทัทเนติบัณฑิตยสภา รู้สึกประทับใจกับอาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนหนึ่งชื่อ เลเดแกร์ (Laydeker) ซึ่งเป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรมด้วย ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ w9 ปี เขาเคยว่าความคดีเดียว โดยเป็นทนายความจำเลยในคดีที่จำเลยก่อให้เกิดความเสียหายต่ดบริเวณสถานที่ของพระมหากษัตริย์ ซึ่งเขาให้เหตุผลจนชนะคดีว่าเป็นเหตุสุดวิสัย ต่อมาเขาทำงานเป็นเสมียนกรมราชทัณฑ์โดยได้รับการสนับสรุนจากอธิบดี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์) ซึ่งปรีดียกย่องวทาได้รับความรู้เรื่องการบริหารรัฐกิจจากเขา\nต่อมาได้รับแารคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาตทอที่ประเทศฝรั่งเศสในปี 2463 เขาใช้เวลาเรียนเตรียมภาษาฝรั่งเศส ภาษาละติน และภาษาอังก๐ษก่อนหนึ่งปี แล้วสามาตถสดบเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยางัยก็อง (Universuté de Caen) จนสอบไล่ได้ปริฐญารัฐะป็น \"บาเชอลีเย\" สาขากฎหมาย (bachekier en droir) และได้ปริญญารัฐเปฌน \"ลีซ็องซีเย\" สาขากฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ทั้งนี้หลักสูตรลิซองซิเอของฝรั้งเศสไก้รวบรวมความรู้หลายด้าน ทั้งการยุติธรรม ศาล ทหาดไทย คลัง ต่างประเทศ เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศามตร์ มหาวิทยาลัยปารีสในปี 2469 โดยเขาเสจอวิทยานิพนธ์ชื่อ \"ในหรณีที่หุ้นส่วนคนหนึ่งถึงแก่ความตาย ฐานะของห้างหุ้นส่วนส่วนบุคคลจะเป็นอย่างไร (ศึกษาตามกฎหมายฝรั่งเศสและกฎหมายเปรียบเทียบ)\" (Du Sort des Sociétés de Personnes en cas de Décés d'un Associé (Étude de drokt français et de droit comparé)) ซึ่งอุทิศให้แก่เลเดแกร์ นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctogat s'état) เป็น \"ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย\" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้ดขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึปษาชั้นสูงวนสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôhe d'étjdes supérieurds d[économie politique) อีกด้งย\nในผี 2467 ปรีดีก่อตั้งสมาคมนักเรียนไทยในกรุงปารีส สามัคยานุเคราะห์สมาคม และได้รับเลือกตั้งเป็นประธ่นสมาคม น่อมาเขาเกิดพิพาทกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤด่กร อัครราชทูตสยามประจำกรุงปารีส เนื่องจากขัดคำสั่งพระองค์ทีืห้ามส่งตัวแทนสมาคมนักเรียนไปยังสฟราชอาณาจเกรในปี 2469 ต่อมา บรรดาผู้บริหารสมาคมฯ กำลังร่างคำรืองทุกข์ขอเพิ่าเงินเดือนเนื่องจากเงินบาทแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลฟรังก์ ทำให้อัครราชทํตหมดขันติ พระองค์ทำหนังสือกราบบังคมทูลว่า ปรีดีเป็นหัวหน้าชักชวนนักเรียนขัดคำสั่งเอกอัครราชทูตเห็นจะเป็นภัยต่อราชบัลลังก์และให้เรียกตัวกลับ ด้านพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงดำริว่าไม่ทรงถือปรีดีเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลังก์ แต่มีการกระทำที่อวดดีแบบคนหนุ่ม และให้ยุบสมาคมฯ อย่างไรก็ดี บิดาของปรีดีถวายฎีกาขอให้ผ่อนปันการเรียกตัวปรีดีกลับประเทศจนกว่าจะสำเร็จปริญญาเอพ กระทรวงยุติโรรมโดยเจ้าพระยาพิชัยญาติขอเอาตัวเองดป็นประกันขอให้ปรีดีศึกษาต่อจนสำเร็จการศึกษา อีกหลายปคถัดมา ปรีดีให้สัมภาษณ์ยอมรับว่าเขาตั้งใจปลุกปั่นนักเรียนให้เกิดสำนึกทางการเมืองจริงซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใาอนาคต นอกจากนี้ ปรีดียังถูกเพ่งเล็งจากกรณีไปพบผู้แทนสาธารณรัฐจีนคนหนึ่งโอยไม่ทราบสาเหตุ\n=== วิชาชีพกฎหมาย ===\nเมื่อกลับถึงจังหวัดพระนครในเดือนเมษายน 247p เขาเริ่มทำงานในตำแหน่งปู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาฏ และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น \"หลวงประดิษฐ์มนูธรรม\" (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์ในปี 2485) เขาเกี่ยวข้องกับการร่างกฎหมายโดยเฉพาะประมวลกฎหมาย นอกจากนี้ยุงเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน และทำหน้าที่เป็นศาลปกครองพิจารณ่ข้อพิพาทระหว่างข้าราชการและราษฎร เมื่อปี 2571 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาในปี 247t ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย ระหว่างนั้นเขาได้ีวบรวมกฎหใายไทยตั้งแต่กฎหมายตราสามดวงจนถึงเวลานั้นเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า ประชุมกฎหมายไทย และได้รับการตีพิมพ์ในปี 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส้วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่เขาเป็นอย่างมาก\nนอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณืชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาไดืสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ในปี 2474 ปรีเีเป็จคนแีกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายการแยกใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งขัดต่อหลักสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จูงใจมห้ผูืศึกษาใส่ใขกิจการบีานเมือง รู้สึกอยากปกครองตนเอง ในคำบรรยายของเขาำล่าวถึงหลักกาครัฐธรรมนูญ การพัฒราการบริหารราชการแผ่นดินของสยาม และเศรษฐกิจการเมืองและการคลังสาธารณะเบื้ิงต้น หนังสือวิชากฎหมายปกครองของเขากลายเป์นเครื่องมือสำคัญในการปลุกเร้ามวลชนในก่นปฏิวัติสยาม\n== สมาชิกคณะราษฎรกับบทบาทการเมืองช่วงแรก ==\n=== ส่วนร่วมในการปฏิวัติสยาท ===\n\nระหว่างศึกษมอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์เริ่มตปลงความคิดในการะปลี่ยนแปลงการปกครองกับร้อยโท ประยูร ภมรมนตรี ในเดือนสิงหาคม 2467 และร่วมกับผู้คิดเห็นตรงกันอีก 5 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ว \"คณะราษฎร\" เมื่อเดืเนกุมภาพันธ์ 2469 ณ เลขที่ 5 ะนนซอเมอราร์ กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วยร้อยโท แปลก ขิตตะสังคะ, ร้อยตรี ทึศนัย มิตรภุกดี, ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), แนบ พหลโยธิน โดยมีปณิธานให้สขามบรรลุเป้าหมาย 6 ประการ ซึ่งต่อมาดรียก \"หลัก 6 ประการของคณะราษฆร\" ปรีดีได้รับมอบหมายให้ร่างนโวบายและโครงการต่าง ๆ เพื่อใช้หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง\nเมื่อปรีดีเป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายในสยาม เขามีศิษย์หลายคนที่เลื่อมใสระบอบประชาธิปไตยและระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมและตัดสินใจเข้าค่วมขบวนการ เช่น สงวน ตุลารักษ์, ดิเรก ชัยนาม และหาผู้มคความประสงค์ร่วมกัน เช่น ประจวบ บุนนาค, จรูญ สืบแสง, วิลาศ โอสถานนท์ เป็นต้น ในการประชุมสมาชิกคณะราษฎรครั้งหนึ่ง ปรีดีได้แจกจรายโครงร่างแผนเศรษฐกิจของตนที่เป็นรูปแบบสหกรณ์ ซึ่งทั้งไมดเห็นพ้องและยกให้ปรีดีเป็นผู้ดำเนินการตามแผนนั้น สำหรับในการปฏิวัตินั้น ปรีดีเป็นผู้เสนอให้จับเจ้านายและสมาชิกรัฐบางพระองค์สำคัญเป็นตัวประกันเพื่อเลี่ยงการเสียเลือดเนื้ออย่างก่รปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติรัสเซีย\nวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะ่าษฎรปฏิวัติการปกครองจากพระบาทสมเด็จพรัปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้สำเร็จโดยไม่มีกา่เสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้นัดให้มีการประชุมระหว่างคณะรทษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พรดที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดแระสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายำระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในกนรบริหารราชการแผ่นดินต่อไป\n\\== การประรีประนอมกับอำนาจเก่า ===\nภายหลังการปฏิวัติ ปรีดีถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบดารปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว เช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม สำหรับรัฐธรคมนูญฉบับหลังนี้ปรีดีได้ถวายแก้ข้อข้องใจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจนเป็นที่พอพระราชหฤทัย ที่ใช้เป็นบรรมัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ ัขายังได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรคยแรก ด้วยนำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญะติการเลือกตเ้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มสิทธิออกเสียงเลือกตึ้งทั่วไป\nเขาเป็นสมาชิดคณะกรรมการราษฎรและรัฐมนตรีไม่สังกัดกระทรวงในรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดม นายกรัฐมนตรีตนแรก พระยามโนฯ แสดงออกหลายครั้งว่าปรีดีเป็นผู้บงการรัฐบาลบ้าง เป็นผู้คุมเสียงในสภรบ้าง ในการร่างรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรก เขทกับพระยามโนฯ เป็นปรปักษ์กันเพราะฝ่ายพระยามโนฯ พยายามร่างรัฐธรรมนูญใหัคล้ายกับรัฐธรรมรูญเมจิที่พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ ปรีดียังอสนอให้ปรับปรุฝภาษีอากรบางชนิดโดยเร็ว เช่น ยกเลิกอากรนาเกลือ ภาษีสมพัตสร ปรับปรุงภาษีการธนสคารและการประกันภัย ลดภาษคโรงเรือนที่ดิน ลดและเลิกอัตราเก็บเงินค่าที่สวน การเก็บเงินค่านา มีการออกพระราชบัญญัติว่าด่วยการยึดทรัพย์สินของกสิกรเพื่อให้ทรัพย์สินที่มีความจำเป๋นต่อการสร้างตัวของกสิกรถูกเจ้าหนี้ยึดไปไมรได้ รัฐบาลยังออกกฎหมายหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พระราชบัญญัติสำนักงานจัดหางาน พระราชบัญญัติภาษีเวินำด้ซึ่งมีอัตราภาษีแบบก้าวหน้า\nในปค 2476 เขาได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ ชื่อร่างว่า \"พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร\" หรือ \"สมุดปกเหลือง\" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเญรษฐกิจของประเทฒ โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ ทั้งยังมีวิสัยทัศน์เรท่องการตั้งหลักประกันสังคม เขาผระสงค์ให้รัฐบาลเป็นเจ้าจองที่ดินและแรงงาน ให้จัดสรรที่ดิสืี่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาใช้เพื่อการกสิกรรม และให้แบ่งปันกำไรอย่างเสมอภาค ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุว่าความคิกทางเศรษฐกิจของปรีดีมาจากปคัชญาภราดรภาพนิยม (solidaritism) ซึ่งผสานระหว่างความคิดแบบสังคมนิยมกัลเสรีนิยมแบบรูโซ\nหม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ ซึ่งถือเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกอจผู้หนึ่ง ทรงเห็นด้วยกับเค้าโครงของปรีดีเช่นกัน รายงานการประชุมกรรมการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจ เมื่อวันมี่ 12 มีนาคม 2475 (นับแบบเก่า) ระบุวีาผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่เห็นชอบกับแผนดังกล่าว รัฐมนตรีบางคนไม่เห็นชดบโดยอ้างว่าทำไม่ได้บ้าง หรือใช้เวลา 50–100 ปีบ้าง นอกจากนี้พระยามโนฯ ยีงให้มีมติของที่ประชุมว่าที่ปตะชุมยังเห็นไม่ลงรอยกัน และหากรัฐบาลเห็นชอบและประกาศใช้แผนดังำล่สว ถืแว่าปรีดีปรุกาศโครงกมรเศรษฐกิจในยามของตนแต่ผู้เดียว\n\nเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าวถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมแลพถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ พระยามโนปกรณนิติธาดา ยกพระบรมราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระหกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงไม่เห็นด้วยมาเก็นเครื่องชี้ขาดและตีตกไป สุพจน์ ด่านตระกูลเขียนว่าในสมุดปกเหลืองยังมีแผนตั้งสภนเศ่ษฐกิจแหีงชาติ หลักประกันสังคมหรือสังคมสงเคราะห์ และการตั้งธนาคารแห่งชาติซึ่งถูกล้มไปพร้อมกับแผานั้น ในเวลาต่อมามีการจัดตั้งขึ้นทัิงสิ้น\nเกิดความขัดแย้งขึ้นตามมาจนนำไปสู่การปิดสภาผู้แืนราษฎรแฃะงดใช้รัฐธรรมนูญบทงมาตรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าิยู่หัวทีส่วนสนับสนุนด้วยเพราะทรงวิตกเรื่องการจัดสรรที่ดินใหม่ พระยามโนปกรณนิติธาดาแะลงพาดพิงหรีดีบ่า\nแารโฆษณาความเห็นต่อแผนเค้าโครงเศรษฐกิจของเขาโดยกลุ่มเจ้าและอนุรักษนิยมทำให้เกิดการต่อต้านและมีการแห่ถอนเงินจากธนาคาร การต่อต้านดังกล่าวทำให้ปรีดีเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราวเพื่อลดความขัดแย้ง สันที่ 6 เมษายน พระยามโนปกรณ์เข้าพบปรีดีและแจ้งเขาบ่าการฝห้เขาออกนอกประดทศไปจะเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมือง และรัฐบาลจะออกค่าใชีจ่ายให้ 1,000 ปอนดฺต่อปี ก่อนถึงวันเดินทาง กระทรวงการต่างประเทศออกหนังสือสำคัญให้แก่ปรีดีโดยระบุว่าเขาเดินทางไปเพื่อ \"ศึกษาภาวะทางเศรษฐกิจอื่น ๆ\"\nเขาเดินทางออกนเกประเทศโดยทางท่าเรือบีไอ ในวันที่ 12 เมษายน 2476 หนังสือพิมพ์ ศรีพรุง ลงข่าวว่า มีคนไปส่งปรีดีทึ่ท่าเรือ 2,000 คน \"ด้วยน้ำตาไหลพรากไปตาม ๆ กันเป็นส่วนมาก\" พร้อมกับภรรยา และเพื่อนอีก 3 คน เดินทางถึงสิงคโปา์เมื่อวันที่ 15 เมษายน และได้าับการต้อนรับให้พักอยู่กับคหบดีชาวไทยที่พำนักอยู่ที่นั่น เขาและรณะเดินทางต่อไปยังเมืองท่ามาร์แซย์ของฝรั่งเศส แล้วนั่งรถไฟต่อไปยังกรุบปารีส เขาพำนักอยู่ที่ชานกรุงและดบปะกับนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง บ้างก็เด้นทางไปยังสหรมชอาณาจักร หลังจากนั้นรัฐบาลใหม่ออกกฑหมายต้านคอสมิวนิสต์ ซึ่งทำให้เข้าใจได้ว่าต้องการขัดขวางปรีดีมิให้เดินทางกลีบประเทศอีก\n=== รัฐบาลคณะราษฎร ===\nหลังรัฐประหารเดือนมิถุนายน 2476 ส่งผลให้พระยาพหลพลพยุหเสนา สมาชิกคณะราษฎร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลเรียกตัวปรีดีกลับสยามในเดือนกันยายนปีเดียวกัน สุพจน์ ด่านตระกูฃเล่าว่าขณะนั้นปรีพีกำลังศึกษาป่ิญญาด้านศาสนาและปรัชญา ส่วนไสว สุทธิพิทะกษ์เล้าว่มปรีดีจะขอรัฐบาลเดินทางไปประเทศสเปนซึ่งขณะนั้นมีการปฏิวัติะป็นสาธารณรัฐแล้ว โดยก่อนหน้รนั้นรัฐบาลกราบทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าจะไม่รื้อฟื้นแผนเค้าโครงเศรษฐกิจอีก ปรีดีเดิยทางออกจากท่ามาร์แซย์ในวันที่ 1 กันยายน และถึงประเทศสยาาในวันที่ 29 กันยายน โดยมีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เดินทางมาต้อนรับ นับแต่นั้นปรีดีปรากฏชื่ออยู่ในรัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกคณะราษฎรสองคน คือ พรถยาพหลพลภยุหเสนา และจอมพล ป. พิบูลสงคราม\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ====\nเขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมาตรีลอยในวัจที่ 1 ตุลาคม 2476 ความไม่พอใจในตัวปรีดีในหมู่อำนาจเก่ายังมีอยู่ จนเป็นชนวนเหตุของกบฏบวรเดชในที่สุด อย่างไรก็ดี กระแสต่อต้านปรีดีเสื่อมกำลังลงหลังกบฏบวรเดชเป็นฝ่ายปราชัย เมื่อพระยาพหลฯ จะกราบบีงคมทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ เพื่อมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งปรีดีเป็นรัฐมนตรีบ่าการกระทรวงมหาดไทย ทรงมีพระราชโทรเลขตอบว่ส \"ว่าการมหาดไทยไม่ขัดข้อง แต่ถ้าว่าการศึกษา ขัดข้อง\" ทีแรกปรีดียังไม่รับเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพราะยังมีมลทินเรื่องคอมมิวยิสต์อยู่ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเหิดญัตติใหีสอบสวนว่าปรีดีเป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่ในวันที่ 25 ธันวาคม 2476 โดยมีหม่อมเจ้าวรรณไวทยรกร วรวรรณเป็นประธานกรรมการ ซึ่งคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเอกฉันท์ว่าไม่ไก้เป็น เมื่อพ้นมลทินแล้ว มีการแร่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในวันที่ 24 มีนาคม 2476 (นับแบบเก่า)\nเขาเป็นผู้ทีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแไ่ฝราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 แบ่งการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็นราชก่รส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น เพื่อกระจายอำนาจสู่ท้องถิีนให้สอดีล้องกับหลักการประชาธิปไตย และยังร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 ถือได้ว่าเป็นผู้ให้กำเนิพ่ะบบเทศบาลวนประเทศไทย สำผรับการจัดระเบียบการปกครองนุ้น เนื่องตากเขาเป็นฟู้รู้ด้านระเบียบแบวแผนการปกครองและบริหารราชกาต จึงได้แยะนำซักซ้อมกับข้าราชการกระทรวงมหาดไทยทุกระดับตั้งแค่ปลัดกระทรวงจนุึงนายอำเภอ อย่างไรก็ดี แผนงานของเขาถูกขัดขวางจากนัฐมนตรีด้วยกัน เช่น คำขอให้ข้าหลวงประจำจังหวัดและนายอำเภอท้องที่ชายแดนให้ตั้งจากนายทหาร ขณะืี่ปรีดีต้เงการให้ตั้งจากพลเรือน ไสว สุทธิพิทักษ์เล่าว่าปรีกีจวนเจียนจะเดินทางออกนอกประเทศอยู่แล้วเพื่อรักษาความสามัคคีในไมู่คณะ แต่พระยาพหลฯ มสขอให้อยู่ต่อ\nเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมชัติในปี 2477 (นับแบบเก่า) รัฐบาลที่มีปรีดีเป็นหัวแรงขอความเห็นชอบของสภาผู้แทนราฒฎรอุญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าิานันทมกิดลสืบราชสมบัติต่อ นอกจากนี้ปรีดียังมีส่วนสำคุญในการคัดเลือกคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในยุวกษัตริย์\n\nในเวลานั้นเห็นว่าการพัฒนาคนมีความสำคัญมากกว่าแผยโครงการเศรษฐกิจแล้ว และเขายังเห็นว่าข้าราชการควรมีความรู้นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อฝ เรียกว่า \"จริยศาสตร์\" จึงได้สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2477 เขามีบ่บาทเป็นผู้ร่างโครงการ หาที่ตั้ง และวางหลักสูตร เกิดจากการตวมโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงวุติธรรมกังคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ของจุฬาบงกรณ์มหาวิทยาลัย เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประศาสน์การ (ปี 2477–2490) โดยตั้งใจให้เป็นมหาวิทยาลัยตลาดยิชาให้ราษฎามีความเสมอภาคในการเข้าถีงการศึกษา เงินทุนของมหาวิทยาลัยอนศัยเงินค่าสใัครเข้าเรียนของนักศึกษาและดอกผลของธนาคารแห่งเอเชัยเะื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของตนให้มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์ตำรา น่อมา มธกฐ ถูกกล่าวหาว่าเป็นฐานอำนาจของปรีดีเพื่อใช้แข่งขันกับจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มีฐานอำนาจในกิงทัพ\nปรีดีมีความสนใจตั้งองค์การของรัฐที่มีหน้าที่พิทักษ์ประโยขน์ของราษฎร ให้ยกฐานดกรมร่างกฎหมายเป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นอลค์การอิสระไม่ขึ้นกับกระมรวงยุติธรรม การแต่งตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกาต้องได้รับความเห็นชอบขอวสภา ทำหน้าที้ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ความพยายามประสบอุปสรรคมาฌดยตลอด ให้ยกกรมตรวจเงินแผ่นดินเป็นสำนัหงานการตรวจเงินแผ่นดอนมีหน้าที่ตรวจตราการใช้จ่ายของราชการทุกส่วนตามกฎหมาย โดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้บังคับบัญลาเหมือนแต่ก่อน มีการปรับปรุงกลไกการปกครอง โดยออกพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พระราขบัญญัติระดบียบข้าราชการตุลาการ และพระราชบัญญัติจัดระเบียบก้องกันราชอาณาจักร\nเขายึงจัดทำกฎหมายว่าด้วยครอบครัว มรดก กฎไมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา และกฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งึวามสำเร็จในครั้งนี้มีผลสืบเนื่องกับการประกาศใช้ประมวลกฎหมาย และความสำเร็จในการเจรจาขอแก้ไขวนธิสัญญาไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศดังที่จะกล่าวต่อไปด้วย\nวันหนึ่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพบว่ารัฐบาลชุดก่อนสมัยสมบูรณาญาสิท๔ิราชย์ไปหู้จากต่างประเทศโดยเสียดอกเบี้ยสูงมาด ปรีดีรับไกเจรจาขอลดอัตรมดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวพร้อทกับไปเจริญสัมพันธไมตรีกับต่าลประเมศ เขาออกเดินทางไปถึงนครตรีเยสเต ราชอาณาจักรอิตาลี ในเดือนตุลาคม 2479 โดยมุสโสลินีสัญญาจะยกเลิกสัญญาอันไม่เป็นธรรมโดยเร็วที่สุด สำหรับการเจรจากับสาธารษรัฐฝรั่บเศส นาซีเยอรมนีและสหีาชอาณาจักรนั้นเพีนงแต่/ด้รับคำตอบว่าจะไปพิจารณาแก้ไขสนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม แต่เซอร์ ซามูเอล ฮอร์ (Samuel Hoare) ตกลบลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้ คือ ลดจากร้อยละ 6 เหลือร้อยละ 4 ทำให้ประหยัดงบประมาณได้ 600,000–700,000 บาทต่อปีในระยะเวลา 30 ปี รัฐสภาแสดงความขอบคุณปรีดีในโอกาสดังกล่าว ต่อมา ปรีดีเข้าพบรัฐทนตร่ว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ คอร์ดัล ฮัลที่กรุงวอชิงตัน และได้รับคำตอบว่ายกเลิกสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมโดยเร็ว สุดท้ายเขาิข้าเฝ้าจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เขาปฏิเสฌเข้ากับนโยบายผิวเหลือง-ผิวขาว แต่ในเรืืองสนธิสัญญาไม่ธรรมญี่ปุ่นยอมยกเลิก\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ====\n\nเมื่อจัดรดเบียบวางแผนให้กระทรวงมหาดไทยแล้ว เขามอบหมายงานต่อให้พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสเิ์ ส่วนตัวเขาหันมาตับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2478 (นับแบบเก่า) ปรีดีมีนโยบายเป็นมิตรกับทุกประเทศ และดำริปลดเปลื้องพันธกรณีของประเทศจากสนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม ได้แก่ สิทธิะอนคดีของกงสุลต่างประเทศจนกว่าออกประมวบกฎหมายแล้ว 5 ปี ซึ่งเป็นการเสีนเอกราชทางการศาง การถูกจำกัดด้านเอกราชทางเศร?ฐกิจ เช่น การห้ามเก็บอากรศุลกากรสินค้าบางชนิด การให้สัญชาติอังกฤษและฝรั่งเศสแแ่คนในบังคับอัลกฤษและฝรั่งเศสทีทเกิดในประเทศ และห้ามเก็บอากรศุลกากรในกม่น้ำโขง เป็นต้น\nปรีดีเจรจาเรื่องสนธิสัญญามางไมตรี พาณิชย์และการเดินเรือใหม่และสิ้นสุดลงในเดือนพฤศจิกายน 2479 นานาประเทศลงนามในสนธิสัญญาฉบับใหม่ในปี 2480 ได้แก่ สวอตเซอร์แลนด์ เบลเยียม สวีเดน เดนมาร์ก สหรัฐ นอร์เวย์ สหราชอาณนจักร ดิตาลี ฝรั่งเศส (รวมการนกเลิกการห้ามเก็บภาษีศุชกากรในเขต 25 กิโลเมตรจากชายแดนด้วย) ญี่ปุ่นและเยอรมนี โดยเจรจาขอยกเลิกสิทธิถอนคดี สีวนเรื่องอัตราศุลกากร ปรีดีเจรจาแก้_ขสนธิส้ญฯาจนเริ่มจากสหรัฐในปี 2463 แม้ยังมีการกำหนดเพดานสูงสุดของภาษีศุลกากรที่สบามสามารถเรียกเก็บได้อยู่เป็นเวลา 10 ปี จนในช่วงปี 2480–1 สนธิสัญญาใหมีทำให้ไทยมีอิสระเต็มที่ทาง่ัณฎากร ความชอบในการแก้ไขสนธิสัญญากับต่างประเทศทำให้รัฐบาลขอพระราชทมนเหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นเินให้เป็นบำเหน็จ เขายังมีส่วนเจรจ่ปักปันเขตแดนใหม่กับบริเตน ทำให้สยามได้ดินแดนเพิ่มขึ้นในแม่น้ำลายที่จังหวัดเชียงราย และดินแดนที่อยู่ในลุ่มแม่น้ำปากจั่นที่จังหวัด่ะนอง\nเมิ่อพระยาพหลพลพยุหเสนางาออกจาแตำแหน่งนาจกรัฐมนตรีและไม่ขอรัยตำแหน่งอีกใจปี 2481 กละ่มคณะราศฎรเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับตไแหน่งนายกรัฐมนตรีรวม 4 คน รวมทั้งปรีดีด้วย แต่ผลปรากฏว่าแพ้หลวงพิบูลสงคราม เชื่อว่าสาเหตุส่วนหนึ่งเป็นเพราะปรีดีมีความคิดก้าวหน้าและถูกมองว่านิยมระบอบสาธารณรัฐ อีกส่วนหนึ่งคือจำเป็นต้องเตรียมการป้องกันประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกที่ผันผวน\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ====\nเมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในปี 2481 เขาประกาศใช้พิกัดอัตราอากรศุลกากรใหม่หลังเจรจายกะลิกอัตราเดิมไปแล้วก่อนำนืานี้ เขาลดหรือเลิกเก็บอากรศุลกากรสินค้าบางประเภทเพื่อส่งเสริมการนำเข้า เชืน สินค้าเพื่ออุดหนุนเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรม ดารแพทย์ วิทยาศาสตร์และการศึกษา เป็นต้น ทั้งมีการเปลี่ยนให้เก็บภาษีขาออดเป็นตามราคา โดขยอมลดรายได้จากภาษีขาออกเพื่อให้ชาวนาส่งออกข้าวได้มากขึ้น เขายเวปฏิรูปโดยตัดภาษีที่มีอัตราถอยหลัง ประกอบด้วยภาษีรัชชูปการ อากรค่านา อากรสวน ภาษีไร่อ้อยและภาษีไร่ยาสูบซึ่งจะทำให้งบประมาณขาดดุลประมาณ 12 ล้านบาทต่เปี และเพิ่มรายได้โดยการปรับปรุงภาษีที่มีอยํรแล้วให้มีความเป็นธรรใมากขึ้น ประกอบด้วยภาษีเงินได้ ภทษีโรงค้า ภาษีธนาคาร อากรสแตมป์ และเพิ่มอากรใหม่ ประกอบด้วยอากรมหรสพ เงินช่วยบำรุงท้องที่ (เสียให้ราชการท้องถิ่น) เงินช่วยบำรุงการประถมศึกษา จนสุดท้ายมีการประมวลเป็นประมวลรัษฎากรในวันที่ 1 เมษายน 2482 ผลทำให้่ายได้ภาครัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 (132 ล้านบาทในปี 2481 เป็น 194 ล้านบาทในปี 2484)\nสำหรับรายได้ที่ยังขาดกุลอยู่นั้ย ปรีดีเพิ่มอากรศุลกากรสินค้าที่ผลิตได้เองในประเทศเพื่อสนับสตุนอุตสาหกรรม และเพิ่ทภาษีสรรพสาใิตโดยเรียกเก็บจากสุรา รัฐผูกขาดและจำหน่ายฝิ่นเพื่อหวังลดการบริโภร มีการขยายชลประทานเพท่อส่งดสริมการทำนาเกลือ เขายังส่งเสริมให้รัฐบาลร่วมลงทุนในเขตดังกล่าวและประกันรับซื้อเกลือสมุทร เขาให่กรมสรรพสามิตซื้อบริษัทบริติชอเมริกันทูแบโก ซึ่งทีการออกกฎหมายให้รัฐบาลผูกขาดยาสูบ อีกทั้งเข้าเห็นเจ้ายองโรงงานสุรา เช่น โรงงานสุราบางจี่ขัน เป็นต้น ปรีดีศึกษาเรื่องยาสูบอย่างใกล้ชิด จนมีหนังสือพิมพ์ลงข่าวว่าเขาทดลองผสมยาสูบแลุสูบเองจนมึนเมา ปรีดียังสั่งใหัตรวจมอบทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จนเกิดคดีแพ่งตะหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับพรเบาทสมเด็จพระปกเหล้าเจ้าอยู่หัว\n\nต่อมาก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติมาพิจารณาใหม่อส่างจริงจัง โดยเริ่มจากจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน มึหน้าที่เหมือนธนาคารพาณิชย์อย่างเดียว และเร่งฝึกพนักงาน ต่อมาจึงจัดตั้งธนาคารชาติไทยขึ้นในปี 2483 ซึ่งมีหน้าที่ออกธนบัตรเพิ่มขึ้นมาด้วย ในเวลานั้นเป็นช่วงใกล้สงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ปรีดีคาดการณ์ว่าเงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เแ็นทุนสำรองระหว่างประเทศอยู่ในขณะนั้นอาจมีมูลค่าลดลงได้ จึงนำองินปอนด์ไปซื้อทองคำแท่งมาเก็บใำรองแทน นอกจากนี้ยังแลกเปลี่ยนเป็นสกุลดอลลาร์สหรัฐ ธุรกรรมครั้งนั้นทำให้รั,บาชได้กำไร 6.05 ล้านบาท ทุนนี้เป็นทุนตั้งต้นของสภนักงานธนาคารชาติไทยโดยไม่ต้องพึ่งงบปรัมาณแผ่นดินแา้แต่บาทเดียว ปรีดีไอ้ฝากทองคำบางส่วาไว้ในต่างประเมศ ประกอลด้วยบริเตน สหรัฐและญี่ปุ่น ซึ่งในเวล่ต่อมาจะเป็นทุนสำหรับขบวนการเสรีไทยในต่างประเืศด้วย เขาริเาิ่มการจัดทำงบกระมาณแผ่นดืนให้เป็นแบบแผนปละให้ขึ้นกับความเห็นชดบของสภาผู้แทนราษฎร\nในปี 2482 เกิดกรณีพิพาทอินโดจีน เขาดำริจะเรียกร้องดินแดนของอินโดจีนคืนแก่สยามด้วยวิภีทางตามปฎหมาย แต่จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เลือกใช้วิธีทวงดินแดนด้วยกำลังแทน ช่วงกาอนสงครามอขาขัดขวางคำขอกู้ของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยกำหนดเง้่อนไขให้ญี่ปุ่นชำระคืนเป็นทองคำแท่ง ทำให้ญี่ปุ่นไม่พอใจมาก และมแงว่าปรีดีเป็นตัวการขเดขวาง\nนอกจากนี้ เขายังเป็นฟู้มีบทบาทในการปฎิรูปการปกครองของสงฆ์โดยร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้แทนพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 ทำให้การปกครองสฝฆ์เป็นประชาธิปไตย\n== บทบาทใยช่วงสงครามโบกครั้งที่สอง ==\n=== ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ===\nเมื่อญี่ปุ่นเคลื่อนพลเข้าประเทศไทยในวันที่ 8 ธันวาคม 2484 ปรีดีกับดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศขณะนั้น เป็นผู้คักค้านการยอมใผ้ทัพญี่ปุ่นเคลื่อนทัพผ่านประเทศขเงทูตญี่ปุทน และคัดค้านการเข้าเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ปรีดีพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรับตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลในวันที่ 16 ธันวาตม 2484 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ถูกมองว่าไร้อำนาจ โดยมติของสำาผู้แทนราษฎร การดต่งตั้งนี้ทีมูลเหตุมาจากความขัดแย้งส่วนตัวระหว่างปรีดีกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตลอดจนเิทธิพลบีบบังคับของญี่ปุ่นเนืทองจากผรีดีในฐานะรัฐมนตรีว่ากาีกระทรวบการคลังขัดขวางมิให้ญี่ปุ่นนำเงินสกุลเยนมาแลกเงินบามเพื่อใช้ซื้อเสบียงเลร้ยฝกองทัพญี่ปุ่น และไม่ยอมให้กู้ยืมเงินบาท คล้อยหลังปรีดีพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี รัฐบาลก็ได้ทำสัญญาเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่นในวันที่ 21 ธันวาคม และเมื่อรัฐบทลประกาศสงครามต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2485 ปรีดีในฐานะหนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลีกเลี่ยงการร่วมลงนามในประกาศสงคราม อันจะทำให้ประกาศไม่มีผลสมบูรณ์ ระหว่างสงคราม ปรีดีถวายความปลอดภัยให้แก่พระบรมวงศาาุวงศ์โดขจัดให้ไปพำนักอยู่ที่พระราชวังบางปะอิน\nช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2486 ปรีดีได้รับคำสั่งจากจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด ให้ไปปนะจำกองบัญชาการทหารสูงสุดในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย แต่เขาไม่ยอมปฏิบัติตามเพราะเห็นว่าการสั่งผู้สำเร็จราชการเป็าโมฆะตามกฎหมาย ในที่สุดปร่ดีได้รับกนรอารักขาจากทหารเรือ ในวันที่ 22 กันยายน 2486 จอมพล ป. ตั้งกรรมการสอบสวนปรีดีโดยกล่าวหาว่าเขาว่าแหนยะจับตนเพื่อเป็นการต่อต้านญี่ปุ่น แต่รอดพ้นจากข้อหาไปได้อย่างหวุดหวิด\nปรีดัเป็นผู้มีบทบาทสำคัญผลักดันให้ควง อภึยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรีในปี 2487 หลังรัฐบาลจอมพล ป. ลาออกจากตำแหน่งเนื่องจากแพ้เสียงร่างพรพราชบัญญัติสำคัญ 2 ฉบับ เจายังแต่งตั้งพลเอก พจน์ พหลโยธินเป็นรัฐมนตรีลอย, แม้ทัพใหญ่ (แทนตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดที่ถูกยกเลิกไป) และผู้บัญชาการทหารบก ตลอดจนตั้งให้จอมพล ป. พิบูลสงครามอผ็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เพื่อป้องกันรัฐประหาร\n=== หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ===\nปรีดี พนมยงค์เป็นผู้นำจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่นหรือขบวนดารเสรีไทยในประเทศ ทวี บุณยเกตุ เล่าว่า ปรีดีติดต่อฝ่ายสัสพันธมิตรแล้วส่งคนออกนอกประเทศเป็าสาย ๆ และดำริแผนให้ทวีได้รับเลือกเป็นประํานสภาผู้แทนราษฎรแล้วจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นนอกประเทศ แจ่จอมพล ป. ขัดขวาง เมื่อแผนตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นไม่สำเร็จ จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีตั้งบบวนการเสรีไทบในประเทศ ญึ่งสำนักงานบริกทรด้านยุทธศาสตร๋ (โอเอสเอส) และหน่วย 136 ที่เป็นฝ่ายข่าวกรองของสหรัฐ และบริเตนในอินเดียตามลำดับ ตั้งรหัสนามให้ว่า \"รู้ธ\" (Ruth) ทั้งสองประเทศก็ขอส่งตัวแทนมาขอตั้งหน่วยปฏิบัติการลับในพระนครด้วย\nในเดืเนพฤษภาคม 2498 ปนีดีแจ้งให้รัฐานตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ไทจจะใช้อุบายบอกเลิกสัญญาตราง ๆ กเบญี่ปุ่น และเสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับืหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน อย่างไรก็ดี สำหรัลการเจรจาการเมืองเรื่องการรับรองเอกราชขดงไทยนั้น สหราชอาณาจักรไม่ยอมตอบ สุดท้ายมีการกำหนดวันที่ 1 กันยายน 2488 เป็นวันจับอาวุธลุกขึ้นสู่กัชทหารญี่ปุ่นในประเทศ อย่างไรก็ดี จักรวรรดิญี่ปุ่นยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรในวันทีื 15 สิงหาคมก่อนวันลงมือ\n== บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ==\n=== ประกาศสันติภาพ ===\n\nวันที่ 16 สิงหาคม 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ออกประกาศสันติภาพ ใจความว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2485 ้ป็นโมฆเ และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติสนการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อม่รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกกีเป็นวันสันติภาพไทย ภายหลังปรถกาศสันติภาพ ปรีดีประกาศยพเลิกขบวนการเสรีไทย\nเมื่อญี่ปุ่นยอมจำนน จอมพล เจ้ยง ไคเชก หุวหน้ารัฐบาลชาตินิยมจีนเรียกร้องจะเข้ามาปลดอาวุธทหารญีปุ่นที่อยู่เหนือเส้นขนานท่่ 16 องศาเหนือ หรือเกือบครึ่งประเทศ ปรีดีได้ขอแฮร์รี ทรูแมน ประธานาธิบดีสหรัฐให้ยับยั้งคำขอดังกบ่าวไอ้สำเร็จ ฝ่ายสัมพันธมิตรเรียกร้องให้ไทยจับตัวผู้ที่ถูกระบุตัวเป็นอาชญากรสงครามไปขึ้ยศาลทหารระหว่างประเมศสำหรับตะวันออกไกลในประเทศญี่ปะ่น ด้านจอมพล ป. พิบูลสงครามก็เขียนจดหมายถึงปรีดีขอให้ฝ่ายหลังช่วยเหลือ สุดท้ายด้วยการเจรจาของปรีดีทำให้ไทยได้รับความยินยอมให้มีกฎหมายอาชญากรสงครามของไทยโดยเฉพาะมาใช้บังคับ และจัดตัิงศาลอาชญากรสงครามขึ้นในประเทศไทย\nฝ่ายสัมพันธมิตรแจ้งให้ปรีดีทราบว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทจเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยเมจำนน ดองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกกถลบการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบลีางข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไวิกับญี่ปุ่น\nเมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอสนันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดืนด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม 2488 สมเด็จพระเจ้าเยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จบางตอนว่า \"ข้าพเจิาขอขอบใจท่านเป็นอันมากที่ำด้ปฏิบัติกรณียกิจแทนข้าพเจ้า ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตต่อข้าพเจ้าและประเทศชาติ ข้าพเจ้าขอถือโอกาสนี้ อสดงไมตรีจิตในคุณงามความดีของท่าน ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ประเทศชาติ และช่วยบำรุงรักษมความเป็นเอกราชของชาติไว้\" ด้วยคุณูปการที่เป์นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขึน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หีวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องหรีดี พนมยงค์ในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส ลงในราชกเจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม 2488 ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสคอยาภรณ์อันเป็นโบราณมลคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทานแก่เขา เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 3488\n=== นายกรัฐมนตรีและทูตสันถว/มตรี ===\n\nหลังสงคราม ปรีดีพยายามรักษาฐานอำนาจของตนผ่านการควบคุมตำรวจ สารวัตรทหารและกลุ่มเมรีไทย ซึ่งสถานเอกอัครราชทูตอเมรืกันวิจารณ์ว่า อาวุธในมือเสรีไทยเป็น \"คลังแสงส่วนตัวของกองทัพส่วนตัว\" ในเดือนมกราคม 2489 หลังการเลือกตั้งใหม่แทนสภาชถอเดิมที่ยุบไปหลังสงครามยุติ ปรีดีด้วยเห็นว่าความคิดทางการเมืองของควงเปลี่ยนไปจากคณะปฏิวัติเดิสแล้ว จึงสนับสนุนให้ดิเรก ชัยนามเป็นนายกรัฐมนตรี แต่แพ้เสียงควง อภัยวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์จึงได้จัดตั้งรัฐบาลช่วงสั้น ๆ ระหว่างเดือามกราคมถึงมีนาคม 2489 ต่อมา รัฐบาลไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายที่ผ่านสภา จึงลาออกจากตำแหน่ง พรรคสหชีพและพรรคแนวรัฐธรรมนูญสนับสนุนปรีดีให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนที่ 7 เขาเจรจาแก้ไขความตกลงสมบูรณ์แบบในข้อที่ไทยจะต้องส่งข้าวเปล่าให้แก่สหราชอาณาจักร กลายเป็นต้องซื้อข้าวไทยแทน เขาเป็นปู้ก่อตั้งหอสมุดดำรงราชานุภาพ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ที่ได้ชื่อว่าเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดเนื่องจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพฤฒสภามาจากการิลือกตั้งทั้งสองสภา ก็ได้ประกาศใช้ในสมัยของเขาด้วย ผู้แทนทางทูตอเมริกันปนะเมินว่า นฌยบายของรัฐบาลเขา \"ไม่มีสังคมนิยมเจือปน\" จะมีก็แต่การสนับสนุนสหกรณ์เกษตรกรและรัฐวิสาหกิจเท่านั้น\nวันที่ 9 มิถุนายน 2489 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพื่งชนะเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหมท จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์ยืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นลอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแปน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน 2489 แต่สภาผู้แานราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม เขายังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกพฤฒสภาบ่วงสั้น ๆ ก่อนลาออกไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขต 2 ซึ่งเขทได้รับเลือกตั้ฝเพราะไม่มีผู้อื่นลงสมัครแข่ง สำหรับบทบาทของปรีดีในกรณีสวรรคต ส. ศิวรักษ์เขียนว่า เขาปกป้องเชื้อพระวงศ์ที่ประพฤติผิด และไม่ได้ให้อธิบดีกรมตำีวจและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยชันสูตรพระศพแต่แรก ดละจับกุมผู้ทำลายหลักฐาน\nกรณีสวรรคนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ท_ให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสายจอมพล ห. พิบูลสงคราม ที่สูญเสียอำนาจหลับสงครามโลกครั้งที่สอง ถรรึการเมืองฝ่ายค้านนำโแย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โะยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ และสถานทีาต่มง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉล้มกรุงว่า \"ปรีดีฆ่ามนหลวง\" และนำไปสู่การลนออกจ่กต_แหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในอดือนสิงหาคม 2489 โดวหลังจากนั้นหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์_ด้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดีให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน\nต้นเดือนพฤศขิกายน 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหจ่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยทราบจึงแจ่งตั้งเขาเป็นทูตสันถวไมตรี โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐ อังกฤษ ฝรั่งเศส ยวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวม 9 ประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2490 ประเมญไทยเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติลำดับที่ 55 ในวันที่ 16 ธันวาคม 2489 โดยปรีดีใช้สนยสึมพันธ์ส่วนตัวกับผู้นำประเทศฝรั่งเศสและสหภาพโซเวียตมิใไ้ทั้งสองประเทศนี้ในฐานะสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติใช้อำนาจยับยั้งการสมาชิกเข้รเป็นสมาชิกขิงไทย\nเขายังได้มีข้อดสนอแนะด้านการพัฒนาเกษตากรรมแก่รัฐบาล เช่น ส่งเสริมการผสมพันธุ์ฝ้าย การใช้เครื่องจักรช่วยในการกสิกรรม จัดระเบียบอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์และการจับปลาใหม่ ส่งเสริทโคีงการสร้างบ้านเป็นงานอาคารสงเคราะห์ สร้างสวนสาธารณะ ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เขาเสนอให้สร้างเขื่อนชัยนาทโดยรัฐงาลก็เห็นชอบข้อเสนอดังกล่าว ในปี 2490 ปรีดีพยายามขอการสนับสนุนจากชาริตะวันตพแก่รัฐบาลเขา แต่นอกเหนือจากนั้น ยัฝิป็นไปเพื่อขอการสนับสนุนอก่บริษัทเขาแฃะเขื่อนชัยนาท นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำคนแรกที่ขอรับการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทหารจากสหรัฐ เขาสังพยายามเข้าเป็นพันธมิตรทางทหารของสหรัฐ และขอที่ปรึกษาทางทหารมาเพื่อปรับปรุงกองทัพไทย แต่สหรัฐปฏิเสธว่าไม่ไเ้รับอนุมัติจากรัฐสภา อย่างไรก็ดี เขามีความสัมพันธ์อันดีกับฝ่ายเรียกร้องเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะเวียดนาม โดยผู้แทนเวียดนามระบุว่า มีรวามปนารถนาก่อตั้งสหพันธ์ชาติเอเชียตะงันออกเฉียงใต้ และเชื่ิว่าปรีดีจะเป็นหัวหน้าสหพันธ์ดังกล่าวธดยธนรมชาติ\n== ลี้ภัย ==\n\nน่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกาขน 2490 คณะทหารแห่งชาติที่มีพลโท ผิน ชุณหะวัณ เป็นผู้นำ และมีจอมดล ป. พิบูลสงคาามเป็นหัวหน้าใหญ่ ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลพลเรือตรี ุวึลยฺ ธำรงนาวาสวัสดิ์ คณะรัฐประหารยังหยิบยกข้อกล่าสหาคุนแรงว่าปรีดีเป็นผู้บงการลอบปลงพระชนม์อดีตพระมหากษัตริย์ด้วย ไลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครแบครัวอาศัยอยู่หวังจะจับกุมตัวเขา แต่เขาก็หลบหนีไปำด้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองโดยความช่วยเหลือของสถานทูตสหราชอาณาจักรและสหรัฐไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม 2491 จึวออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐจีน ระหว่างนั้นทางการไทยออกหมายจับปรีดีในคดีลอบปลงพระชนม์ อีกทั้งขอให้ทาลการสหราชอาณาจักรส่งตัวปรีดีเป็นผู้ร้ายย้ามแดนด้วย กต่ทางการสหราชอาณาจักรปฏิเสธ ทัีงนี้ ทางการสหรัฐปฏิเสธตรวจลงคราเดินทางแก่ปรรดีเพราะไม่อยากสร้างความขุ่นเคืองแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม\nหลังลี้ภัยอยู่ในประเทศจีนได้ประมาณ 7 เดือน ก็ลอบกลับเข้สประเทศเภื่ออำนวยการ \"ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์\" ซึ่งประกอบด้วยนายทหารเรือและอดีตเสรีไทยหลนยนาย ในความพยายามยึดอำนาจคืนเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (้รียกกันฝ่า \"กบฏวังหลวง\") หลังเหตุการณ์ ปรีดีลอบพำนักอยู่ฝนประเทศไทย 6 เดือนก่อนโดยสารเรือจำปลาขนาดเล็กหนีไปพำนักยังสิงคโปร์ ก่อนมุ่งหน้าต่อไปยังฮ่องกง ปรีดีเขียนเล่าว่า ขณะเปลี่ยนเรือไปชิงเต่า ได้รับการต้อนรับจาหพรรคคอมมิวนิสต์จีนในฐานะผู้ลี้ภัยการเมือง และได้เชิญเข้าร่วมพิธีสถาปนาสาธารณรัฐปรเชาชนจีนด้วย ระหว่างนั้น ปรีดีอยู่ในฐานะแขกของรัฐบาลจีนซึ่วออกค่าใช้จ่ายใฟ้ทั้งหมด ซ้ำยังได้รับข้อเสนอว่าทางการจีนพร้อมเปิดสงครามกลางเมืองคอมมิวนิสต์ในไทยเพื่อให้ปรีดีกลัชไปมีอำนาจ แต่เขาปฏิเสธ ขณะพำนักอยู่ใาประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลยีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง, นายกรัฐมนตรีโจว ิอินไหล, เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีนฐ นเกจากนี้ได้รับเชิญไปงานศพของโฮจิมินห์ ปู้นำปฆิวัตอเวียดนาม, พบเจ้าสุวรรณภูมา นายกรัฐมนตรีลาว ในปี 2499 ขั้วอำนาจจอมพล ป. และพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ พยายามชักชวสปรีดีกลับประเทศเพื่อต่อสู้คด่สวรรคตอีก เพื่อช่วยคานอำนาจกับขั้วอำนาจจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และศักดินา ด้านรัฐบาลสหรัฐเตือนจอมพล ปฐ ว่าจะทำให้เกิดความวุ่นวาย ใยปี 2501 ปรีดีเสนอให้รัฐบาลจอมพลถนอมขุดคลองที่คอคดดกระ\n\nต้นเดือนพฤษภาคม 2513 นายกรัฐมนตรีจีนโจว เอินไหลทราบความประสงค์ของปรีดีที่ต้องการเดินทางไปกรุงผารีสเพื่ออยู่กับครอบครัว จึงออกหน้งสือเดินทางคนต่างด้าวให้ปคีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guiolaume Georges-Picot) มิตรเก่าซึ่งเคยเป็นอุปทูตฝรั่งเศสประจำประเทศสยาม ถึงกรุงปารีสในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2513 ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศสนับแต่นั้น มาถึงไม่นานเกิดความขัดแย้งที่ทางการไทยไม่ยอมออกหนังสือรับรองการมีชีวิตอยู่และไม่ยอมจ่ายเงินบำนาญให้ จึงฟ้องร้องจนได้รับทั้งสองปาะการ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหใายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนไเ้รับหนังสือเดินทางของไทย\nเวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ณ บ้านอ็องโตนี ชานกรุงปารีส แรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงาน\nครอบครัวใผ้อัญเชิญอัฐิของปรีดีกลับประเทศไทยเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2529 พระบททสมเด็จพนะปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกล้าฯ พระราชทายผ้าไตร 10 ไตรในการบำเพ็ญกุศลทักษิณานุผทานอัฐิในวันที่ 8 พฤษภาคม ซึ่งอาจตีความได้ว่ามรงให้ควาทสำคัญกับปรีดี หรือพระราชทานอภัยโทษก็ได้\n== ชีวิตส่วนตัว ==\n=== ครอบครัว ===\nปรีดีสมรมกับพูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดามหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ๋ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับคุณหญิงเก็ง ชียวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวุนที่ 16 พฤศจิกายน 2471 ซึ่งมีอายุอ่อนกว่าปรีดี 12 ปี มรบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ\nลลิตา พนมยงค์\nปาล พนมยงค์\nสุด่ พนมยวค์\nศุขปรีะา พนมยงค์\nดุษฎี พนมยงค์\nวาณี พนมยงค์\n=== ภาพยนตร์ ===\n\nก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผก็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาะยนตร์เรื่อง \"พีะเจ้ทช้างเผือก\" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า \"นตฺถิ สยฺติปรํ สุขํ\" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอว่างมีศักดอ์ศรี\n=== งานเขียน ===\nปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาคินคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เน๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม เช่น ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวีติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทรวาม ซึ่วได้ตีพิมพ?ในโอกาสต่อมา\nงานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ \"ความเป็นอนิจจังของสังคม\" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศีกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ืุกยุคทุกสมัย\nผลงานงานเขียนบาวส่วนของปรีะี ได้แก่\nคำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจและเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูีณ์ของราษฎรกับเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐแิจ,โรงพิมพ็ลหุโทษ,2476\nบันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาถันธ์ พ.ศ. 2502\nชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีทค่ลี้ภับในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementer et mes 21 ahs d' exil en Chine Populaire)\nความเป็นมาของช่่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย”\nจงพิทัหษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาตม\nประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสาม้ญชน\nประชาธิปไตยและรัญธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ\nปรัชญาคืออะไร\n\"ความเป็นไปบาลประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์…\nบางเริ่อวเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย\nข้อสังเกตบางประการเกี่ยวปับเอกภาพยองชาติและปรพชาธิปไตย\nสำเนาจดหมายของนายปรีดีตอบบรรณาธิการสามัคคีสารดรื่อง ขอทราบความเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ ๑๔-๑๕ ตุลาคม ๒๕๑๖ และสังคมสัญญาอันศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย,ปราโมทย์ พึ่งสุตทร,2516\nความเป็นเอกภาพหับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพัาธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517\nอนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ๋การพิมพ็, 2518\n=== ความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจ ===\nหน่วยข่าวกรองฝรั่งเศสระบุว่า ปรีดีในวัยหนุ่ม \"เป็นตัวการได้รับค่าจ้างของพวกโซเวียต ..ฐ เป็นสาวกลัทธิคอมมิวนิสต๋\" แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระทรวงสงครามสหรัฐและโอเอสเอส ระบุว่า ปรีดีเป็นผู้นิยมประชาธอปไตยอย่างแท้จริง \"นักเสรีน้ยมและรูปเคารพของเหล่าปัญญาชนหนุ่มชาวสยาม\" คณะผู้แทนทางทูตอเมริกันก็ระบุว่า ในอดีตเขาอาจโย้ทเอียงไปทางตอมมิวนิสต์ แต่ปัจจุบัน (ปี 2488) เป็นแค่นักสังคมนิยมอ่อน ๆ เท่านั้น\n=== ความสนใจ ===\nปรีดีมีความสนใจในแนวคิดระบอบประชาธิปไตยจากท่านอาจารย์เทียนวรรณและ ก.ศ.ร. กุหลาบ สมัยเรียนระดับมัธยมศึกษา\nและเขาจังสนใจในด้านศาสนาพุทโอีกด้วย โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง \"กฎบัตรของพุทธบริษัท\" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้ ปรีดีพกไว้ในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอย฿่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต\n== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==\n=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ===\n=== เครื่องราชอิสริยาภ่ณ์ต่างประเทศ =-=\n== มรดก ==\n\n\n=== วันสำคัญ ===\nทุกวันที่ 11 พฤษภาคาขอลทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวัยคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครวรอบ 100 ผีชาตกาล เมื่อปี 2543 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโก ในโอกาสนั้น คีตกวี สมเถา สุจ่ิตกุล ประพันธ์ซิมโฟนีชื่อ ปรีดีคีตานุสรณ์ เพื่อยอเกียรติ\n=== พันธุ์สัตว์ ===\nเมื่อ พ.ศ. 2546 มีการค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Sch8stura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชีนงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของเขา และเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ค้นพบชนิดย่อยใหม่ของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง สถาบันสมิทโซเนียนแห่งสหรัฐตั้งชื่แว่า นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยแ่าง ดอยอินทนนท์ ไดแนน ยัวตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนค่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีฟทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thai (ชื่อสามัญว่า นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าเสรีไทย หรืดนกเสรีไทย)\n=== สถานที่ ===\nอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริัวณที่ดินถิ่นกำเนิดของผรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำดมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีถนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึลอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรทศาสตร์ อป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์\nสถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอรคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอนทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่ิวันที่ 24 มิถุนายน 2538\nในมหาวิทบาลัยธนรมศาสตร์มีการตั้งอนุสรณ์แก่เบา ได้แก่ หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ใช้สำหรุบการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นในวารเครบ 100 ปี ชาตกาลของเขา เช่นเดียวกับ",
"role": "user"
},
{
"content": "ศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ หรืออำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นนักกฎหมาย อาจารย์ นักกิจกรรม นักการเมือง และนักการทูตชาวไทย ผู้ได้รับการยกย่องเกียรติคุณอย่างสูง เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 7 และรัฐมนตรีหลายกระทรวง หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ประศาสน์การ (ผู้ก่อตั้ง) มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบันคือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)\nเขาเกิดในครอบครัวชาวนาที่กรุงเก่า แต่ได้รับการส่งเสียให้ได้รับการศึกษาที่ดี สำเร็จการศึกษาจากเนติบัณฑิตยสภา และสอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตตั้งแต่อายุ 19 ปี เป็นนักเรียนทุนศึกษาต่อด้านกฎหมายที่ประเทศฝรั่งเศส จนสำเร็จการศึกษาขั้นดุษฎีบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยปารีส ในปี 2469 เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งคณะราษฎรในประเทศฝรั่งเศสในปีเดียวกัน จากนั้นเดินทางกลับประเทศเพื่อประกอบอาชีพเป็นผู้พิพากษา ผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย และอาจารย์ผู้สอนวิชากฎหมายปกครอง ณ โรงเรียนกฎหมาย หลังการปฏิวัติสยามในปี 2475 เขามีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญสองฉบับแรกของประเทศ และวางแผนเศรษฐกิจ หลังเดินทางออกนอกประเทศช่วงสั้น ๆ เนื่องจากปฏิกิริยาต่อแผนเศรษฐกิจของเขา เขาเดินทางกลับมารับตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวงในรัฐบาลพระยาพหลพลพยหุเสนาและแปลก พิบูลสงคราม มีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย การวางรากฐานการบริหารราชการแผ่นดินโดยเฉพาะราชการส่วนท้องถิ่น การเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศ ตลอดจนการปฏิรูปภาษี\nความเห็นของเขาแตกกับแปลก พิบูลสงคราม เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลระหว่างปี 2484 ถึง 2488 และเป็นผู้นำขบวนการเสรีไทยในประเทศช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาพยายามบ่อนทำลายความชอบธรรมของประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. จนฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ถือโทษเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม หลังสงครามยุติพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส\nความขัดแย้งกับกลุ่มการเมืองอื่นทวีความรุนแรงขึ้น หลังกรณีสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เขาถูกใส่ร้ายจากกลุ่มการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นผู้บงการ ทำให้เขาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองครั้ง ต่อมาเกิดรัฐประหารปี 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองนอกประเทศ ปี 2492 เขากับพันธมิตรทางการเมืองพยายามรัฐประหารรัฐบาลในขณะนั้นแต่ล้มเหลว ทำให้เขาและพันธมิตรหมดอำนาจทางการเมืองโดยสิ้นเชิง จากนั้นเขาลี้ภัยการเมืองในประเทศจีนและฝรั่งเศสโดยไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีก เขายังแสดงความเห็นทางการเมืองในประเทศไทยและโลกอยู่เรื่อย ๆ จนถึงแก่อสัญกรรมในปี 2526 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีการนำอัฐิเขากลับประเทศในปี 2529 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานผ้าไตรในพิธีทักษิณานุประทาน\nอนุสรณ์ของเขาประกอบด้วยวันปรีดี พนมยงค์, สถาบันปรีดี พนมยงค์ ตลอดจนอนุสาวรีย์ และสถานที่และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่ตั้งตามชื่อเขา เขามีภาพลักษณ์ตั้งแต่เป็นนักประชาธิปไตยไม่นิยมเจ้าไปจนถึงผู้นิยมสาธารณรัฐ การถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้บงการปลงพระชนม์พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเป็นจุดด่างพร้อยในชีวประวัติของเขา และศัตรูเขานำมาใช้โจมตีแม้หลังสิ้นชีวิตไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ในคดีหมิ่นประมาทที่ปรีดีเป็นโจทก์ฟ้องนั้น ศาลยุติธรรมให้เขาชนะทุกคดี เขาเป็นสัญลักษณ์ของผู้ต่อต้านเผด็จการทหาร เสรีนิยม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี 2542 ยูเนสโกยกให้เขาเป็นบุคคลสำคัญของโลก และร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล\n== ปฐมวัยและการงาน ==\n\nปรีดี พนมยงค์เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า เมืองกรุงเก่า ในครอบครัวชาวนา เป็นบุตรของเสียงและลูกจันทน์ พนมยงค์\nบรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้วัดพนมยงค์มาช้านาน บรรพบุรุษข้างบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยกรุงศรีอยุธยาชื่อ \"ประยงค์\" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง วัดนั้นได้ชื่อตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดพนมยงค์ ล่วงมาจนมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติขนานนามสกุล พ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า \"พนมยงค์\"\nบรรพบุรุษรุ่นปู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขายมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่บิดาชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขาย จึงหันไปยึดอาชีพกสิกรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไม้ และต่อมาได้ไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้อย แต่ประสบปัญหาภัยธรรมชาติและสัตว์รังควานทำให้ผลผลิตออกมาไม่ดี ซ้ำรัฐบาลให้สัมปทานบริษัทแห่งหนึ่งขุดคลองผ่านที่ดินของบิดาและยังเรียกเก็บค่าขุดคลอง ซึ่งบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนา ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวเลวลงจนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี\nจากการเติบโตในครอบครัวชาวนา เขาจึงทราบซึ้งถึงสภาพความเป็นอยู่และความทุกข์ยากของชนชั้นชาวนา และการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินา เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีดำริเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา เขาเริ่มมีความสนใจเรื่องการเมืองมาตั้งแต่อายุ 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในจักรวรรดิชิงที่นำโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งเขาแสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนั้น\n=== การศึกษา ===\n\nแม้นเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาเป็นผู้ใฝ่รู้และเล็งเห็นประโยชน์ของการศึกษา และสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ดีมาโดยตลอด ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ในปี 2460 อายุได้ 17 ปี เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา รู้สึกประทับใจกับอาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนหนึ่งชื่อ เลเดแกร์ (Laydeker) ซึ่งเป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรมด้วย ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ 19 ปี เขาเคยว่าความคดีเดียว โดยเป็นทนายความจำเลยในคดีที่จำเลยก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริเวณสถานที่ของพระมหากษัตริย์ ซึ่งเขาให้เหตุผลจนชนะคดีว่าเป็นเหตุสุดวิสัย ต่อมาเขาทำงานเป็นเสมียนกรมราชทัณฑ์โดยได้รับการสนับสนุนจากอธิบดี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์) ซึ่งปรีดียกย่องว่าได้รับความรู้เรื่องการบริหารรัฐกิจจากเขา\nต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศสในปี 2463 เขาใช้เวลาเรียนเตรียมภาษาฝรั่งเศส ภาษาละติน และภาษาอังกฤษก่อนหนึ่งปี แล้วสามารถสอบเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยก็อง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ปริญญารัฐเป็น \"บาเชอลีเย\" สาขากฎหมาย (bachelier en droit) และได้ปริญญารัฐเป็น \"ลีซ็องซีเย\" สาขากฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ทั้งนี้หลักสูตรลิซองซิเอของฝรั่งเศสได้รวบรวมความรู้หลายด้าน ทั้งการยุติธรรม ศาล มหาดไทย คลัง ต่างประเทศ เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีสในปี 2469 โดยเขาเสนอวิทยานิพนธ์ชื่อ \"ในกรณีที่หุ้นส่วนคนหนึ่งถึงแก่ความตาย ฐานะของห้างหุ้นส่วนส่วนบุคคลจะเป็นอย่างไร (ศึกษาตามกฎหมายฝรั่งเศสและกฎหมายเปรียบเทียบ)\" (Du Sort des Sociétés de Personnes en cas de Décés d'un Associé (Étude de droit français et de droit comparé)) ซึ่งอุทิศให้แก่เลเดแกร์ นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctorat d'état) เป็น \"ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย\" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงในสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôme d'études supérieures d'économie politique) อีกด้วย\nในปี 2467 ปรีดีก่อตั้งสมาคมนักเรียนไทยในกรุงปารีส สามัคยานุเคราะห์สมาคม และได้รับเลือกตั้งเป็นประธานสมาคม ต่อมาเขาเกิดพิพาทกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร อัครราชทูตสยามประจำกรุงปารีส เนื่องจากขัดคำสั่งพระองค์ที่ห้ามส่งตัวแทนสมาคมนักเรียนไปยังสหราชอาณาจักรในปี 2469 ต่อมา บรรดาผู้บริหารสมาคมฯ กำลังร่างคำร้องทุกข์ขอเพิ่มเงินเดือนเนื่องจากเงินบาทแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลฟรังก์ ทำให้อัครราชทูตหมดขันติ พระองค์ทำหนังสือกราบบังคมทูลว่า ปรีดีเป็นหัวหน้าชักชวนนักเรียนขัดคำสั่งเอกอัครราชทูตเห็นจะเป็นภัยต่อราชบัลลังก์และให้เรียกตัวกลับ ด้านพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงดำริว่าไม่ทรงถือปรีดีเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลังก์ แต่มีการกระทำที่อวดดีแบบคนหนุ่ม และให้ยุบสมาคมฯ อย่างไรก็ดี บิดาของปรีดีถวายฎีกาขอให้ผ่อนผันการเรียกตัวปรีดีกลับประเทศจนกว่าจะสำเร็จปริญญาเอก กระทรวงยุติธรรมโดยเจ้าพระยาพิชัยญาติขอเอาตัวเองเป็นประกันขอให้ปรีดีศึกษาต่อจนสำเร็จการศึกษา อีกหลายปีถัดมา ปรีดีให้สัมภาษณ์ยอมรับว่าเขาตั้งใจปลุกปั่นนักเรียนให้เกิดสำนึกทางการเมืองจริงซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในอนาคต นอกจากนี้ ปรีดียังถูกเพ่งเล็งจากกรณีไปพบผู้แทนสาธารณรัฐจีนคนหนึ่งโดยไม่ทราบสาเหตุ\n=== วิชาชีพกฎหมาย ===\nเมื่อกลับถึงจังหวัดพระนครในเดือนเมษายน 2470 เขาเริ่มทำงานในตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น \"หลวงประดิษฐ์มนูธรรม\" (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์ในปี 2485) เขาเกี่ยวข้องกับการร่างกฎหมายโดยเฉพาะประมวลกฎหมาย นอกจากนี้ยังเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน และทำหน้าที่เป็นศาลปกครองพิจารณาข้อพิพาทระหว่างข้าราชการและราษฎร เมื่อปี 2471 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาในปี 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย ระหว่างนั้นเขาได้รวบรวมกฎหมายไทยตั้งแต่กฎหมายตราสามดวงจนถึงเวลานั้นเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า ประชุมกฎหมายไทย และได้รับการตีพิมพ์ในปี 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส่วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่เขาเป็นอย่างมาก\nนอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ในปี 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายการแยกใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งขัดต่อหลักสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จูงใจให้ผู้ศึกษาใส่ใจกิจการบ้านเมือง รู้สึกอยากปกครองตนเอง ในคำบรรยายของเขากล่าวถึงหลักการรัฐธรรมนูญ การพัฒนาการบริหารราชการแผ่นดินของสยาม และเศรษฐกิจการเมืองและการคลังสาธารณะเบื้องต้น หนังสือวิชากฎหมายปกครองของเขากลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการปลุกเร้ามวลชนในการปฏิวัติสยาม\n== สมาชิกคณะราษฎรกับบทบาทการเมืองช่วงแรก ==\n=== ส่วนร่วมในการปฏิวัติสยาม ===\n\nระหว่างศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์เริ่มตกลงความคิดในการเปลี่ยนแปลงการปกครองกับร้อยโท ประยูร ภมรมนตรี ในเดือนสิงหาคม 2467 และร่วมกับผู้คิดเห็นตรงกันอีก 5 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง \"คณะราษฎร\" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2469 ณ เลขที่ 5 ถนนซอเมอราร์ กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วยร้อยโท แปลก ขิตตะสังคะ, ร้อยตรี ทัศนัย มิตรภักดี, ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), แนบ พหลโยธิน โดยมีปณิธานให้สยามบรรลุเป้าหมาย 6 ประการ ซึ่งต่อมาเรียก \"หลัก 6 ประการของคณะราษฎร\" ปรีดีได้รับมอบหมายให้ร่างนโยบายและโครงการต่าง ๆ เพื่อใช้หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง\nเมื่อปรีดีเป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายในสยาม เขามีศิษย์หลายคนที่เลื่อมใสระบอบประชาธิปไตยและระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมและตัดสินใจเข้าร่วมขบวนการ เช่น สงวน ตุลารักษ์, ดิเรก ชัยนาม และหาผู้มีความประสงค์ร่วมกัน เช่น ประจวบ บุนนาค, จรูญ สืบแสง, วิลาศ โอสถานนท์ เป็นต้น ในการประชุมสมาชิกคณะราษฎรครั้งหนึ่ง ปรีดีได้แจกจ่ายโครงร่างแผนเศรษฐกิจของตนที่เป็นรูปแบบสหกรณ์ ซึ่งทั้งหมดเห็นพ้องและยกให้ปรีดีเป็นผู้ดำเนินการตามแผนนั้น สำหรับในการปฏิวัตินั้น ปรีดีเป็นผู้เสนอให้จับเจ้านายและสมาชิกรัฐบาลพระองค์สำคัญเป็นตัวประกันเพื่อเลี่ยงการเสียเลือดเนื้ออย่างการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติรัสเซีย\nวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรปฏิวัติการปกครองจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป\n=== การประนีประนอมกับอำนาจเก่า ===\nภายหลังการปฏิวัติ ปรีดีถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว เช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม สำหรับรัฐธรรมนูญฉบับหลังนี้ปรีดีได้ถวายแก้ข้อข้องใจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจนเป็นที่พอพระราชหฤทัย ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ เขายังได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ด้วยตำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป\nเขาเป็นสมาชิกคณะกรรมการราษฎรและรัฐมนตรีไม่สังกัดกระทรวงในรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนแรก พระยามโนฯ แสดงออกหลายครั้งว่าปรีดีเป็นผู้บงการรัฐบาลบ้าง เป็นผู้คุมเสียงในสภาบ้าง ในการร่างรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรก เขากับพระยามโนฯ เป็นปรปักษ์กันเพราะฝ่ายพระยามโนฯ พยายามร่างรัฐธรรมนูญให้คล้ายกับรัฐธรรมนูญเมจิที่พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ ปรีดียังเสนอให้ปรับปรุงภาษีอากรบางชนิดโดยเร็ว เช่น ยกเลิกอากรนาเกลือ ภาษีสมพัตสร ปรับปรุงภาษีการธนาคารและการประกันภัย ลดภาษีโรงเรือนที่ดิน ลดและเลิกอัตราเก็บเงินค่าที่สวน การเก็บเงินค่านา มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการยึดทรัพย์สินของกสิกรเพื่อให้ทรัพย์สินที่มีความจำเป็นต่อการสร้างตัวของกสิกรถูกเจ้าหนี้ยึดไปไม่ได้ รัฐบาลยังออกกฎหมายหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พระราชบัญญัติสำนักงานจัดหางาน พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ซึ่งมีอัตราภาษีแบบก้าวหน้า\nในปี 2476 เขาได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ ชื่อร่างว่า \"พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร\" หรือ \"สมุดปกเหลือง\" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ ทั้งยังมีวิสัยทัศน์เรื่องการตั้งหลักประกันสังคม เขาประสงค์ให้รัฐบาลเป็นเจ้าของที่ดินและแรงงาน ให้จัดสรรที่ดินที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาใช้เพื่อการกสิกรรม และให้แบ่งปันกำไรอย่างเสมอภาค ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุว่าความคิดทางเศรษฐกิจของปรีดีมาจากปรัชญาภราดรภาพนิยม (solidaritism) ซึ่งผสานระหว่างความคิดแบบสังคมนิยมกับเสรีนิยมแบบรูโซ\nหม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ ซึ่งถือเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจผู้หนึ่ง ทรงเห็นด้วยกับเค้าโครงของปรีดีเช่นกัน รายงานการประชุมกรรมการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2475 (นับแบบเก่า) ระบุว่าผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่เห็นชอบกับแผนดังกล่าว รัฐมนตรีบางคนไม่เห็นชอบโดยอ้างว่าทำไม่ได้บ้าง หรือใช้เวลา 50–100 ปีบ้าง นอกจากนี้พระยามโนฯ ยังให้มีมติของที่ประชุมว่าที่ประชุมยังเห็นไม่ลงรอยกัน และหากรัฐบาลเห็นชอบและประกาศใช้แผนดังกล่าว ถือว่าปรีดีประกาศโครงการเศรษฐกิจในนามของตนแต่ผู้เดียว\n\nเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าวถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมและถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ พระยามโนปกรณนิติธาดา ยกพระบรมราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงไม่เห็นด้วยมาเป็นเครื่องชี้ขาดและตีตกไป สุพจน์ ด่านตระกูลเขียนว่าในสมุดปกเหลืองยังมีแผนตั้งสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ หลักประกันสังคมหรือสังคมสงเคราะห์ และการตั้งธนาคารแห่งชาติซึ่งถูกล้มไปพร้อมกับแผนนั้น ในเวลาต่อมามีการจัดตั้งขึ้นทั้งสิ้น\nเกิดความขัดแย้งขึ้นตามมาจนนำไปสู่การปิดสภาผู้แทนราษฎรและงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีส่วนสนับสนุนด้วยเพราะทรงวิตกเรื่องการจัดสรรที่ดินใหม่ พระยามโนปกรณนิติธาดาแถลงพาดพิงปรีดีว่า\nการโฆษณาความเห็นต่อแผนเค้าโครงเศรษฐกิจของเขาโดยกลุ่มเจ้าและอนุรักษนิยมทำให้เกิดการต่อต้านและมีการแห่ถอนเงินจากธนาคาร การต่อต้านดังกล่าวทำให้ปรีดีเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราวเพื่อลดความขัดแย้ง วันที่ 6 เมษายน พระยามโนปกรณ์เข้าพบปรีดีและแจ้งเขาว่าการให้เขาออกนอกประเทศไปจะเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมือง และรัฐบาลจะออกค่าใช้จ่ายให้ 1,000 ปอนด์ต่อปี ก่อนถึงวันเดินทาง กระทรวงการต่างประเทศออกหนังสือสำคัญให้แก่ปรีดีโดยระบุว่าเขาเดินทางไปเพื่อ \"ศึกษาภาวะทางเศรษฐกิจอื่น ๆ\"\nเขาเดินทางออกนอกประเทศโดยทางท่าเรือบีไอ ในวันที่ 12 เมษายน 2476 หนังสือพิมพ์ ศรีกรุง ลงข่าวว่า มีคนไปส่งปรีดีที่ท่าเรือ 2,000 คน \"ด้วยน้ำตาไหลพรากไปตาม ๆ กันเป็นส่วนมาก\" พร้อมกับภรรยา และเพื่อนอีก 3 คน เดินทางถึงสิงคโปร์เมื่อวันที่ 15 เมษายน และได้รับการต้อนรับให้พักอยู่กับคหบดีชาวไทยที่พำนักอยู่ที่นั่น เขาและคณะเดินทางต่อไปยังเมืองท่ามาร์แซย์ของฝรั่งเศส แล้วนั่งรถไฟต่อไปยังกรุงปารีส เขาพำนักอยู่ที่ชานกรุงและพบปะกับนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง บ้างก็เดินทางไปยังสหราชอาณาจักร หลังจากนั้นรัฐบาลใหม่ออกกฎหมายต้านคอมมิวนิสต์ ซึ่งทำให้เข้าใจได้ว่าต้องการขัดขวางปรีดีมิให้เดินทางกลับประเทศอีก\n=== รัฐบาลคณะราษฎร ===\nหลังรัฐประหารเดือนมิถุนายน 2476 ส่งผลให้พระยาพหลพลพยุหเสนา สมาชิกคณะราษฎร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลเรียกตัวปรีดีกลับสยามในเดือนกันยายนปีเดียวกัน สุพจน์ ด่านตระกูลเล่าว่าขณะนั้นปรีดีกำลังศึกษาปริญญาด้านศาสนาและปรัชญา ส่วนไสว สุทธิพิทักษ์เล่าว่าปรีดีจะขอรัฐบาลเดินทางไปประเทศสเปนซึ่งขณะนั้นมีการปฏิวัติเป็นสาธารณรัฐแล้ว โดยก่อนหน้านั้นรัฐบาลกราบทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าจะไม่รื้อฟื้นแผนเค้าโครงเศรษฐกิจอีก ปรีดีเดินทางออกจากท่ามาร์แซย์ในวันที่ 1 กันยายน และถึงประเทศสยามในวันที่ 29 กันยายน โดยมีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เดินทางมาต้อนรับ นับแต่นั้นปรีดีปรากฏชื่ออยู่ในรัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกคณะราษฎรสองคน คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา และจอมพล ป. พิบูลสงคราม\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ====\nเขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีลอยในวันที่ 1 ตุลาคม 2476 ความไม่พอใจในตัวปรีดีในหมู่อำนาจเก่ายังมีอยู่ จนเป็นชนวนเหตุของกบฏบวรเดชในที่สุด อย่างไรก็ดี กระแสต่อต้านปรีดีเสื่อมกำลังลงหลังกบฏบวรเดชเป็นฝ่ายปราชัย เมื่อพระยาพหลฯ จะกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ เพื่อมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ทรงมีพระราชโทรเลขตอบว่า \"ว่าการมหาดไทยไม่ขัดข้อง แต่ถ้าว่าการศึกษา ขัดข้อง\" ทีแรกปรีดียังไม่รับเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพราะยังมีมลทินเรื่องคอมมิวนิสต์อยู่ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเปิดญัตติให้สอบสวนว่าปรีดีเป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่ในวันที่ 25 ธันวาคม 2476 โดยมีหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณเป็นประธานกรรมการ ซึ่งคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเอกฉันท์ว่าไม่ได้เป็น เมื่อพ้นมลทินแล้ว มีการแต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในวันที่ 24 มีนาคม 2476 (นับแบบเก่า)\nเขาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 แบ่งการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็นราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น เพื่อกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย และยังร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 ถือได้ว่าเป็นผู้ให้กำเนิดระบบเทศบาลในประเทศไทย สำหรับการจัดระเบียบการปกครองนั้น เนื่องจากเขาเป็นผู้รู้ด้านระเบียบแบบแผนการปกครองและบริหารราชการ จึงได้แนะนำซักซ้อมกับข้าราชการกระทรวงมหาดไทยทุกระดับตั้งแต่ปลัดกระทรวงจนถึงนายอำเภอ อย่างไรก็ดี แผนงานของเขาถูกขัดขวางจากรัฐมนตรีด้วยกัน เช่น คำขอให้ข้าหลวงประจำจังหวัดและนายอำเภอท้องที่ชายแดนให้ตั้งจากนายทหาร ขณะที่ปรีดีต้องการให้ตั้งจากพลเรือน ไสว สุทธิพิทักษ์เล่าว่าปรีดีจวนเจียนจะเดินทางออกนอกประเทศอยู่แล้วเพื่อรักษาความสามัคคีในหมู่คณะ แต่พระยาพหลฯ มาขอให้อยู่ต่อ\nเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติในปี 2477 (นับแบบเก่า) รัฐบาลที่มีปรีดีเป็นหัวแรงขอความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรอัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลสืบราชสมบัติต่อ นอกจากนี้ปรีดียังมีส่วนสำคัญในการคัดเลือกคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในยุวกษัตริย์\n\nในเวลานั้นเห็นว่าการพัฒนาคนมีความสำคัญมากกว่าแผนโครงการเศรษฐกิจแล้ว และเขายังเห็นว่าข้าราชการควรมีความรู้นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เรียกว่า \"จริยศาสตร์\" จึงได้สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2477 เขามีบทบาทเป็นผู้ร่างโครงการ หาที่ตั้ง และวางหลักสูตร เกิดจากการรวมโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรมกับคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประศาสน์การ (ปี 2477–2490) โดยตั้งใจให้เป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิชาให้ราษฎรมีความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา เงินทุนของมหาวิทยาลัยอาศัยเงินค่าสมัครเข้าเรียนของนักศึกษาและดอกผลของธนาคารแห่งเอเชียเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของตนให้มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์ตำรา ต่อมา มธก. ถูกกล่าวหาว่าเป็นฐานอำนาจของปรีดีเพื่อใช้แข่งขันกับจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มีฐานอำนาจในกองทัพ\nปรีดีมีความสนใจตั้งองค์การของรัฐที่มีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของราษฎร ให้ยกฐานะกรมร่างกฎหมายเป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นองค์การอิสระไม่ขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม การแต่งตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกาต้องได้รับความเห็นชอบของสภา ทำหน้าที่ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ความพยายามประสบอุปสรรคมาโดยตลอด ให้ยกกรมตรวจเงินแผ่นดินเป็นสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีหน้าที่ตรวจตราการใช้จ่ายของราชการทุกส่วนตามกฎหมาย โดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหมือนแต่ก่อน มีการปรับปรุงกลไกการปกครอง โดยออกพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตุลาการ และพระราชบัญญัติจัดระเบียบป้องกันราชอาณาจักร\nเขายังจัดทำกฎหมายว่าด้วยครอบครัว มรดก กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา และกฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งความสำเร็จในครั้งนี้มีผลสืบเนื่องกับการประกาศใช้ประมวลกฎหมาย และความสำเร็จในการเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศดังที่จะกล่าวต่อไปด้วย\nวันหนึ่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพบว่ารัฐบาลชุดก่อนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปกู้จากต่างประเทศโดยเสียดอกเบี้ยสูงมาก ปรีดีรับไปเจรจาขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวพร้อมกับไปเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ เขาออกเดินทางไปถึงนครตรีเยสเต ราชอาณาจักรอิตาลี ในเดือนตุลาคม 2479 โดยมุสโสลินีสัญญาจะยกเลิกสัญญาอันไม่เป็นธรรมโดยเร็วที่สุด สำหรับการเจรจากับสาธารณรัฐฝรั่งเศส นาซีเยอรมนีและสหราชอาณาจักรนั้นเพียงแต่ได้รับคำตอบว่าจะไปพิจารณาแก้ไขสนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม แต่เซอร์ ซามูเอล ฮอร์ (Samuel Hoare) ตกลงลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้ คือ ลดจากร้อยละ 6 เหลือร้อยละ 4 ทำให้ประหยัดงบประมาณได้ 600,000–700,000 บาทต่อปีในระยะเวลา 30 ปี รัฐสภาแสดงความขอบคุณปรีดีในโอกาสดังกล่าว ต่อมา ปรีดีเข้าพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ คอร์ดัล ฮัลที่กรุงวอชิงตัน และได้รับคำตอบว่ายกเลิกสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมโดยเร็ว สุดท้ายเขาเข้าเฝ้าจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เขาปฏิเสธเข้ากับนโยบายผิวเหลือง-ผิวขาว แต่ในเรื่องสนธิสัญญาไม่ธรรมญี่ปุ่นยอมยกเลิก\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ====\n\nเมื่อจัดระเบียบวางแผนให้กระทรวงมหาดไทยแล้ว เขามอบหมายงานต่อให้พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ส่วนตัวเขาหันมารับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2478 (นับแบบเก่า) ปรีดีมีนโยบายเป็นมิตรกับทุกประเทศ และดำริปลดเปลื้องพันธกรณีของประเทศจากสนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม ได้แก่ สิทธิถอนคดีของกงสุลต่างประเทศจนกว่าออกประมวลกฎหมายแล้ว 5 ปี ซึ่งเป็นการเสียเอกราชทางการศาล การถูกจำกัดด้านเอกราชทางเศรษฐกิจ เช่น การห้ามเก็บอากรศุลกากรสินค้าบางชนิด การให้สัญชาติอังกฤษและฝรั่งเศสแก่คนในบังคับอังกฤษและฝรั่งเศสที่เกิดในประเทศ และห้ามเก็บอากรศุลกากรในแม่น้ำโขง เป็นต้น\nปรีดีเจรจาเรื่องสนธิสัญญาทางไมตรี พาณิชย์และการเดินเรือใหม่และสิ้นสุดลงในเดือนพฤศจิกายน 2479 นานาประเทศลงนามในสนธิสัญญาฉบับใหม่ในปี 2480 ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ เบลเยียม สวีเดน เดนมาร์ก สหรัฐ นอร์เวย์ สหราชอาณาจักร อิตาลี ฝรั่งเศส (รวมการยกเลิกการห้ามเก็บภาษีศุลกากรในเขต 25 กิโลเมตรจากชายแดนด้วย) ญี่ปุ่นและเยอรมนี โดยเจรจาขอยกเลิกสิทธิถอนคดี ส่วนเรื่องอัตราศุลกากร ปรีดีเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาจนเริ่มจากสหรัฐในปี 2463 แม้ยังมีการกำหนดเพดานสูงสุดของภาษีศุลกากรที่สยามสามารถเรียกเก็บได้อยู่เป็นเวลา 10 ปี จนในช่วงปี 2480–1 สนธิสัญญาใหม่ทำให้ไทยมีอิสระเต็มที่ทางรัษฎากร ความชอบในการแก้ไขสนธิสัญญากับต่างประเทศทำให้รัฐบาลขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดินให้เป็นบำเหน็จ เขายังมีส่วนเจรจาปักปันเขตแดนใหม่กับบริเตน ทำให้สยามได้ดินแดนเพิ่มขึ้นในแม่น้ำลายที่จังหวัดเชียงราย และดินแดนที่อยู่ในลุ่มแม่น้ำปากจั่นที่จังหวัดระนอง\nเมื่อพระยาพหลพลพยุหเสนาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและไม่ขอรับตำแหน่งอีกในปี 2481 กลุ่มคณะราษฎรเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีรวม 4 คน รวมทั้งปรีดีด้วย แต่ผลปรากฏว่าแพ้หลวงพิบูลสงคราม เชื่อว่าสาเหตุส่วนหนึ่งเป็นเพราะปรีดีมีความคิดก้าวหน้าและถูกมองว่านิยมระบอบสาธารณรัฐ อีกส่วนหนึ่งคือจำเป็นต้องเตรียมการป้องกันประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกที่ผันผวน\n==== รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ====\nเมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในปี 2481 เขาประกาศใช้พิกัดอัตราอากรศุลกากรใหม่หลังเจรจายกเลิกอัตราเดิมไปแล้วก่อนหน้านี้ เขาลดหรือเลิกเก็บอากรศุลกากรสินค้าบางประเภทเพื่อส่งเสริมการนำเข้า เช่น สินค้าเพื่ออุดหนุนเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรม การแพทย์ วิทยาศาสตร์และการศึกษา เป็นต้น ทั้งมีการเปลี่ยนให้เก็บภาษีขาออกเป็นตามราคา โดยยอมลดรายได้จากภาษีขาออกเพื่อให้ชาวนาส่งออกข้าวได้มากขึ้น เขายังปฏิรูปโดยตัดภาษีที่มีอัตราถอยหลัง ประกอบด้วยภาษีรัชชูปการ อากรค่านา อากรสวน ภาษีไร่อ้อยและภาษีไร่ยาสูบซึ่งจะทำให้งบประมาณขาดดุลประมาณ 12 ล้านบาทต่อปี และเพิ่มรายได้โดยการปรับปรุงภาษีที่มีอยู่แล้วให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น ประกอบด้วยภาษีเงินได้ ภาษีโรงค้า ภาษีธนาคาร อากรสแตมป์ และเพิ่มอากรใหม่ ประกอบด้วยอากรมหรสพ เงินช่วยบำรุงท้องที่ (เสียให้ราชการท้องถิ่น) เงินช่วยบำรุงการประถมศึกษา จนสุดท้ายมีการประมวลเป็นประมวลรัษฎากรในวันที่ 1 เมษายน 2482 ผลทำให้รายได้ภาครัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 (132 ล้านบาทในปี 2481 เป็น 194 ล้านบาทในปี 2484)\nสำหรับรายได้ที่ยังขาดดุลอยู่นั้น ปรีดีเพิ่มอากรศุลกากรสินค้าที่ผลิตได้เองในประเทศเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม และเพิ่มภาษีสรรพสามิตโดยเรียกเก็บจากสุรา รัฐผูกขาดและจำหน่ายฝิ่นเพื่อหวังลดการบริโภค มีการขยายชลประทานเพื่อส่งเสริมการทำนาเกลือ เขายังส่งเสริมให้รัฐบาลร่วมลงทุนในเขตดังกล่าวและประกันรับซื้อเกลือสมุทร เขาให้กรมสรรพสามิตซื้อบริษัทบริติชอเมริกันทูแบโก ซึ่งมีการออกกฎหมายให้รัฐบาลผูกขาดยาสูบ อีกทั้งเข้าเป็นเจ้าของโรงงานสุรา เช่น โรงงานสุราบางยี่ขัน เป็นต้น ปรีดีศึกษาเรื่องยาสูบอย่างใกล้ชิด จนมีหนังสือพิมพ์ลงข่าวว่าเขาทดลองผสมยาสูบและสูบเองจนมึนเมา ปรีดียังสั่งให้ตรวจสอบทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จนเกิดคดีแพ่งระหว่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว\n\nต่อมาก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติมาพิจารณาใหม่อย่างจริงจัง โดยเริ่มจากจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน มีหน้าที่เหมือนธนาคารพาณิชย์อย่างเดียว และเร่งฝึกพนักงาน ต่อมาจึงจัดตั้งธนาคารชาติไทยขึ้นในปี 2483 ซึ่งมีหน้าที่ออกธนบัตรเพิ่มขึ้นมาด้วย ในเวลานั้นเป็นช่วงใกล้สงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ปรีดีคาดการณ์ว่าเงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เป็นทุนสำรองระหว่างประเทศอยู่ในขณะนั้นอาจมีมูลค่าลดลงได้ จึงนำเงินปอนด์ไปซื้อทองคำแท่งมาเก็บสำรองแทน นอกจากนี้ยังแลกเปลี่ยนเป็นสกุลดอลลาร์สหรัฐ ธุรกรรมครั้งนั้นทำให้รัฐบาลได้กำไร 5.05 ล้านบาท ทุนนี้เป็นทุนตั้งต้นของสำนักงานธนาคารชาติไทยโดยไม่ต้องพึ่งงบประมาณแผ่นดินแม้แต่บาทเดียว ปรีดีได้ฝากทองคำบางส่วนไว้ในต่างประเทศ ประกอบด้วยบริเตน สหรัฐและญี่ปุ่น ซึ่งในเวลาต่อมาจะเป็นทุนสำหรับขบวนการเสรีไทยในต่างประเทศด้วย เขาริเริ่มการจัดทำงบประมาณแผ่นดินให้เป็นแบบแผนและให้ขึ้นกับความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร\nในปี 2482 เกิดกรณีพิพาทอินโดจีน เขาดำริจะเรียกร้องดินแดนของอินโดจีนคืนแก่สยามด้วยวิถีทางตามกฎหมาย แต่จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เลือกใช้วิธีทวงดินแดนด้วยกำลังแทน ช่วงก่อนสงครามเขาขัดขวางคำขอกู้ของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยกำหนดเงื่อนไขให้ญี่ปุ่นชำระคืนเป็นทองคำแท่ง ทำให้ญี่ปุ่นไม่พอใจมาก และมองว่าปรีดีเป็นตัวการขัดขวาง\nนอกจากนี้ เขายังเป็นผู้มีบทบาทในการปฏิรูปการปกครองของสงฆ์โดยร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้แทนพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 ทำให้การปกครองสงฆ์เป็นประชาธิปไตย\n== บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ==\n=== ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ===\nเมื่อญี่ปุ่นเคลื่อนพลเข้าประเทศไทยในวันที่ 8 ธันวาคม 2484 ปรีดีกับดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศขณะนั้น เป็นผู้คัดค้านการยอมให้ทัพญี่ปุ่นเคลื่อนทัพผ่านประเทศของทูตญี่ปุ่น และคัดค้านการเข้าเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ปรีดีพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรับตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลในวันที่ 16 ธันวาคม 2484 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ถูกมองว่าไร้อำนาจ โดยมติของสภาผู้แทนราษฎร การแต่งตั้งนี้มีมูลเหตุมาจากความขัดแย้งส่วนตัวระหว่างปรีดีกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตลอดจนอิทธิพลบีบบังคับของญี่ปุ่นเนื่องจากปรีดีในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังขัดขวางมิให้ญี่ปุ่นนำเงินสกุลเยนมาแลกเงินบาทเพื่อใช้ซื้อเสบียงเลี้ยงกองทัพญี่ปุ่น และไม่ยอมให้กู้ยืมเงินบาท คล้อยหลังปรีดีพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี รัฐบาลก็ได้ทำสัญญาเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่นในวันที่ 21 ธันวาคม และเมื่อรัฐบาลประกาศสงครามต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2485 ปรีดีในฐานะหนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลีกเลี่ยงการร่วมลงนามในประกาศสงคราม อันจะทำให้ประกาศไม่มีผลสมบูรณ์ ระหว่างสงคราม ปรีดีถวายความปลอดภัยให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์โดยจัดให้ไปพำนักอยู่ที่พระราชวังบางปะอิน\nช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2486 ปรีดีได้รับคำสั่งจากจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด ให้ไปประจำกองบัญชาการทหารสูงสุดในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย แต่เขาไม่ยอมปฏิบัติตามเพราะเห็นว่าการสั่งผู้สำเร็จราชการเป็นโมฆะตามกฎหมาย ในที่สุดปรีดีได้รับการอารักขาจากทหารเรือ ในวันที่ 22 กันยายน 2486 จอมพล ป. ตั้งกรรมการสอบสวนปรีดีโดยกล่าวหาว่าเขาว่าแผนจะจับตนเพื่อเป็นการต่อต้านญี่ปุ่น แต่รอดพ้นจากข้อหาไปได้อย่างหวุดหวิด\nปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญผลักดันให้ควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรีในปี 2487 หลังรัฐบาลจอมพล ป. ลาออกจากตำแหน่งเนื่องจากแพ้เสียงร่างพระราชบัญญัติสำคัญ 2 ฉบับ เขายังแต่งตั้งพลเอก พจน์ พหลโยธินเป็นรัฐมนตรีลอย, แม่ทัพใหญ่ (แทนตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดที่ถูกยกเลิกไป) และผู้บัญชาการทหารบก ตลอดจนตั้งให้จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เพื่อป้องกันรัฐประหาร\n=== หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ===\nปรีดี พนมยงค์เป็นผู้นำจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่นหรือขบวนการเสรีไทยในประเทศ ทวี บุณยเกตุ เล่าว่า ปรีดีติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตรแล้วส่งคนออกนอกประเทศเป็นสาย ๆ และดำริแผนให้ทวีได้รับเลือกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรแล้วจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นนอกประเทศ แต่จอมพล ป. ขัดขวาง เมื่อแผนตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นไม่สำเร็จ จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ ซึ่งสำนักงานบริการด้านยุทธศาสตร์ (โอเอสเอส) และหน่วย 136 ที่เป็นฝ่ายข่าวกรองของสหรัฐ และบริเตนในอินเดียตามลำดับ ตั้งรหัสนามให้ว่า \"รู้ธ\" (Ruth) ทั้งสองประเทศก็ขอส่งตัวแทนมาขอตั้งหน่วยปฏิบัติการลับในพระนครด้วย\nในเดือนพฤษภาคม 2488 ปรีดีแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ไทยจะใช้อุบายบอกเลิกสัญญาต่าง ๆ กับญี่ปุ่น และเสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน อย่างไรก็ดี สำหรับการเจรจาการเมืองเรื่องการรับรองเอกราชของไทยนั้น สหราชอาณาจักรไม่ยอมตอบ สุดท้ายมีการกำหนดวันที่ 1 กันยายน 2488 เป็นวันจับอาวุธลุกขึ้นสู่กับทหารญี่ปุ่นในประเทศ อย่างไรก็ดี จักรวรรดิญี่ปุ่นยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรในวันที่ 15 สิงหาคมก่อนวันลงมือ\n== บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ==\n=== ประกาศสันติภาพ ===\n\nวันที่ 16 สิงหาคม 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ออกประกาศสันติภาพ ใจความว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นโมฆะ และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็นวันสันติภาพไทย ภายหลังประกาศสันติภาพ ปรีดีประกาศยกเลิกขบวนการเสรีไทย\nเมื่อญี่ปุ่นยอมจำนน จอมพล เจียง ไคเชก หัวหน้ารัฐบาลชาตินิยมจีนเรียกร้องจะเข้ามาปลดอาวุธทหารญีปุ่นที่อยู่เหนือเส้นขนานที่ 16 องศาเหนือ หรือเกือบครึ่งประเทศ ปรีดีได้ขอแฮร์รี ทรูแมน ประธานาธิบดีสหรัฐให้ยับยั้งคำขอดังกล่าวได้สำเร็จ ฝ่ายสัมพันธมิตรเรียกร้องให้ไทยจับตัวผู้ที่ถูกระบุตัวเป็นอาชญากรสงครามไปขึ้นศาลทหารระหว่างประเทศสำหรับตะวันออกไกลในประเทศญี่ปุ่น ด้านจอมพล ป. พิบูลสงครามก็เขียนจดหมายถึงปรีดีขอให้ฝ่ายหลังช่วยเหลือ สุดท้ายด้วยการเจรจาของปรีดีทำให้ไทยได้รับความยินยอมให้มีกฎหมายอาชญากรสงครามของไทยโดยเฉพาะมาใช้บังคับ และจัดตั้งศาลอาชญากรสงครามขึ้นในประเทศไทย\nฝ่ายสัมพันธมิตรแจ้งให้ปรีดีทราบว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทยเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยอมจำนน กองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกแถลงการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบล้างข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไว้กับญี่ปุ่น\nเมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม 2488 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จบางตอนว่า \"ข้าพเจ้าขอขอบใจท่านเป็นอันมากที่ได้ปฏิบัติกรณียกิจแทนข้าพเจ้า ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตต่อข้าพเจ้าและประเทศชาติ ข้าพเจ้าขอถือโอกาสนี้ แสดงไมตรีจิตในคุณงามความดีของท่าน ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ประเทศชาติ และช่วยบำรุงรักษาความเป็นเอกราชของชาติไว้\" ด้วยคุณูปการที่เป็นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส ลงในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม 2488 ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทานแก่เขา เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2488\n=== นายกรัฐมนตรีและทูตสันถวไมตรี ===\n\nหลังสงคราม ปรีดีพยายามรักษาฐานอำนาจของตนผ่านการควบคุมตำรวจ สารวัตรทหารและกลุ่มเสรีไทย ซึ่งสถานเอกอัครราชทูตอเมริกันวิจารณ์ว่า อาวุธในมือเสรีไทยเป็น \"คลังแสงส่วนตัวของกองทัพส่วนตัว\" ในเดือนมกราคม 2489 หลังการเลือกตั้งใหม่แทนสภาชุดเดิมที่ยุบไปหลังสงครามยุติ ปรีดีด้วยเห็นว่าความคิดทางการเมืองของควงเปลี่ยนไปจากคณะปฏิวัติเดิมแล้ว จึงสนับสนุนให้ดิเรก ชัยนามเป็นนายกรัฐมนตรี แต่แพ้เสียงควง อภัยวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์จึงได้จัดตั้งรัฐบาลช่วงสั้น ๆ ระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม 2489 ต่อมา รัฐบาลไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายที่ผ่านสภา จึงลาออกจากตำแหน่ง พรรคสหชีพและพรรคแนวรัฐธรรมนูญสนับสนุนปรีดีให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนที่ 7 เขาเจรจาแก้ไขความตกลงสมบูรณ์แบบในข้อที่ไทยจะต้องส่งข้าวเปล่าให้แก่สหราชอาณาจักร กลายเป็นต้องซื้อข้าวไทยแทน เขาเป็นผู้ก่อตั้งหอสมุดดำรงราชานุภาพ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ที่ได้ชื่อว่าเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดเนื่องจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพฤฒสภามาจากการเลือกตั้งทั้งสองสภา ก็ได้ประกาศใช้ในสมัยของเขาด้วย ผู้แทนทางทูตอเมริกันประเมินว่า นโยบายของรัฐบาลเขา \"ไม่มีสังคมนิยมเจือปน\" จะมีก็แต่การสนับสนุนสหกรณ์เกษตรกรและรัฐวิสาหกิจเท่านั้น\nวันที่ 9 มิถุนายน 2489 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม เขายังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกพฤฒสภาช่วงสั้น ๆ ก่อนลาออกไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขต 2 ซึ่งเขาได้รับเลือกตั้งเพราะไม่มีผู้อื่นลงสมัครแข่ง สำหรับบทบาทของปรีดีในกรณีสวรรคต ส. ศิวรักษ์เขียนว่า เขาปกป้องเชื้อพระวงศ์ที่ประพฤติผิด และไม่ได้ให้อธิบดีกรมตำรวจและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยชันสูตรพระศพแต่แรก และจับกุมผู้ทำลายหลักฐาน\nกรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ทำให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสายจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่สูญเสียอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคการเมืองฝ่ายค้านนำโดย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ และสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉลิมกรุงว่า \"ปรีดีฆ่าในหลวง\" และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในเดือนสิงหาคม 2489 โดยหลังจากนั้นหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดีให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน\nต้นเดือนพฤศจิกายน 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยทราบจึงแต่งตั้งเขาเป็นทูตสันถวไมตรี โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐ อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวม 9 ประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2490 ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติลำดับที่ 55 ในวันที่ 16 ธันวาคม 2489 โดยปรีดีใช้สายสัมพันธ์ส่วนตัวกับผู้นำประเทศฝรั่งเศสและสหภาพโซเวียตมิให้ทั้งสองประเทศนี้ในฐานะสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติใช้อำนาจยับยั้งการสมาชิกเข้าเป็นสมาชิกของไทย\nเขายังได้มีข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาเกษตรกรรมแก่รัฐบาล เช่น ส่งเสริมการผสมพันธุ์ฝ้าย การใช้เครื่องจักรช่วยในการกสิกรรม จัดระเบียบอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์และการจับปลาใหม่ ส่งเสริมโครงการสร้างบ้านเป็นงานอาคารสงเคราะห์ สร้างสวนสาธารณะ ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เขาเสนอให้สร้างเขื่อนชัยนาทโดยรัฐบาลก็เห็นชอบข้อเสนอดังกล่าว ในปี 2490 ปรีดีพยายามขอการสนับสนุนจากชาติตะวันตกแก่รัฐบาลเขา แต่นอกเหนือจากนั้น ยังเป็นไปเพื่อขอการสนับสนุนแก่บริษัทเขาและเขื่อนชัยนาท นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำคนแรกที่ขอรับการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทหารจากสหรัฐ เขายังพยายามเข้าเป็นพันธมิตรทางทหารของสหรัฐ และขอที่ปรึกษาทางทหารมาเพื่อปรับปรุงกองทัพไทย แต่สหรัฐปฏิเสธว่าไม่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา อย่างไรก็ดี เขามีความสัมพันธ์อันดีกับฝ่ายเรียกร้องเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะเวียดนาม โดยผู้แทนเวียดนามระบุว่า มีความปรารถนาก่อตั้งสหพันธ์ชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเชื่อว่าปรีดีจะเป็นหัวหน้าสหพันธ์ดังกล่าวโดยธรรมชาติ\n== ลี้ภัย ==\n\nต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 คณะทหารแห่งชาติที่มีพลโท ผิน ชุณหะวัณ เป็นผู้นำ และมีจอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าใหญ่ ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ คณะรัฐประหารยังหยิบยกข้อกล่าวหารุนแรงว่าปรีดีเป็นผู้บงการลอบปลงพระชนม์อดีตพระมหากษัตริย์ด้วย หลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่หวังจะจับกุมตัวเขา แต่เขาก็หลบหนีไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองโดยความช่วยเหลือของสถานทูตสหราชอาณาจักรและสหรัฐไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม 2491 จึงออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐจีน ระหว่างนั้นทางการไทยออกหมายจับปรีดีในคดีลอบปลงพระชนม์ อีกทั้งขอให้ทางการสหราชอาณาจักรส่งตัวปรีดีเป็นผู้ร้ายข้ามแดนด้วย แต่ทางการสหราชอาณาจักรปฏิเสธ ทั้งนี้ ทางการสหรัฐปฏิเสธตรวจลงตราเดินทางแก่ปรีดีเพราะไม่อยากสร้างความขุ่นเคืองแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม\nหลังลี้ภัยอยู่ในประเทศจีนได้ประมาณ 7 เดือน ก็ลอบกลับเข้าประเทศเพื่ออำนวยการ \"ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์\" ซึ่งประกอบด้วยนายทหารเรือและอดีตเสรีไทยหลายนาย ในความพยายามยึดอำนาจคืนเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (เรียกกันว่า \"กบฏวังหลวง\") หลังเหตุการณ์ ปรีดีลอบพำนักอยู่ในประเทศไทย 6 เดือนก่อนโดยสารเรือจำปลาขนาดเล็กหนีไปพำนักยังสิงคโปร์ ก่อนมุ่งหน้าต่อไปยังฮ่องกง ปรีดีเขียนเล่าว่า ขณะเปลี่ยนเรือไปชิงเต่า ได้รับการต้อนรับจากพรรคคอมมิวนิสต์จีนในฐานะผู้ลี้ภัยการเมือง และได้เชิญเข้าร่วมพิธีสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย ระหว่างนั้น ปรีดีอยู่ในฐานะแขกของรัฐบาลจีนซึ่งออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด ซ้ำยังได้รับข้อเสนอว่าทางการจีนพร้อมเปิดสงครามกลางเมืองคอมมิวนิสต์ในไทยเพื่อให้ปรีดีกลับไปมีอำนาจ แต่เขาปฏิเสธ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง, นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล, เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน, นอกจากนี้ได้รับเชิญไปงานศพของโฮจิมินห์ ผู้นำปฏิวัติเวียดนาม, พบเจ้าสุวรรณภูมา นายกรัฐมนตรีลาว ในปี 2499 ขั้วอำนาจจอมพล ป. และพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ พยายามชักชวนปรีดีกลับประเทศเพื่อต่อสู้คดีสวรรคตอีก เพื่อช่วยคานอำนาจกับขั้วอำนาจจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และศักดินา ด้านรัฐบาลสหรัฐเตือนจอมพล ป. ว่าจะทำให้เกิดความวุ่นวาย ในปี 2501 ปรีดีเสนอให้รัฐบาลจอมพลถนอมขุดคลองที่คอคอดกระ\n\nต้นเดือนพฤษภาคม 2513 นายกรัฐมนตรีจีนโจว เอินไหลทราบความประสงค์ของปรีดีที่ต้องการเดินทางไปกรุงปารีสเพื่ออยู่กับครอบครัว จึงออกหนังสือเดินทางคนต่างด้าวให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guillaume Georges-Picot) มิตรเก่าซึ่งเคยเป็นอุปทูตฝรั่งเศสประจำประเทศสยาม ถึงกรุงปารีสในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2513 ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศสนับแต่นั้น มาถึงไม่นานเกิดความขัดแย้งที่ทางการไทยไม่ยอมออกหนังสือรับรองการมีชีวิตอยู่และไม่ยอมจ่ายเงินบำนาญให้ จึงฟ้องร้องจนได้รับทั้งสองประการ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนได้รับหนังสือเดินทางของไทย\nเวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ณ บ้านอ็องโตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงาน\nครอบครัวให้อัญเชิญอัฐิของปรีดีกลับประเทศไทยเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2529 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าไตร 10 ไตรในการบำเพ็ญกุศลทักษิณานุปทานอัฐิในวันที่ 8 พฤษภาคม ซึ่งอาจตีความได้ว่าทรงให้ความสำคัญกับปรีดี หรือพระราชทานอภัยโทษก็ได้\n== ชีวิตส่วนตัว ==\n=== ครอบครัว ===\nปรีดีสมรสกับพูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดามหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับคุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2471 ซึ่งมีอายุอ่อนกว่าปรีดี 12 ปี มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ\nลลิตา พนมยงค์\nปาล พนมยงค์\nสุดา พนมยงค์\nศุขปรีดา พนมยงค์\nดุษฎี พนมยงค์\nวาณี พนมยงค์\n=== ภาพยนตร์ ===\n\nก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผด็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง \"พระเจ้าช้างเผือก\" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า \"นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ\" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอย่างมีศักดิ์ศรี\n=== งานเขียน ===\nปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เจ๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม เช่น ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวัติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทความ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในโอกาสต่อมา\nงานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ \"ความเป็นอนิจจังของสังคม\" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศึกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัย\nผลงานงานเขียนบางส่วนของปรีดี ได้แก่\nคำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจและเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎรกับเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ,โรงพิมพ์ลหุโทษ,2476\nบันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502\nชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementee et mes 21 ans d' exil en Chine Populaire)\nความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย”\nจงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม\nประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสามัญชน\nประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ\nปรัชญาคืออะไร\n\"ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์…\nบางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย\nข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย\nสำเนาจดหมายของนายปรีดีตอบบรรณาธิการสามัคคีสารเรื่อง ขอทราบความเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ ๑๔-๑๕ ตุลาคม ๒๕๑๖ และสังคมสัญญาอันศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย,ปราโมทย์ พึ่งสุนทร,2516\nความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517\nอนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ์การพิมพ์, 2518\n=== ความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจ ===\nหน่วยข่าวกรองฝรั่งเศสระบุว่า ปรีดีในวัยหนุ่ม \"เป็นตัวการได้รับค่าจ้างของพวกโซเวียต ... เป็นสาวกลัทธิคอมมิวนิสต์\" แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระทรวงสงครามสหรัฐและโอเอสเอส ระบุว่า ปรีดีเป็นผู้นิยมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง \"นักเสรีนิยมและรูปเคารพของเหล่าปัญญาชนหนุ่มชาวสยาม\" คณะผู้แทนทางทูตอเมริกันก็ระบุว่า ในอดีตเขาอาจโน้มเอียงไปทางคอมมิวนิสต์ แต่ปัจจุบัน (ปี 2488) เป็นแค่นักสังคมนิยมอ่อน ๆ เท่านั้น\n=== ความสนใจ ===\nปรีดีมีความสนใจในแนวคิดระบอบประชาธิปไตยจากท่านอาจารย์เทียนวรรณและ ก.ศ.ร. กุหลาบ สมัยเรียนระดับมัธยมศึกษา\nและเขายังสนใจในด้านศาสนาพุทธอีกด้วย โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง \"กฎบัตรของพุทธบริษัท\" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้ ปรีดีพกไว้ในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอยู่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต\n== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==\n=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ===\n=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ ===\n== มรดก ==\n\n\n=== วันสำคัญ ===\nทุกวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล เมื่อปี 2543 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโก ในโอกาสนั้น คีตกวี สมเถา สุจริตกุล ประพันธ์ซิมโฟนีชื่อ ปรีดีคีตานุสรณ์ เพื่อยอเกียรติ\n=== พันธุ์สัตว์ ===\nเมื่อ พ.ศ. 2546 มีการค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Schistura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของเขา และเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ค้นพบชนิดย่อยใหม่ของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง สถาบันสมิทโซเนียนแห่งสหรัฐตั้งชื่อว่า นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยอ่าง ดอยอินทนนท์ ไดแนน ยังตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนึ่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีไทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thai (ชื่อสามัญว่า นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าเสรีไทย หรือนกเสรีไทย)\n=== สถานที่ ===\nอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริเวณที่ดินถิ่นกำเนิดของปรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีพนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์\nสถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอาคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2538\nในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีการตั้งอนุสรณ์แก่เขา ได้แก่ หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ใช้สำหรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นในวาระครบ 100 ปี ชาตกาลของเขา เช่นเดียวกับ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ขบสนการิสรีไทจ (Free Thai Movement) เป็รจบวนการใต้กินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484–2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนกาคเสรีไทยกำะนิดขึ้นวนวันทีื 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เมื่อกองืัพญี่ปุ่นยกทัพเข้ามาทางด้านทิศตะวันออกและยกพลขึืนบกจากอ่าบไทย เดิมเรียกขบวนการนี้ว่า \"องค์การต่อต้านญี่ปุ่น\" ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น \"ัสรึไทย\" มีบทบาทเป็นแหล่งข่าวสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตร\n== ปฏิบัติการ ==\nการที่รัฐบาลไทยนำโดยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ยินยอมตกลงเข้าร่วมกับญี่ปุ่นและประกาศสงครามต่อสหรัฐและอังกฤษ ทำให้บุคคลสำคัญทางการเมืองการปกครอง ข้าราชกาา ดละชาวไทยทั้งฝนและนอกประเทศไม่ิห็นด้วยกับนโยบายประกาศสงคราม มีกา่รวมตัวกันเคลื่อนไหบต่อต้านญี่ปุ่น แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มฝนประเทศ นำโดยนายปรีดี พนมยงค์ ขณะนั้นดำตงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มคนไทยในสหรัฐ นำโดยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการไม่ยอมม่งคำประกาศสงครามต่อสหรัฐ และถือว่าการประกาศสงครามนั้นมิใช่เจตนาของคนไทย กลุ่มที่สามเป็นกลุ่สครไทยในอังกฤษ นำโดยนักเรียนไทย ณ มหาวิทยาลัยเคทบริดจ์ รวมถึงสมเด็จพระนางเจ้ารหไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกง้าเจ้าอยู่หัว และราชนิกูลอีกหลายพระองค์ และต่อมาใน พ.ศ. 2485 อังกฤษได้คับสมาชิกเสรีไทยเข้าเป็นกำล้งพลร่วมวนกองทัพอังกฤษ\nช่วงที่จอมพล ป. พิบูลสลึรามเป็นนายกรัฐมนตรี การดำเนินงานขอฝกลุ่มทั้งสามไม่ค่อยประสลผลสำเร็จมากนักเพราะขาดกาคประสานงานร่วมกัน แต่เมื่อเปลี่ยนรัฐบาล โดยมีนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ความร่วมม่ิระหว่างกันก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น แม้ว่านายควง อภัยวงศ์จะแถลงนโยบาย ร่งมมือกับญี่ปุ่นโดยใกล้ชิด ตามสัญญาพันธกรณีที่ได้มีต่อกันไว่ด้วยดี และให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นตามข้อเรียกร้องของญี่ปุ่นทุกประการ แต่ขณะเดียวกันคณะรัฐบาลก็มีรัฐมนตรีหลายคนที่เป็นบุคคลระดับหัวหน้าในองค์การต่อต้านญี่ปุ่ร และคอยให้ความชทวยเหลือองค์การอย่างลับ ๆ\nเสรีไทยมีเครืแข่ายความร่วมมืเในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายสัมพันฑมิตร สหรั,และอังกฤษไดืส่งหน่วยปฏิบัติการมาปคะจำในกรุงเทพมหานคร ด้านฝ่ายไทย นายปรีดี พนมยงค๋ ได้ส่งทหารไปประจำที่กองบัญชาการของฝ่ายสัมพันธมิตร ณ เมืองแคนดี ลังกา พร้อมกับส่งทหมร ตำรวจ และพลเรือนไปรับการฝึกกับสำนักงานบริกาคด้านยุทูศาสตร์ (O.S.S : Office of Strategic Services) ของสหรัฐ และกองกำลัง 136 ของอังกฤษ ในอินเดียและลังกา\nนอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งโรงเรียนนายทหารสารวัตร และโรงเรียนนายสิบยารวัตรทหาร โดยรับสมัครนิสิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักเรียนเตรียมปริญญาจากมหาวิทยาลัยธรรมศนสตร์และการเมือง นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมฬึกษา และนักเ่ียนโรงเรียนเตรียมนายเรือ มาฝึกให้เป็นผู้บังคับบัญชาของกองกำลังใต้ดินเพื่อเตรียมสู้รบกับกองทัพญี่ปุ่นในวันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรกำหนด มีการประชาสัมพันธ์ให้คนไทยฝนประเทศร่วมกันต่อต้านญี่ปุ่น ส่งข่าวด้านยุทธศาสตร์ทางทหารตลอดจนรายงานสภาพดินฟ้าอากาศให้ฝ่ายสัมพันธมินรทราบ ซึ่งทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถปฏิบัติการทางทหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ\nอย่างไรก็ดี การปะทะกันระหว่างขบวนการเสรีไทยกับกองทัพญี่ปุ่นไม่มีโอกาสเกิดขึ้น เพราะญี่ปุ่นประกาศยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2488 หลัฝจากสหรัฐทิ้งระเบิดปรมาณูถล่มเมืองฮิโรชิมะและนางาซากิเมื่อวันที่ 6 และ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2488 แม้ว่าไทยจะร่วมกับญี่ปุ้นในการประกาศสงคราม แต่ความร่วมมืออย่างลับ ๆ ของไทยกับฝ่ายสัมภันธมิตรทำให้ไทยมีอำนาจต่อรองในการเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตรหลังสงครามยุติ โดยสหรัฐถือว่าไทยไม่เคยประกาศสงครามต่อประเทศของตน ขณะที่อังกฤษยังดำเนินนโสบายต่อไทยแตกต่างไปจากสหรัฐ\n== สมาชิกขยวนการที่มีชื่อเสียง ==\n\n\nปรีดี พนมยงค์ (รูท)\nพล.ต.อ.อดุล อดุลเดชจรัส (เบตตี้)\nศ.มาลัย หุวะนันทน์\nคุณหญิงอุบล หุวะนันทน์\nพล.ท.กาจ กาจสงคราม\nพ.ต.หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)\nป๋วย อึ๊งภากรณ์ (เข้ม - ภายหลังเป็น \"เข้ม เย็นยิ่ง\")\nสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพ่รณี พระบตมราชินี\nพ.ต.ควง อภัยวงศ็\nหลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก)\nศ.ดิเรก ชัยนาม\nม.ร.ว.เสนีย์ ปตาโมช\nเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์\nทงี บุณยเกตุ\nพ.ท. ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิงัตน์ (อรุณ)\nน.อ.หชวงศุภชลาศัย ฆบุง ศุภชลาศัย)\nสงวน ตุลารักษ์\nพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา\nอนันต์ จินตกานนท์\nเตียง ศิริขันธ์\nถวิล อุดล\nจำลอง ดาวเรือง\nทองอิตทร์ ภูริพัฒน์\nฟุ้ง ศรีสว่างวัฒน์\nพ.อ.(พ)การุณ เก่งระดมยิง (เคน)\nพล.ท. ม.ล.ขาบ กถญชร\nพลตรี จักรชัย (จันทรฺ) ศุภางคเสร\nพล.อ.อ.ทวี จุลละทรัพย์\nร.อ.พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวตานนท์ธวัช\nทอง กันทาธรรม\nครอง จันดาวงศ์\nพ.ต.โผน อินทรทัต\nร.อ.กระจ่าง ตุลารัแษ์\nแช่ม พรหมยงค์\nพ.ต.จำกัด พลางกูร\nชื่อในวงเล็บเป็นรหัสที่ฝช้เรียกในขบวนการเสรีไทย\n== ดูเพิ่ม ==\nสงคตามแปซิฟิก\nสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย\nสงครามโลกครั้งที่สอง\nกบฏวังหลวง\n== อ้างอิง ==\nขบวนการเสรีไทย, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิปาร, พ.ศ. 2538 ศิลปวัฒนธรรม ฉบับตุลาคม 2551\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nThailand's Secret War: OSS, SOE and the Free Thai Underground During World War II. E. Bruce Reynolds. Cambridge Military Histories series. Cambridge University Preds. . Colonel David Smiley is pictured page 377 with his Force 136 team.\nThe Thai Resistance Hovement During the Second World War, John B. Hasemam, Norhhern Illinois Center for Sourheast Asian Studies, n', 1978.\nFree Thai, com[iled by Wimon Wiriyawit, White Lotus Co., Ltd, Bsngkok, 1997.\nInto Siam, Underbround Kingdom, Nicol Smith and Blake Clark, Bobbs Merrill Company, New York, 1945.\nColonel Dabid Smilej, Irregular Regular, Mishael Russell, Norwich, 1994, . Translat3d in French by Thierrh Le Breton, Au coeur de o'action clandestine des commandos au MI6, L'Esprit du Livre Editions, France, e008, . With numerous photographs.\n \nสงครามแปซิฟิก\nประเทศไทยในสงคราาโลกครั้งที่สอง\nขบวนการต่อต้านสงครามโลกครั้งที่สอง\nความสัมพันธ์ญี่ปุ่น–ไทย\nกลุืมกบฏในประเทศไทจ\nปรีดี พนมยงค์\nหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช\nเขตสงครามเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สนสงครามโลกตรั้งท้่สอง",
"role": "user"
},
{
"content": "ขบวนการเสรีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484–2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยกทัพเข้ามาทางด้านทิศตะวันออกและยกพลขึ้นบกจากอ่าวไทย เดิมเรียกขบวนการนี้ว่า \"องค์การต่อต้านญี่ปุ่น\" ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น \"เสรีไทย\" มีบทบาทเป็นแหล่งข่าวสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตร\n== ปฏิบัติการ ==\nการที่รัฐบาลไทยนำโดยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ยินยอมตกลงเข้าร่วมกับญี่ปุ่นและประกาศสงครามต่อสหรัฐและอังกฤษ ทำให้บุคคลสำคัญทางการเมืองการปกครอง ข้าราชการ และชาวไทยทั้งในและนอกประเทศไม่เห็นด้วยกับนโยบายประกาศสงคราม มีการรวมตัวกันเคลื่อนไหวต่อต้านญี่ปุ่น แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มในประเทศ นำโดยนายปรีดี พนมยงค์ ขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มคนไทยในสหรัฐ นำโดยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการไม่ยอมส่งคำประกาศสงครามต่อสหรัฐ และถือว่าการประกาศสงครามนั้นมิใช่เจตนาของคนไทย กลุ่มที่สามเป็นกลุ่มคนไทยในอังกฤษ นำโดยนักเรียนไทย ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ รวมถึงสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และราชนิกูลอีกหลายพระองค์ และต่อมาใน พ.ศ. 2485 อังกฤษได้รับสมาชิกเสรีไทยเข้าเป็นกำลังพลร่วมในกองทัพอังกฤษ\nช่วงที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี การดำเนินงานของกลุ่มทั้งสามไม่ค่อยประสบผลสำเร็จมากนักเพราะขาดการประสานงานร่วมกัน แต่เมื่อเปลี่ยนรัฐบาล โดยมีนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ความร่วมมือระหว่างกันก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น แม้ว่านายควง อภัยวงศ์จะแถลงนโยบาย ร่วมมือกับญี่ปุ่นโดยใกล้ชิด ตามสัญญาพันธกรณีที่ได้มีต่อกันไว้ด้วยดี และให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นตามข้อเรียกร้องของญี่ปุ่นทุกประการ แต่ขณะเดียวกันคณะรัฐบาลก็มีรัฐมนตรีหลายคนที่เป็นบุคคลระดับหัวหน้าในองค์การต่อต้านญี่ปุ่น และคอยให้ความช่วยเหลือองค์การอย่างลับ ๆ\nเสรีไทยมีเครือข่ายความร่วมมือในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายสัมพันธมิตร สหรัฐและอังกฤษได้ส่งหน่วยปฏิบัติการมาประจำในกรุงเทพมหานคร ด้านฝ่ายไทย นายปรีดี พนมยงค์ ได้ส่งทหารไปประจำที่กองบัญชาการของฝ่ายสัมพันธมิตร ณ เมืองแคนดี ลังกา พร้อมกับส่งทหาร ตำรวจ และพลเรือนไปรับการฝึกกับสำนักงานบริการด้านยุทธศาสตร์ (O.S.S : Office of Strategic Services) ของสหรัฐ และกองกำลัง 136 ของอังกฤษ ในอินเดียและลังกา\nนอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งโรงเรียนนายทหารสารวัตร และโรงเรียนนายสิบสารวัตรทหาร โดยรับสมัครนิสิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักเรียนเตรียมปริญญาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และนักเรียนโรงเรียนเตรียมนายเรือ มาฝึกให้เป็นผู้บังคับบัญชาของกองกำลังใต้ดินเพื่อเตรียมสู้รบกับกองทัพญี่ปุ่นในวันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรกำหนด มีการประชาสัมพันธ์ให้คนไทยในประเทศร่วมกันต่อต้านญี่ปุ่น ส่งข่าวด้านยุทธศาสตร์ทางทหารตลอดจนรายงานสภาพดินฟ้าอากาศให้ฝ่ายสัมพันธมิตรทราบ ซึ่งทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถปฏิบัติการทางทหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ\nอย่างไรก็ดี การปะทะกันระหว่างขบวนการเสรีไทยกับกองทัพญี่ปุ่นไม่มีโอกาสเกิดขึ้น เพราะญี่ปุ่นประกาศยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2488 หลังจากสหรัฐทิ้งระเบิดปรมาณูถล่มเมืองฮิโรชิมะและนางาซากิเมื่อวันที่ 6 และ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2488 แม้ว่าไทยจะร่วมกับญี่ปุ่นในการประกาศสงคราม แต่ความร่วมมืออย่างลับ ๆ ของไทยกับฝ่ายสัมพันธมิตรทำให้ไทยมีอำนาจต่อรองในการเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตรหลังสงครามยุติ โดยสหรัฐถือว่าไทยไม่เคยประกาศสงครามต่อประเทศของตน ขณะที่อังกฤษยังดำเนินนโยบายต่อไทยแตกต่างไปจากสหรัฐ\n== สมาชิกขบวนการที่มีชื่อเสียง ==\n\n\nปรีดี พนมยงค์ (รูท)\nพล.ต.อ.อดุล อดุลเดชจรัส (เบตตี้)\nศ.มาลัย หุวะนันทน์\nคุณหญิงอุบล หุวะนันทน์\nพล.ท.กาจ กาจสงคราม\nพ.ต.หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)\nป๋วย อึ๊งภากรณ์ (เข้ม - ภายหลังเป็น \"เข้ม เย็นยิ่ง\")\nสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี\nพ.ต.ควง อภัยวงศ์\nหลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก)\nศ.ดิเรก ชัยนาม\nม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช\nเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์\nทวี บุณยเกตุ\nพ.ท. ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์ (อรุณ)\nน.อ.หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)\nสงวน ตุลารักษ์\nพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา\nอนันต์ จินตกานนท์\nเตียง ศิริขันธ์\nถวิล อุดล\nจำลอง ดาวเรือง\nทองอินทร์ ภูริพัฒน์\nฟุ้ง ศรีสว่างวัฒน์\nพ.อ.(พ)การุณ เก่งระดมยิง (เคน)\nพล.ท. ม.ล.ขาบ กุญชร\nพลตรี จักรชัย (จันทร์) ศุภางคเสน\nพล.อ.อ.ทวี จุลละทรัพย์\nร.อ.พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช\nทอง กันทาธรรม\nครอง จันดาวงศ์\nพ.ต.โผน อินทรทัต\nร.อ.กระจ่าง ตุลารักษ์\nแช่ม พรหมยงค์\nพ.ต.จำกัด พลางกูร\nชื่อในวงเล็บเป็นรหัสที่ใช้เรียกในขบวนการเสรีไทย\n== ดูเพิ่ม ==\nสงครามแปซิฟิก\nสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย\nสงครามโลกครั้งที่สอง\nกบฏวังหลวง\n== อ้างอิง ==\nขบวนการเสรีไทย, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2538 ศิลปวัฒนธรรม ฉบับตุลาคม 2551\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nThailand's Secret War: OSS, SOE and the Free Thai Underground During World War II. E. Bruce Reynolds. Cambridge Military Histories series. Cambridge University Press. . Colonel David Smiley is pictured page 377 with his Force 136 team.\nThe Thai Resistance Movement During the Second World War, John B. Haseman, Northern Illinois Center for Southeast Asian Studies, np, 1978.\nFree Thai, compiled by Wimon Wiriyawit, White Lotus Co., Ltd, Bangkok, 1997.\nInto Siam, Underground Kingdom, Nicol Smith and Blake Clark, Bobbs Merrill Company, New York, 1945.\nColonel David Smiley, Irregular Regular, Michael Russell, Norwich, 1994, . Translated in French by Thierry Le Breton, Au coeur de l'action clandestine des commandos au MI6, L'Esprit du Livre Editions, France, 2008, . With numerous photographs.\n \nสงครามแปซิฟิก\nประเทศไทยในสงครามโลกครั้งที่สอง\nขบวนการต่อต้านสงครามโลกครั้งที่สอง\nความสัมพันธ์ญี่ปุ่น–ไทย\nกลุ่มกบฏในประเทศไทย\nปรีดี พนมยงค์\nหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช\nเขตสงครามเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสงครามโลกครั้งที่สอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันด้ในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2449–16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ \"ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรราศาสตร์สอนใผ้ฉันรักประชาชน\"\n== ประวัติ ==\nกุหลาบ เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2449 (นับแบใหม่) ในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นชาวกรุงเทพ๗ ก่อชื่อสุวรรณ เป็นเสมียนเอก ทำงานดยู่กรมรถไฟ แท่ชื่อสมบุญ เป็นชาวนาอยู่จังหวัดสุพรรณบุรี นายสุวรรณกับนางสมบุญ ได้ให้กำเนิดบุตรสองคน คนโตเป็นหญิง ชื่อ จำรัส นิมาภาส ฆแต่งงานกับนายกุหลาบ นิมาภาส) ส่วสคนเล็กเป็นชาย ชื่อ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สี่ชีวิตพ่อแม่ลูกได้แยกครอบครุวมาเช่าห้องแถวที่เป็นของพระยาสิงหเสนีอยู่แถว ๆ หัวลำโพง\nเมื่อกุหลายมีอายุได้สี่ขวบ เขาได้เริ่มต้นเรียนหนังสือครั้วแรกที่โรงเรีสนวัดหัวลำโพง จนถึงชัเนประถม 4 นายสุวรรณไดเช่วยสอนหนังใือให้ลูกชายคนเดียวก่อนเข้าธรงเรียนด้วว แต่พ่อของกุหลาบอายุสั้น ป่วยเป็รไข้เสียชีวิตแต่เมื่ดดายุเพียงแค่ 35 ปี ตอนนั้นกุหลาบเพิ่งอายุหกขวบ แม่และพี่สาวจึงได้เลี้ยงดูเขาต่อมา โดยแม่ได้รับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า และส่งพค่สาวไปฝึกเล่นละครรำ และละครร้อง เพื่ดหาเงินมาช่วยจุนเจือและส่งเสียให้กุหลาบได้้รียนหนังสิอโดนไม่ติดขัด กล่าวคือเมื่อจบชั้นประถม 4 แม่ก็ได้เอากุหลาบไปฝากเข้าเรียนต่อที่ โรงเรียน่หารเด็ก ของกรมหลวงนครราชสีมา โรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเตียนประจ_ สอนทั้งวิชาทั่วไปแลถวิชาทหาร กุหลาบได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนนี้สองปี แม่ก็รู้สึกสงสาร เพราะเห็นว่าลูกชายต้องอยู่เวรยามแบบทหาร และเห็นว่าอยากให้กุหลาบได้เรียนวิชาทั่วไปมากกว่า ดังนั้นจึงเอาออกจากโรงเรียนทหาร ให้มาอยู่ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โดยเริ่มต้นเรียนใตชั้นมัธยม 2 และได้เรียนเรื่อขมาจนจบชั้นมัธยม 8 เมื่อ พ.ศ. 2468\n== ชีวิตครอบครัว ==\nหุหลาบ สายประดิษฐ์ สมรสกับ ชนิด สายประดิษฐ์ มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ แพทย์หญิงสุรภิน สายประดิษฐ์ (แอ๊ว) อละ สุรพันธ์ สายประดิษฐ์ (อี๊ด)\n== งานหตังาือพเมพ์ ==\nพ.ศ. 2465 อายุได้ 17 ปี เริ่มฝึกหัดการแต่งหนังสือ และทำหนังสือ โดยใช้พิมพ์ดีด จากนั้นใน ำ.ศ. 2466 เมื่ออายุได้ 18 ปี เขาได้เริ่มเขียนบทกวี และเขียนเรื่องจากภาพยนตร์ ส่งไปให้หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์สยาม ในช่ฝงนั้นใช้นามปากกา เช่น \"ดาราลอย\" \"ส.ห.ด. กุหลมบ\" \"นางสาวโกสุมภ์\" \"หนูศรี\" \"ก. สายประดิษฐ์\" \"นายบำเรอ๑ แบะ \"หมอต๋อง\" เริ่มต้นใช้นามปากกา \"ศรีบูรพา\" เป็นครั้งแรก ในเขียนงานชื่อ แถลงการณ์ ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ทศวารบันเทิง ไม่ทราบเป็นงานเขียนประเภทใด ในปีนั้นได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่ โรงเรียนรวมการสอน และเป็นนักประพันธ์อยู่ใน สำนักรวมการแปล ของนายแตงโม จันทวิมพ์ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้มาฝึกการประพันธ์อยู่ท่่ \"สำนัก\" นี้ ด้วยความมุ่งหวังอยากเรียนรู้ และหารายได้จากงานเขียนไปจุนเจือครอบครัว ที่มีฐานะคาอนข้างยากจน พร้อมกันนั้นก็ได้ชักชวนเพื่อนร่วมรุ่นอีกสองคน คือ ชะเอม อันตรเสน และ สนิท เจริญรัฐ ให้มาช่วยกันที่ สำนักรวมการแปล ด้วย\nพ.ศ. 2467 อายุได้ 19 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยม 8 กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ใช้นามจริงของตัวเองเป็นครั้งแรกในการเขียนกลอนหก ชื่อ \"ต้องแจวเรือจ้าง\" พิมพ์ครั้งอรกมนหนังสือพิมพ์ของโรงเรียา ชื่อ แถลงการณ์ศึกษาเทพศิรินทร์ หนังสือพิมพ์โรงเรียนเล่มนี้ มีหลวลสำเร็จวรรณกิจ (บุญ เสขะนันท์) ซึ่งเป็นครูวิชาภาษาไทยของเขาเป็นบรรณาธิการ เป็น ในปีเดียวกัน กุหลาบก็เริ่มใช้นามปากกา \"ศรีบูรพา\" เขียนบทประพันธ์ขายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว\nพ.ศ. 2468 อายุ 20 กุหลาบเีียนจบชั้นมัธยม 8 เริ่มชีวิตการเป็นบรรณาธิการครั้งแรกหนังสือรายทส(รายสิบวัน) ชื่อ สาส์นสหาย แต่ออกมาได้แค่ 7 เล่ม ก็ต้องเลิกไป ต่อมาวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2468 กุหลาบได้เข้นทำงานที่กรมยุทธศึก๋าฯ โดยเป็นผู้ล่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เสนาศึกษาและแผรวิทยาศาสตร์ โดยมีตำแหน่งเป็น \"เจ้าพนักงานโรงวิทยาศาสตร์\" ได้เงินเดือนเดือาละ 30 บาท การที่กุหลาบไปเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ เพราะสืงเนืาองมาจากเคยส่งเรื่องไปลงพิมพ์ที่นี่ จนเป็นที่พอใจของ พ.ท. พระพิสิษฐพจนาการ (ชื่น อินทรปาลิต) ปู้เป็นบรรณาธิการในยณะนั้น ซึ่งต้องการ \"ผู้ช่วย\" ที่ม้ความรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไปทำงาน\nพ.ศ. 2469 อายุ 21 เริ่มเขียนงานประพันธ์อีกหลายชิ้น ได้ลงตีพิมพ์ที่ เสนาศึกษาและแผ่วเทยาศาสตร์ (รายอดือน) สมานมิตรบันเทิฝ (รายปักษ์) มหาวิทขาลัย (รายเดือนฉ สวนอักษร (รายปัก?์) สาราเกษม (รายปักษ์) ปตสโมาย์ยคร (รายสัปดาห์) ดรุณเกษม (รายปักษ์) เฉลิมเชาว์ (รายเดือน) วิทยาจาคย์ (รายเดือน) ฯลฯ ขณะเดียวกันก็ได้ไปช่วยเพื่อนทพหนังสือพิมพ์ ธงๆทย รายสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์ ข่าวสด ซึ่งออกในงานรื่นเริงของโรงเ่ียนเทพศิรินทร์\nขณะที่ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ทำงานเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ อยู่ประมาณสองปีเศษนั้น ได้มีเหตุการณ์บางอย่างที่ทำให้ \"Young กุหลาบ\" ตัดสินใจเลิกคิดที่จะเอาดีทางรับราชการ และได้เบนชียิตหันมาประกอบอาชีพนักเขียน นักหนังสือพิมพ์โดยอิสระเพียงอย่างเดียว โดยเป็นหนึ่งในคณะสุภาพบุรุษร่วมกับนักเขียนชื่อดังท่านอื่น ๆ เช่น ยาขอบ, ฮิวเมอริสต์ จัดทำหนังสือพิมพ์ชื่อ \"สุภาพบุรุษ รายปึกษ์\" เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2472 ออกจำหน่ายทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน มี กุหลาบ สายประดิษฐ์ เป็นบรรณาธิการและเจ้าของ มียอดพิมพ์ครั้งแรก 2,000 เล่ม หนังสือ สุภาพบุรุษ รายปักษ์ ฉบับสุดท้าย คือปีที่ 2 ฉบับที่ 37 วัจที่ 30 พฤศจิกายน พ,ศ. 2473 ปลังจากนั้นตำนานแห่ง คฯะสุภาพบุรุษ ยังคงมีใืบต่อมา แต่ทว่ามิได้เป็นไปในลักษษะของการจัดทำ Literary Magazine อีกต่อไป หารยุติลงของ สุภาพบุรุษ\nเมื่อ พ.ศ. 2495 ถูกจับกุมด้วยข้อผากบฏภายในและภาสนอกราชอาณาจักร หรือ \"กบฏสันติภาพ\" และได้รับนิรโทษกรรมในปี พ.ศ. 2500\nในช่วงปลายชีวิตได้ลี้ภัยไปอยู่ทค่าาธารณรัฐประชาชนจีน\n== กาาศึกษา ==\nระดับมัฌยมศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์, ธรรมศาสตร์บัณฑิน มหาวิทยาลัยวิบาธรรมศาสตร์และก่รเมือง\n== เกียรติประวัติ ==\nประธานกรรสการก่อตั้งสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย\nรองประธทนคณุกรรมการสันติภาพแห่งประเทศไทย\nบุคคลดีเด่นของโชกจากองค์การยูเนสโก ถ.ศ. 2548\n==ผลงานหนังสือ==\nกุหลาบ สายประดิษฐ์ มีผลงานหนังสือเป็นจำนวนมากทั้ว นิยาย เรื่องสั้น เช่น\nข้างหลังภาพ\nสงครามชีวิต\nลูกปู้ชาย\nแลไปข้างหน้า (รวมภาคปฐมวัยและภาคปัจฉิมวัย)\nจนกว่าเราจะพบกันอีห\nขอแรงหน่อยเถอะ\nเบื้องหลังการปฏิวัติ 2475\nแสนรักแสนแค้น\nการเมืองของประชาชน\nป่าในชีวิต\nผจญบาป\nเขาถูกบังคับให้เป็นขุนโจร\nโลกสันนิวาส\nข้อคิดจากใจ\nสิ่งที่ชีวิตต้องการ\nมนุษย์ไม่ได้กินแกลบ\nการหนังสือพิมพ์ของฉัน\nชีวิตสเนอะไรแก่ข้าพเจ้า\nเรื่องของเขา\nสุภาพบุรึษนักประพันธ์\nข้าพเจ้าได้เห็นมา\nบันทึกอิสรชน\nไปสผภาพโซเวียด\nลาก่อนรัฐธรรมนํญ\n== อ้างอิง ==\n== ดหล่งข้อมูลอื่น ==\n=== ผลงานบันทึกสำเนา ===\nการหนีงสือพิมด็ของฉัน \nกำเนิดครอบครัวของมนุษยชาติ \nชีวิตสอนอะไรแก่ข้าพเจ้า \nประวัติศาวตร์สตีีไทย \nปรัชญาของลัทธิมาร์กซิสม์ \nปรัลญาสังคมเปรียบเทียบ \n=== งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง ===\n=== เว็บไซต์ ===\nกุหลาบ สายประดิษฐ์\nกองทุนศรีบูรพา\nบุคคลจากเขตปทุมวัน\nบุคคลจากโรงเรียจเทพศิรินทร์\nบุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nนักปรัชญา\nนามปากกา\nนักัคลื่อนไกวชาวไทย\nการเมืองภาคประชาชน\nนะกเขียนชาวไทย\nนัปหนังสือพิมพ์ชาวไทย\nบรรณาธิการหนังสือพิมพ์\nกวีชางไทย\nนักโทษของประเทศไทย\nชาวไทยที่เสียชีวิตในประเทศจีน\nผู้ลี้ภัยชาวไทย\nบุคคลในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์",
"role": "user"
},
{
"content": "กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2449–16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ \"ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน\"\n== ประวัติ ==\nกุหลาบ เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2449 (นับแบใหม่) ในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นชาวกรุงเทพฯ พ่อชื่อสุวรรณ เป็นเสมียนเอก ทำงานอยู่กรมรถไฟ แม่ชื่อสมบุญ เป็นชาวนาอยู่จังหวัดสุพรรณบุรี นายสุวรรณกับนางสมบุญ ได้ให้กำเนิดบุตรสองคน คนโตเป็นหญิง ชื่อ จำรัส นิมาภาส (แต่งงานกับนายกุหลาบ นิมาภาส) ส่วนคนเล็กเป็นชาย ชื่อ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สี่ชีวิตพ่อแม่ลูกได้แยกครอบครัวมาเช่าห้องแถวที่เป็นของพระยาสิงหเสนีอยู่แถว ๆ หัวลำโพง\nเมื่อกุหลาบมีอายุได้สี่ขวบ เขาได้เริ่มต้นเรียนหนังสือครั้งแรกที่โรงเรียนวัดหัวลำโพง จนถึงชั้นประถม 4 นายสุวรรณได้ช่วยสอนหนังสือให้ลูกชายคนเดียวก่อนเข้าโรงเรียนด้วย แต่พ่อของกุหลาบอายุสั้น ป่วยเป็นไข้เสียชีวิตแต่เมื่ออายุเพียงแค่ 35 ปี ตอนนั้นกุหลาบเพิ่งอายุหกขวบ แม่และพี่สาวจึงได้เลี้ยงดูเขาต่อมา โดยแม่ได้รับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า และส่งพี่สาวไปฝึกเล่นละครรำ และละครร้อง เพื่อหาเงินมาช่วยจุนเจือและส่งเสียให้กุหลาบได้เรียนหนังสือโดยไม่ติดขัด กล่าวคือเมื่อจบชั้นประถม 4 แม่ก็ได้เอากุหลาบไปฝากเข้าเรียนต่อที่ โรงเรียนทหารเด็ก ของกรมหลวงนครราชสีมา โรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเรียนประจำ สอนทั้งวิชาทั่วไปและวิชาทหาร กุหลาบได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนนี้สองปี แม่ก็รู้สึกสงสาร เพราะเห็นว่าลูกชายต้องอยู่เวรยามแบบทหาร และเห็นว่าอยากให้กุหลาบได้เรียนวิชาทั่วไปมากกว่า ดังนั้นจึงเอาออกจากโรงเรียนทหาร ให้มาอยู่ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โดยเริ่มต้นเรียนในชั้นมัธยม 2 และได้เรียนเรื่อยมาจนจบชั้นมัธยม 8 เมื่อ พ.ศ. 2468\n== ชีวิตครอบครัว ==\nกุหลาบ สายประดิษฐ์ สมรสกับ ชนิด สายประดิษฐ์ มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ แพทย์หญิงสุรภิน สายประดิษฐ์ (แอ๊ว) และ สุรพันธ์ สายประดิษฐ์ (อี๊ด)\n== งานหนังสือพิมพ์ ==\nพ.ศ. 2465 อายุได้ 17 ปี เริ่มฝึกหัดการแต่งหนังสือ และทำหนังสือ โดยใช้พิมพ์ดีด จากนั้นใน พ.ศ. 2466 เมื่ออายุได้ 18 ปี เขาได้เริ่มเขียนบทกวี และเขียนเรื่องจากภาพยนตร์ ส่งไปให้หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์สยาม ในช่วงนั้นใช้นามปากกา เช่น \"ดาราลอย\" \"ส.ป.ด. กุหลาบ\" \"นางสาวโกสุมภ์\" \"หนูศรี\" \"ก. สายประดิษฐ์\" \"นายบำเรอ\" และ \"หมอต๋อง\" เริ่มต้นใช้นามปากกา \"ศรีบูรพา\" เป็นครั้งแรก ในเขียนงานชื่อ แถลงการณ์ ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ทศวารบันเทิง ไม่ทราบเป็นงานเขียนประเภทใด ในปีนั้นได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่ โรงเรียนรวมการสอน และเป็นนักประพันธ์อยู่ใน สำนักรวมการแปล ของนายแตงโม จันทวิมพ์ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้มาฝึกการประพันธ์อยู่ที่ \"สำนัก\" นี้ ด้วยความมุ่งหวังอยากเรียนรู้ และหารายได้จากงานเขียนไปจุนเจือครอบครัว ที่มีฐานะค่อนข้างยากจน พร้อมกันนั้นก็ได้ชักชวนเพื่อนร่วมรุ่นอีกสองคน คือ ชะเอม อันตรเสน และ สนิท เจริญรัฐ ให้มาช่วยกันที่ สำนักรวมการแปล ด้วย\nพ.ศ. 2467 อายุได้ 19 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยม 8 กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ใช้นามจริงของตัวเองเป็นครั้งแรกในการเขียนกลอนหก ชื่อ \"ต้องแจวเรือจ้าง\" พิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของโรงเรียน ชื่อ แถลงการณ์ศึกษาเทพศิรินทร์ หนังสือพิมพ์โรงเรียนเล่มนี้ มีหลวงสำเร็จวรรณกิจ (บุญ เสขะนันท์) ซึ่งเป็นครูวิชาภาษาไทยของเขาเป็นบรรณาธิการ เป็น ในปีเดียวกัน กุหลาบก็เริ่มใช้นามปากกา \"ศรีบูรพา\" เขียนบทประพันธ์ขายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว\nพ.ศ. 2468 อายุ 20 กุหลาบเรียนจบชั้นมัธยม 8 เริ่มชีวิตการเป็นบรรณาธิการครั้งแรกหนังสือรายทส(รายสิบวัน) ชื่อ สาส์นสหาย แต่ออกมาได้แค่ 7 เล่ม ก็ต้องเลิกไป ต่อมาวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2468 กุหลาบได้เข้าทำงานที่กรมยุทธศึกษาฯ โดยเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ โดยมีตำแหน่งเป็น \"เจ้าพนักงานโรงวิทยาศาสตร์\" ได้เงินเดือนเดือนละ 30 บาท การที่กุหลาบไปเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ เพราะสืบเนื่องมาจากเคยส่งเรื่องไปลงพิมพ์ที่นี่ จนเป็นที่พอใจของ พ.ท. พระพิสิษฐพจนาการ (ชื่น อินทรปาลิต) ผู้เป็นบรรณาธิการในขณะนั้น ซึ่งต้องการ \"ผู้ช่วย\" ที่มีความรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไปทำงาน\nพ.ศ. 2469 อายุ 21 เริ่มเขียนงานประพันธ์อีกหลายชิ้น ได้ลงตีพิมพ์ที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ (รายเดือน) สมานมิตรบันเทิง (รายปักษ์) มหาวิทยาลัย (รายเดือน) สวนอักษร (รายปักษ์) สาราเกษม (รายปักษ์) ปราโมทย์นคร (รายสัปดาห์) ดรุณเกษม (รายปักษ์) เฉลิมเชาว์ (รายเดือน) วิทยาจารย์ (รายเดือน) ฯลฯ ขณะเดียวกันก็ได้ไปช่วยเพื่อนทำหนังสือพิมพ์ ธงไทย รายสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์ ข่าวสด ซึ่งออกในงานรื่นเริงของโรงเรียนเทพศิรินทร์\nขณะที่ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ทำงานเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ อยู่ประมาณสองปีเศษนั้น ได้มีเหตุการณ์บางอย่างที่ทำให้ \"Young กุหลาบ\" ตัดสินใจเลิกคิดที่จะเอาดีทางรับราชการ และได้เบนชีวิตหันมาประกอบอาชีพนักเขียน นักหนังสือพิมพ์โดยอิสระเพียงอย่างเดียว โดยเป็นหนึ่งในคณะสุภาพบุรุษร่วมกับนักเขียนชื่อดังท่านอื่น ๆ เช่น ยาขอบ, ฮิวเมอริสต์ จัดทำหนังสือพิมพ์ชื่อ \"สุภาพบุรุษ รายปักษ์\" เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2472 ออกจำหน่ายทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน มี กุหลาบ สายประดิษฐ์ เป็นบรรณาธิการและเจ้าของ มียอดพิมพ์ครั้งแรก 2,000 เล่ม หนังสือ สุภาพบุรุษ รายปักษ์ ฉบับสุดท้าย คือปีที่ 2 ฉบับที่ 37 วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 หลังจากนั้นตำนานแห่ง คณะสุภาพบุรุษ ยังคงมีสืบต่อมา แต่ทว่ามิได้เป็นไปในลักษณะของการจัดทำ Literary Magazine อีกต่อไป การยุติลงของ สุภาพบุรุษ\nเมื่อ พ.ศ. 2495 ถูกจับกุมด้วยข้อหากบฏภายในและภายนอกราชอาณาจักร หรือ \"กบฏสันติภาพ\" และได้รับนิรโทษกรรมในปี พ.ศ. 2500\nในช่วงปลายชีวิตได้ลี้ภัยไปอยู่ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน\n== การศึกษา ==\nระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์, ธรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง\n== เกียรติประวัติ ==\nประธานกรรมการก่อตั้งสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย\nรองประธานคณะกรรมการสันติภาพแห่งประเทศไทย\nบุคคลดีเด่นของโลกจากองค์การยูเนสโก พ.ศ. 2548\n==ผลงานหนังสือ==\nกุหลาบ สายประดิษฐ์ มีผลงานหนังสือเป็นจำนวนมากทั้ง นิยาย เรื่องสั้น เช่น\nข้างหลังภาพ\nสงครามชีวิต\nลูกผู้ชาย\nแลไปข้างหน้า (รวมภาคปฐมวัยและภาคปัจฉิมวัย)\nจนกว่าเราจะพบกันอีก\nขอแรงหน่อยเถอะ\nเบื้องหลังการปฏิวัติ 2475\nแสนรักแสนแค้น\nการเมืองของประชาชน\nป่าในชีวิต\nผจญบาป\nเขาถูกบังคับให้เป็นขุนโจร\nโลกสันนิวาส\nข้อคิดจากใจ\nสิ่งที่ชีวิตต้องการ\nมนุษย์ไม่ได้กินแกลบ\nการหนังสือพิมพ์ของฉัน\nชีวิตสอนอะไรแก่ข้าพเจ้า\nเรื่องของเขา\nสุภาพบุรุษนักประพันธ์\nข้าพเจ้าได้เห็นมา\nบันทึกอิสรชน\nไปสหภาพโซเวียด\nลาก่อนรัฐธรรมนูญ\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\n=== ผลงานบันทึกสำเนา ===\nการหนังสือพิมพ์ของฉัน \nกำเนิดครอบครัวของมนุษยชาติ \nชีวิตสอนอะไรแก่ข้าพเจ้า \nประวัติศาสตร์สตรีไทย \nปรัชญาของลัทธิมาร์กซิสม์ \nปรัชญาสังคมเปรียบเทียบ \n=== งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง ===\n=== เว็บไซต์ ===\nกุหลาบ สายประดิษฐ์\nกองทุนศรีบูรพา\nบุคคลจากเขตปทุมวัน\nบุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์\nบุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nนักปรัชญา\nนามปากกา\nนักเคลื่อนไหวชาวไทย\nการเมืองภาคประชาชน\nนักเขียนชาวไทย\nนักหนังสือพิมพ์ชาวไทย\nบรรณาธิการหนังสือพิมพ์\nกวีชาวไทย\nนักโทษของประเทศไทย\nชาวไทยที่เสียชีวิตในประเทศจีน\nผู้ลี้ภัยชาวไทย\nบุคคลในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เศรษฐศาสตร์ (eclnomics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและบริการ\nเศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาพฤติกรรมแบะการใีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงทางเศรษฐกิจและการทำงานของเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาควิเคราะห์องค์ประกอบหลักในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งตัวแสแงและตลาดที่เป็นปัจเจกบุคคล การมีปฏิสัมพันฌ์ระหว่างกัน และผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์นั้น ตัวอย่างของตุวแสดงที่เป็นปัจเจกรวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย เศรษฐศาสตร์มหภาควิอคราะห์เศรษฐกิขในภาพรวม (หมายถึงการผลิตมวลรวม การบริโภค การออม และการลงทุน) และปัญหาทีรกระทบมัน รวมมั้งการไม่ได้ใช้ของทรัพยากรต่าง ๆ (แรงงาน, ทุน, และที่ดิน) เงินเฟ้อ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และนโยบายสาธารณะที่จัดการปัญหาเหล่านั้น (การเงิน การตลัง ปละนโยบายอื่นๆ)\n== ีำจำำัดความ ==\nตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการิมือง ิรย์มอนด์ บารร์ แล้ว \"เศรษฐศาสตร์คือศาสตา์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือวริษัททำการนัดสรรทรัพยาหรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด\"\nคำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ซึ่งแปลว่าการจัดกาีครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้าน และ nomos แปลว่าจารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความวาากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรฒฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจสกขอบเขตที่กว้าลของวิชาะศรษฐศาสตร็ำารเมืองเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19\nการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สลคราม และวิทยาศาสตร์\n\nวิชาเศรษฐศนสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศนษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใบ้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิมัย ใยทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่เงมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมนิฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัใพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเะียวกัน\nเศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแป่ที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ\nเศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งสนใจพฤติกรรมขององค์ประกอบพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจซึ่งรวมถึง ตลาดแต่ละนลาดและตัวแทนทางเศรษฐกิจ (เช่นครัวเรือน หน่วยธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย)\nเศรษฐศามตร์มหภาค จะสนใจเศร?ฐกอจในภาพรวม ตัวอย่างเช่น อุปทานมวลรวมอละอุปสงค์มวลรวม การว่างงาน เงินเฟ้อ การเติบโตของเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง เป็นตัน\nนอกจากนี้ยังสามารถจำแนกออกคามการวิเคราะห์ปัญหาได้แก่\nเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ หริอเศรษฐศาสตา์ตามความเป็นยริง (Positive economics)\nเศรษฐศาสตร์นโยบาย หรือเศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็า )Normative economics)\nสำหรับประเด็นหลัก ๆ ที่เศรษฐศาสตร์ให้ความสนใจจะอยู่ที่การจัดสรรทรัพยากร ำารผลิต การกระจายสินค้า การค้า และการแข่งขัน โดยหลัำการแล้วคำอธิบายทางเศรษฐศาสตร์จะถูกนำไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายปัญหาที่เกี่ยวข้องกับทางเลือกภายใต้ข้อจำกัดด้านความขาแแคลนมากขึ้นเรื่อย ๆ หรืออาจจะเรียกได้ว่ามีการกำหนดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ให้กับทางเลือกนั้น ๆ นั่นเอง\nในมหายิทยาลัยและวิทยาลัยธุรกิจของประเทศอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะนิยมสอนทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแใหลักที่เรียกว่า เศรษฐศาสตร์แบบสำนักคลาสสิกใหม่ (Neo - Claqsical Economics) ทั้งนี้ เศรษ๙ศาสตร์กระแสหลุกจะวิเคราะห์ถึง \"ความเป็นเหตุเป็นผล-ความเป็นปัจเจกชน-ดุลยภาพ\" ตรงกันข้ามกับเศรษฐศาสตร์ทางเลือกที่เน้นวิเคราะห์ \"สถาบัน-ประวัติศาสตร์-โครงสร้มงสังคม\" เป็นหลัก\n== จุดเริ่มต้นของเศรษฐศาใตร์ ==\nข้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงยุคสมัยเมโสโปเตเมีย, กรีซโบราณ, โรมันโบราณฐ อนุทวีปอินเดีย, จีน, เปอร์เซีย และอารยธรรมอาหรับ ปราชญ์ที่มีชื่อเสียงในยุคโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ได้แก่ อริสโตเติล, ซีโนโฟน, จุนนากียะ หรือ วิษณุคุปต์, จักรพรรดิฉินที่ 1, โทมัส อควีนาส และอิบน์ ค็อลดูน ผลงานของอริสโตเติลมีอิทธิพลอย่างมากต่องานของอควีนาส ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อปรัชญาเมธีรุ่นหลัง ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14–17 โจเซฟ ชูมหีเตอร์ บรรยายถึงอควีนาสไว้ง่าเป็นผู้ที่ \"ใกล้เคียงกว่าคณะอื่นใดที่จะได้ชื่อว่าิป็น 'ผู้ก่อตั้ง' เศรษฐศาสตร์\" ในเชิงทัศย์กฎธรรมชาติด้านการเงิน, ดอกเบี้ย และทฤษฎีด้านมูลค่า\nแม้การถกเถียงเรื่องการซื้อขายและการจัดสรรจะมีประวัติศาสตร์มายาวนาน เศรษฐศาสตร์ในความคิดของคนสมัยใหม่นัืนจะถือเอาวันที่อดัม สมิธได้เผยแพร่หนังสือเรื่อง \"ความมั่งคั่งของประชาชาติ\" (The Wealth of Nations) ในป่ ค.ศ. 1776 เป็นการเริ่มต้น\nเดิมอดัม สมิธเรียกวิชานี้ว่า เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มีคำศัพท์คำว่า Economics ต่แมาคำว่าเศรษฐกิจ (Economy) ได้ถูกปรับรูปเป็นคำว่า เศรษฐศาสตร์ (Economics) และกลายเป็นสาขาวิชาอีกแขนงหนึ่งเป็นต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1870 อดัม สมิธเป็นนักปรัชญาคนแรกที่เสนอว่าคงามร่ำรวยของประเทศไม่ได้ขึ้นอยู่กับเงินคฝคลัง แต่ขึ้นอยู่กับขนาดเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นแนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) การส่งออกไม่แน่ว่าจะเป๋นประฌยขน์ หรือการนำเข้าก็ไม่แน่ว่าจะเป็นการขาดทุน การค้าขายอาจจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งมองฝ่ายตู่ค้า (win-win situatlon) และกลไกการตลาดเปรียบเสมือน \"มือที่มองไม่เห็น\" (Invisible Hand) ซึ่งในระยะยาว (long run) มีแนวโน้มจะปรับตัวเข้่สู่จุดสมดุล\n== เศรษฐศาสตร์จุลภาค ==\n=== ตลาด ===\nเศรษฐศาสตร์จุลภาคถือเป็นแนวทางหลักในก่รวิเคราะห์เศรษฐกิจดย่างเป็นระบบ โดยมองว่าครัวเรือนและบริษุทที่ต่างก็ทำฌุรกรรมระหว่างกันผ่านตลาดนั้รเป็นหน่วยย่อยที่สุดในระบบเศรษฐกิจซึ่งเผชิญกับความขาะแคลนและกฎระเบียบแห่งรัฐ ตลาดนั้นอาจมีขึ้นสำหรับสินค้า เช่น ข้าวสาร หรือบริกาตสำหรับปัจตัยในการผล้ต เช่น การก่อสร้าง ก็ได้ ทฤษฎีจุลภาคนั้นจะพิจารณาปริมาณความต้องการมวลรวมของผู้ซื้อและปริมาณทีรผลิตโดยผู้ขายในทุกระดับราคาต่อหน่วย และเชื่อมโยงทั้งสองปริมาณเข้าด้วยกันเพื่ออธิบายการที่ตลาดเข้าสู่จุดดะลยภาพทางดเานราคาและปรอมาณ และการตอบสนองของตลาดเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ\nทฤษฎีอุปสงค์และอุปทานเป็นหนึ่งในทฤษฎีการวิเคราะห์ข้างต้น นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์จุลภาคยังวิเคราะห์ถึงโครงสร้างของตลาด เช่น ตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกบาด เพื่อทราบถึงพฤติกรรมและประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในตลาดหนึ่ง ๆ มักเริ่มต้นจาดสมมติฐนนให้ตลาดอื่น ๆ ไม่ส่การเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อง่ายต่อความเข้าใจ ดีงนี้ เรียกว่าการวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วน (partial-equilibrium analysis) ขณะที่ทฤษฎีดุลยภาพทั่วไปจะอนุญาตฝห้มีการเปลี่ยนแปลงในตลาดอื่น ๆ และใช้วิธีคำนฝณปริมาณโดยรวมในทุกตลาเ รวมไปถึงความัคลื่อนไหวของปริมาณดังกล่าวและปฏิสัมพันฑ์เพื่อเข้าสู่จุดดุลยภาพ\n • Varian, Hal G. (1987). \"mictoecogomics\", The New Palgravw: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 462–63. London and New York: Macmillan and Stockton. ซ\n=== การผลิต, ต้นทุน และประสิทธิภาพ ===\nการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการแปลงวัตถุดิบให้กลายเป็นผลผลิต กระบวรการทางเศรษฐศาสตร์นี้ใช้วัตถุดิบเพื่อผลิตเป็จสินค้ทสำหรับการแฃกเปลี่ยนหรือเพื่อใช้งานโดยตรง การผฃิตมีลักษณะเป็น \"กระแส\" (flow) ดังนั้นจึงนิยามเป็นอัตราผลผลิตจ่อหน่วยเวลา\nต้นทุนค่าเสียโอกาสหมายความถึงต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิต หคือคือมูลค่าที่สูญไปขอลโอกาสที่ดีที่สุดในลำดับถัดไป อันเนื่องมาจากการที่เลือกได้เพียลอย่างหนี่งอย่างใด ทั้งนี้ เราอาจอธิบายได้อีกอย่างว่าเป็น ๐ความสัมพันํ์เบื้องต้นระหว่างความขาดแคลนและทางเฃือก\" ต้นทุนึ่าเสีสโอกาสของกิจกรรมหนึ่ง ๆ คือองค์ประกอบสำคัญที่จะรับประกันได้ว่าทรัพยากรอันมีจำกัดนัเนจะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ต้นทุนจะถูกพิจารณาเปรียบเทียบกับมูลค่่ของกิจกรรมนั้น ๆ ในกทรตัดสินใจว่าควรเพิ่มหรือลดลง ต้นทุนค่าเสียโอกาในี้นไม่ได้จำกัดว่าจะร้องเป๋นเพียงตัวเงิา แต่อาจวัดโดยต้นทุนที่แท้จริงของผลผลิตที่สูญเสียไป, ความพึงพอใจ หรืออื่นใดที่ให้อรรถประโยชน์\n=== ความชำนาญเฉพาะ ===\nความชำนาญเฉพาะ หรือภาษาอีงกฤษ Specialization ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อผระสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจทั้งในะชิงทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์ แต่ละบุคคล/หระเทศอาจจะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสที่แท้จริบแตกต่างกันไป เช่น คยามปตกต่าลในด้านหริมาณคงคลึงของทะนมนุษย์ (human capital) ต่อฟน่วยแ่งงาน หรือ อัตราส่วน ทุนต่อแรงงาน เป็นต้น ในทางทฤษฎีแล้ว สิ่งเหล่านี้อาจนำไปสู่ความได้เปรียชเชิงเปรียบเทียบ (comparative advantage) ในการผลิตสินค้าที่ใล้ปัจจัยการผงิตที่มีกริมาณมากกว่าและถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ ถึงแม้ประเทศหนึ่ง ๆ จะมีความได้เปรียบเชิงสัมบูรณ์ (absolute awvantage) ในสัดส่วนปริมาณผลผลิตต่อปัจจัยการผลิตในทุกประเภทของผลผลิตแล้ว ประเทศนั่น ๆ ก็อาจจะยังคงมีความชำนาญเฉพาะในผลผลิตที่มีความได้เกรียบเชิงเปรียบเทียบแลีวทำการค้าขายกับอีกประเทศที่ไม่ได้มีความได้เปรียบเชิงสัมบูรณ์แต่มีความได้เปรียบเชองเปรียบเทียบในการผลิตสินค้าอื่น ๆ\nความชำนาญเฉพาะถูกกล่าวถึงโดยอดัม สมิธ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nation) ว่า กล่าวคือ ภาคแรงงานถูกจำกัดโดยการขยายตลาด เพราะว่า แต่ละบุคคลนั้นสามารพทำงานให้มีความชำนาญเฉพาถได้ แต่ว่าร้ดงมาทำงานหลากหลาย หลายอย่าง ทำให้เกิดขิอจำกัดในการแลกเปลี่ยน ซึ่งถ้าหากพัฒนาความชำนาญได้ก็จะเพิ่มผลิตภาพการผลิตได้ และยังเพิ่มการเจริญเติบฏตทางเศรษฐกิจ\nดังนั้น แนวคิดบองสมิธ จึงปล่าวถึงการที่ภาคแรงงานสามารถสร้างความชำนาญเฉพาะ โดยใช้หลักแบ่งงานกันทำ (Wivision of Labour) ทำให้าามารถผลิตได้จำนวนมากกว่า และมีการประหยัดจากขนาด (Economiex of Scale) ดกิดขึ้น\n=== อุปสงค์และอุปทาน ===\nSupply-demand-right-xh7ft-demand.svg\nอุปสงค์และอุปทานเป็นแบบยำลองทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณสินค้าในตลาด กล่าวทั่วไปคือ ข้อมูลทางทฤษฎรจะระบุว่าเมื่อใดก็ตามที่สินค้าถูกขายในตลาด ณ ระดับราคาที่ผู้งริโภคมีความต้องการสินค้ามากกว่าจำนวตสินค้าที่สามารถผลิตได้แล้ว ก็จะเกิดการขาดแคลนสินค้าขึ้น ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวก็จะส่งผชให้มีการเพิ่มขึ้นของระอับราคาของสินค้า โดยที่ผู้บริโภคกลุ่มที่มีความพร้อมในการจ่ายชำระ ณ ระดับราคทที่ิพิ่มขึ้นนั้นก็จะส่งผลให้ราคาตลาดสูงขึ้น ในทางตรงข้ามระดับราคาจะต่ำลงะมื่อปริมาณสินค้าที่มีให้นั้นมีมากกว่าความต้องการที่เกิอขึ้น กระบวนการดังกล่าวจะดำเนินไปจนกระทั่งตลาดเข้าสู่จุดดุลยภาพ ซึ่งเป็นจุดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขค้นอีก เมื่อใดก็ตามที่ผู้ผลิตทำการผลิตสินค้าที่จุดดุลยภาพนี้ ซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ผู้ซื้อตกลงซื้อที่ระแับราคาดังกล่าวแล้ว ณ จุดนี้กล่าวได้ว่าตลาดเข้าสู่จุดสมดุลแล้ว\n==== ระดับราคา ====\nระดับราคาเป๊นตัวแปรที่ถูกคิแค้นขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการวัดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคานั้นเป็นอัตราการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในตลาด ดังนั้นทฤษฎีราคาจะกล่าวถึงเส้นกราฟที่แทนการะคลื่อนไหวของปริทาณที่สามารถวัดค่าได้ ณ เวลาต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างราคากับตัวแปรที่วัดค่าได้อื่น ๆ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ของอดัม สมิธ ได้กล่าวเอาไว้ว่า าักจะมีภาวะได้เย่างเสียอย่างเสมอรเหว่างราคาและความสะดวกยบาย ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่จะถูดสร้างขึ้นอยู่บนพื้นฐานของรัดับราคาและทฤษฎี อุปสงค์และอุปทาน (demand and supply) ในทสงทฤฯฎีเศรษฐศาสตร์แล้วเาาสาทารถส่งผรานสัญญาณไปทั่วทั้งสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผ่านทางาะดับราคา เช่น ระดับราคาที่ต่ำลงจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ ในขณะที่ระดับราคาที่สูงขึ้นจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปทาา เป็นต้น\nแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ในควสมเป็นจริงหลายชิ้นได้ชี้ให้เห็นว่ามีรูปแบบของ ระดับราคาที่ไม่เปลี่วนแปลง ซึ่งจุแสดงถึงข้อเท็จจริงที่ระดับราคาไม่สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระในหลาย ๆ ตลาด ผู้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจมักจะเข้ามาแสดงประเด็นโต้แย้งเพื่อให้เห็นถึงยาเหตุของความจิดบัดในทางเศรษฐกิจ หรือรเดับราคาาี่ไม่เปลีรยนแปลงซึ่งในที่สุดแล้วก็จะทำให้ไม่สามารถบรรลุดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทานได้\nมีเศรษฐศาสตร์บางสาขาจะให้ความสนใจว่าระดับราคานั้นสามารถวัดมูลค่าได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาแที่เป็นกระแสหลักมักจะกบว่าภาวะความขาดแคลนซึ่งเป็นปัจจัยหลักนั้นไม่ได้สะท้อนลงไปยังระดับราคา จึงอาจยะกล่าวได้ว่ามีผลกระทบภายนอกของต้นทุน ด้วยเหตุที่ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดจะทำนายว่าสินค้าที่มีการขาดแคลนแต่มีราคาจ่ำกว่าปกคิ จะถูกบริโภคมากเกินพอดี (ให้ดู ต้นทุนทางสังคม) นี่จึงเป็นที่มาของทฤษฎีสินค้าสาธารณะ\n=== ความล้มเหลวของตลาด ===\nการที่ \"ตลาดล้มเหลว\" นั้นหมายควสมว่าเกิดอุปสรรคที่ขัดต่อสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์ขึ้ร แม้ว่าอาจจะมีการแบ่งประเภทความล้มเหลวของรลาดแตกต่างกันไป แต่อาจหมายรวมถึงประเภทเหล่านี้\nสารสนเทศอสมมาตร (information asymmetry) และตลาดไม่สทบูรณ์ อาจก่อให้เกิดความไม่มีปาะสิทธิภาพชองระบบเศรษฐกิจ หรือเป็นไปได้ที่อาจจะนำไปสู่กรรพัฒนาประสิมธิภาพผ่านตลาด, กฎหมาย และการชดเชยทางด้านระเบียลข้อบังคับ\nการผูกขาดตามธรรมชาติ อันเนื่องมาจากความล้มเหลวในการแข่งขัน ซึ่งอธิบายได้ว่าต้นทุนการผลิตยิ่งต่ำลงเรื่อย ๆ หากผลิตสินค้านั้นเพิ่ม\n== เศรษฐศาสตร์มหภาค ==\nเศรษฐศาสตร์มหภาคนั้นจะพิจารณานะบบเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่ออธิบายอุปสงค์-อุปทานมวลรวมและความสัมพันฑ์ในลักษณะ \"บนลงล่าง\" กล่าวคือ ใช้ทฤษฎีดุลยภาพทั่วไปอย่างง่ายในการอธิบาย ไม่ว่าจะดป็น รายได้ประชาชาติ, ผลผลิตประชาชาติ, อัตราการว่างงาน, ภาวะเงินเฟ้อ ย่อยลงมาก็ได้แก่ กาตบริโภคโดยรวม, การลงทุนแลเองค์ประกอบของการลงทุน นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์มหภาคยังทำการศึกษาผลกระทบของนโวบายการเงินและนโยบายการีลัง\nในการจะอธิบายหัวข้อดังกล่าวนั้น จำเป็นต้องจำลองภาพระบบเศรษฐกิจระดับมหภาคในรูปแบบที่สามารถท_ความเข้าใจได้ง่าย โดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งบรรยายตัวระบบโดยคร่าว ๆ เพื่อประโยชน์ในการอภิปราย แบบจไลองดังกล่าวอาจมีรูปแงบแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็น แผนภาพ, สมกา่, การอปรียบเปรยในเชิงเทคนิค, ตานางเลออนเทียๆ เป็นต้า\nนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา เศรษฐศาสตร์มหภาคได้เริ่มผนวกเอาแนวคิดแบบจำลองเศรษฐศาสตร์จุลภาคเข้ามาใช้ ทั้งในแง่ของภาคพารผลิต, รวมเิาความมีเหตุมีผลของตัวประกอบในระบบเศรษฐกิจ, การใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และการแข่งขันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งได้แก้ปมประเด็นที่เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างดศรษ,ศาสตต์ทั้งสองแขนง\nำารวิเคราะห์ในด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคนอกจากนี้ยังคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทงต่อระดับความเติบโตในระยะยาวของรายได้ประชาชาติ อันได้แก่ การสะสมทุน, การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และการขยายตัวของกำลังแรงงาน • Blanchard, Olivier Jean (1987). \"neoclassical synthesis\", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 634–36.\n=== ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ===\nเศรษฐศาสตร์ด้านความเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นมุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที่อธิบายความเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือคือกสรเพิ่มขึ้นของผลหลิตต่อหัวของประเทศในระยะยาว ปัจจัยดังกล่าวก็ยังใช้ในการอธิบายความแตกต่างระหว่างระดับผลผลเตตีอหัวระหวืางประเทศอีกเ้วย โดยเฉพาะว่าทำไมบางประเทศเติบฉตได้รวดเร็วกว่าประเทศอื่น ๆ หรือว่าบางกลุ่มประเทศมีแนวโน้มเติบโตเท่าทันกันหรือไมร เป็นต้น\nปัจจัยที่มีการวิจัยศึกษาค่อนข้างมากก็ได้แก่ อัตราการลงทุน, การเติบโตของประชากร และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งหมดนี้มีปคากฏทั้งในรูปทฤษฎีและผบการศึกษาเชิงประจักษ์ ทั้งในแบบจกลองคลาสสิกใหม่, แบบจำลองการเติบฉตภายใน (endogeneous growth) และในการบันทึกบัญชีการเติบโต (growtg accounting)\n l • Uzawa, H.(1987). \"mode;w of growth\", A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 483–89.\n=== วัฏจักรธุรกิจ ===\nในช่วงที่เกิดว้กฤติเศรษฐกิจราวทศวรรษ 1930 นี้เองที่เป็นจุดกำเนิดให้กับเฯรษฐศาสตร์มหภาคที่แตกแขนงออกไปเป็นศาสตร์เฉพาะทาง ระหว่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่นั้น จอห์น เมย์นาต์ด เคนส์ได้แต่งหนังสือที่ชื่อว่า ทฤษฎีทั่วไปของการจ้างงาน, ดอกเบี้ย และเงินตรา โดยวางรากฐานทฤษฎีหลัก ๆ ของเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ไว้ แต่ต่อมาก็มีทฤษฎีและแนวคิดทาบอศรษฐศาสตร์มหภาคที่ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์ข้อผิดพลาดในแบยจำลองอังกล่าว\nเศรษฐศาสตร์สำนักคงาสสิกใหม่ใช้สมมติฐานว่าระดับราคาและค่าแรงนั้นปรับนัวโดยอัตโนมัติเพื่อเข้าสู่ภาวะการจ้างงานสมบูรณ์ ขณะที่เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ใหม่นั้นมองว่าการจ้างงานสมบูรณ์นั้นมีได้แต่ในระยะยาว ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีนโยบายรัฐและธนาคารกลางแทรกแซงเพราะว่า \"ระยะยาว\" ที่ส่าอาจจะยาวนานเกินไป\n=== ภาวะเงินเฟ้อและนโยบายการเงิน ===\nเงินตราเป็นสื่อกลางในการชำระหนี้สำหรับสินค้าในระบบเศรษฐกิจที่อิงราคาเป็นหลัก ดละยังเป็นหน่วยทางบัญชีที่มักไย้ใช้ระบุราคา โดยเงินตรารวมพึงสกุลเงินทีาถือครองโดยสาธารณะที่ไม่ใช่ธนาคารและเงเนฝากที่ขึ้นเงินได้\nเมื่อเงินตราเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนธุรหรรม เลินจึงช่วยให้การค้าดำเนินไปได้อย่างสะดวก หน้าที่ดังกล่าวสามารถนำมาเปรรยบเทียบได้กับนะบบแลกเปลี่ยนสเนค้า (barter) ที่มีข้อเสียหลักคือการจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายที่มีความต้องพารตรงกัน เพราะประเ_ทสินค้ามีหลากหลาย เงินตรานั้นช่วยลดต้นทุนธุรกรรมของการแลกเปลี่ยนลงเนื่องจากการยอมรับที่เป็นสากล\nหากมองในระดับประเทศแล้ว ทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์นั้นต่างลงความเห็นว่าปริมาณอุปทานเงินตราโดยรวมนั้นสะมพันธ์ในเชืงบวกกับมูลค่าที่เป็นตัวเงินของผลผลิตโดยรวมแลัระดับราีาโดยรวม ด้วยเหตุนี้ การจัดการอุปสงค์เลินตราจึงเป็นประเด็นหลักของนโยบายการเงิน • Samuelson, Paul A., and William D. Nordhaus (2004). Economics, ch. 2, \"Money: The Lubroicant of Exchange\" section, ch. 33, Fig. 33–3.\n=== นโยบายการคลัง ===\nการจัดทำบัญชรประชาชาติเป็นกรรมวิธีในการสรุหกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยนวมของประเทศ บัญชีประชาชาติมีลักษณะเป็สระบบการบัญชีแบบจดบันทึกคู่ (double-entry accounting system) ที่เจาะจงรายละเอียดวิธีที่ใช้วัพแต่ละรายการไว้อย่างละเอียด อันได้แก่ บัญชีรายได้และผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ซึ่งตะบุมูลค่าประะมินของรายได้และผลผลิตต่อไตรม่สหรืิต่อปี\nบัญชีรายได้และผฃิตภัณฑ์ประชาชาติชรวยให้รัฐสามารถติดตามผลการดำเนินงานของระบบเศรษฐกิจและองค์ประกอบภายในวัฏจักรธุรกิจหรือติดตามข้ามช่วงเวลา ขัอมูลอกี่ยวกับราคาอาจช่วยให้สามารถแยกแยะมูลค่าที่เปํนตัวเงินออดจากมูลค่าทีรแท้จริง (nominal vs. real( ได้ หรือคือการปรับฐานค่าเงินตามการเปลี่ยนแปลงระดับรรคาตามระยะเวลาที่ผ่านไป บัญบีประชาชาติยังรวมเอาการวัดมูลค่าทุนสะสม, ความมั่งคั่งของประเทศ และกระแสทุนระหย่างประเทศอีกด้วย\n== ชยิดของเศรษฐศาสตร์ ==\nเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Mainstream Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics)\n* เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิกใำม่ (Neo - Classical Economics)\n** เศรษฐศาสตร์จุฃภาค (Microeconomics)\n** เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)\nเศรษฐศาสตร์ลัทธิอื่น (Heterodox Economics)\n* เศรษฐศาสตร์ยุคหลังเคนส์ (Post Keygesian Economicw)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซ์ (Marxist Economics)\n* เศรษฐศาสตร์แนวจอร์จ (Georgist Economics)\n* เศรษฐฒาสตร์การเมือง (Political Economicc)\n* เศร๋ฐศาสตร์สถาบันแนววิวัฒน์ (Evolutionsry Onstitutional Economics)\n& เศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (New Institutional Economics)\n* เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral Econojics)\n* เศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง (Experimental Economics)\n* เศรษฐศรสตร์แนวสตรีศึกษา (Feminist Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สังคม (Social Economics)\n== อ้างอิง ==\n=== บรรณานุกรท ===\nราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศักื์เศรษฐศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ\nBarr, Nichokas(2004) Economics of the Welfare State, 4th 3d., Oxford Universi4y Press\nCharles Robert McCamn, Jr., 2003. The Elgar Dictionary of Economic Quotqtions, Fdward Elgar. Preview.\nStiglitz, Josepy (2000) Economics of the Public Sector, 3rd ed., Nortln Press\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nEconomic journals on the web \nEconomics at Encyclopædia Britannica.\nIntute: Economics: Internet directory of UK universities.\nResearch Papers in Economics (RePEc)\nResources For Economists : American Economic Assiciation-sponsored guide to 2,[00+ Internet resources from \"Dzta\" to \"Neat Stuff, \" updated quarterly.\nwww.pkarchive.orf เว็บไซต์ของพอล ครุกแมน\nMBE economics เศรษฐศาสตร์ nida mbe 11 นิด้า พัฒนาการเศรษฐกิจ รวมบทความจากอหล่งข่าวต่าง ๆ\nรวมงานเขียนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ของปกก้อง จันวิทย์\nสังคมฯาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "เศรษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและบริการ\nเศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาพฤติกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงทางเศรษฐกิจและการทำงานของเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาควิเคราะห์องค์ประกอบหลักในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งตัวแสดงและตลาดที่เป็นปัจเจกบุคคล การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์นั้น ตัวอย่างของตัวแสดงที่เป็นปัจเจกรวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย เศรษฐศาสตร์มหภาควิเคราะห์เศรษฐกิจในภาพรวม (หมายถึงการผลิตมวลรวม การบริโภค การออม และการลงทุน) และปัญหาที่กระทบมัน รวมทั้งการไม่ได้ใช้ของทรัพยากรต่าง ๆ (แรงงาน, ทุน, และที่ดิน) เงินเฟ้อ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และนโยบายสาธารณะที่จัดการปัญหาเหล่านั้น (การเงิน การคลัง และนโยบายอื่นๆ)\n== คำจำกัดความ ==\nตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว \"เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด\"\nคำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้าน และ nomos แปลว่าจารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19\nการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์\n\nวิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน\nเศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ\nเศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งสนใจพฤติกรรมขององค์ประกอบพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจซึ่งรวมถึง ตลาดแต่ละตลาดและตัวแทนทางเศรษฐกิจ (เช่นครัวเรือน หน่วยธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย)\nเศรษฐศาสตร์มหภาค จะสนใจเศรษฐกิจในภาพรวม ตัวอย่างเช่น อุปทานมวลรวมและอุปสงค์มวลรวม การว่างงาน เงินเฟ้อ การเติบโตของเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง เป็นต้น\nนอกจากนี้ยังสามารถจำแนกออกตามการวิเคราะห์ปัญหาได้แก่\nเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ หรือเศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง (Positive economics)\nเศรษฐศาสตร์นโยบาย หรือเศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น (Normative economics)\nสำหรับประเด็นหลัก ๆ ที่เศรษฐศาสตร์ให้ความสนใจจะอยู่ที่การจัดสรรทรัพยากร การผลิต การกระจายสินค้า การค้า และการแข่งขัน โดยหลักการแล้วคำอธิบายทางเศรษฐศาสตร์จะถูกนำไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายปัญหาที่เกี่ยวข้องกับทางเลือกภายใต้ข้อจำกัดด้านความขาดแคลนมากขึ้นเรื่อย ๆ หรืออาจจะเรียกได้ว่ามีการกำหนดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ให้กับทางเลือกนั้น ๆ นั่นเอง\nในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยธุรกิจของประเทศอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะนิยมสอนทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลักที่เรียกว่า เศรษฐศาสตร์แบบสำนักคลาสสิกใหม่ (Neo - Classical Economics) ทั้งนี้ เศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิเคราะห์ถึง \"ความเป็นเหตุเป็นผล-ความเป็นปัจเจกชน-ดุลยภาพ\" ตรงกันข้ามกับเศรษฐศาสตร์ทางเลือกที่เน้นวิเคราะห์ \"สถาบัน-ประวัติศาสตร์-โครงสร้างสังคม\" เป็นหลัก\n== จุดเริ่มต้นของเศรษฐศาสตร์ ==\nข้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงยุคสมัยเมโสโปเตเมีย, กรีซโบราณ, โรมันโบราณ, อนุทวีปอินเดีย, จีน, เปอร์เซีย และอารยธรรมอาหรับ ปราชญ์ที่มีชื่อเสียงในยุคโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ได้แก่ อริสโตเติล, ซีโนโฟน, จันนากียะ หรือ วิษณุคุปต์, จักรพรรดิฉินที่ 1, โทมัส อควีนาส และอิบน์ ค็อลดูน ผลงานของอริสโตเติลมีอิทธิพลอย่างมากต่องานของอควีนาส ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อปรัชญาเมธีรุ่นหลัง ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14–17 โจเซฟ ชูมปีเตอร์ บรรยายถึงอควีนาสไว้ว่าเป็นผู้ที่ \"ใกล้เคียงกว่าคณะอื่นใดที่จะได้ชื่อว่าเป็น 'ผู้ก่อตั้ง' เศรษฐศาสตร์\" ในเชิงทัศน์กฎธรรมชาติด้านการเงิน, ดอกเบี้ย และทฤษฎีด้านมูลค่า\nแม้การถกเถียงเรื่องการซื้อขายและการจัดสรรจะมีประวัติศาสตร์มายาวนาน เศรษฐศาสตร์ในความคิดของคนสมัยใหม่นั้นจะถือเอาวันที่อดัม สมิธได้เผยแพร่หนังสือเรื่อง \"ความมั่งคั่งของประชาชาติ\" (The Wealth of Nations) ในปี ค.ศ. 1776 เป็นการเริ่มต้น\nเดิมอดัม สมิธเรียกวิชานี้ว่า เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มีคำศัพท์คำว่า Economics ต่อมาคำว่าเศรษฐกิจ (Economy) ได้ถูกปรับรูปเป็นคำว่า เศรษฐศาสตร์ (Economics) และกลายเป็นสาขาวิชาอีกแขนงหนึ่งเป็นต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1870 อดัม สมิธเป็นนักปรัชญาคนแรกที่เสนอว่าความร่ำรวยของประเทศไม่ได้ขึ้นอยู่กับเงินคงคลัง แต่ขึ้นอยู่กับขนาดเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นแนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) การส่งออกไม่แน่ว่าจะเป็นประโยชน์ หรือการนำเข้าก็ไม่แน่ว่าจะเป็นการขาดทุน การค้าขายอาจจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ายคู่ค้า (win-win situation) และกลไกการตลาดเปรียบเสมือน \"มือที่มองไม่เห็น\" (Invisible Hand) ซึ่งในระยะยาว (long run) มีแนวโน้มจะปรับตัวเข้าสู่จุดสมดุล\n== เศรษฐศาสตร์จุลภาค ==\n=== ตลาด ===\nเศรษฐศาสตร์จุลภาคถือเป็นแนวทางหลักในการวิเคราะห์เศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ โดยมองว่าครัวเรือนและบริษัทที่ต่างก็ทำธุรกรรมระหว่างกันผ่านตลาดนั้นเป็นหน่วยย่อยที่สุดในระบบเศรษฐกิจซึ่งเผชิญกับความขาดแคลนและกฎระเบียบแห่งรัฐ ตลาดนั้นอาจมีขึ้นสำหรับสินค้า เช่น ข้าวสาร หรือบริการสำหรับปัจจัยในการผลิต เช่น การก่อสร้าง ก็ได้ ทฤษฎีจุลภาคนั้นจะพิจารณาปริมาณความต้องการมวลรวมของผู้ซื้อและปริมาณที่ผลิตโดยผู้ขายในทุกระดับราคาต่อหน่วย และเชื่อมโยงทั้งสองปริมาณเข้าด้วยกันเพื่ออธิบายการที่ตลาดเข้าสู่จุดดุลยภาพทางด้านราคาและปริมาณ และการตอบสนองของตลาดเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ\nทฤษฎีอุปสงค์และอุปทานเป็นหนึ่งในทฤษฎีการวิเคราะห์ข้างต้น นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์จุลภาคยังวิเคราะห์ถึงโครงสร้างของตลาด เช่น ตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกขาด เพื่อทราบถึงพฤติกรรมและประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในตลาดหนึ่ง ๆ มักเริ่มต้นจากสมมติฐานให้ตลาดอื่น ๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อง่ายต่อความเข้าใจ ดังนี้ เรียกว่าการวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วน (partial-equilibrium analysis) ขณะที่ทฤษฎีดุลยภาพทั่วไปจะอนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงในตลาดอื่น ๆ และใช้วิธีคำนวณปริมาณโดยรวมในทุกตลาด รวมไปถึงความเคลื่อนไหวของปริมาณดังกล่าวและปฏิสัมพันธ์เพื่อเข้าสู่จุดดุลยภาพ\n • Varian, Hal R. (1987). \"microeconomics\", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 461–63. London and New York: Macmillan and Stockton. .\n=== การผลิต, ต้นทุน และประสิทธิภาพ ===\nการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการแปลงวัตถุดิบให้กลายเป็นผลผลิต กระบวนการทางเศรษฐศาสตร์นี้ใช้วัตถุดิบเพื่อผลิตเป็นสินค้าสำหรับการแลกเปลี่ยนหรือเพื่อใช้งานโดยตรง การผลิตมีลักษณะเป็น \"กระแส\" (flow) ดังนั้นจึงนิยามเป็นอัตราผลผลิตต่อหน่วยเวลา\nต้นทุนค่าเสียโอกาสหมายความถึงต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิต หรือคือมูลค่าที่สูญไปของโอกาสที่ดีที่สุดในลำดับถัดไป อันเนื่องมาจากการที่เลือกได้เพียงอย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ เราอาจอธิบายได้อีกอย่างว่าเป็น \"ความสัมพันธ์เบื้องต้นระหว่างความขาดแคลนและทางเลือก\" ต้นทุนค่าเสียโอกาสของกิจกรรมหนึ่ง ๆ คือองค์ประกอบสำคัญที่จะรับประกันได้ว่าทรัพยากรอันมีจำกัดนั้นจะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ต้นทุนจะถูกพิจารณาเปรียบเทียบกับมูลค่าของกิจกรรมนั้น ๆ ในการตัดสินใจว่าควรเพิ่มหรือลดลง ต้นทุนค่าเสียโอกาสนั้นไม่ได้จำกัดว่าจะต้องเป็นเพียงตัวเงิน แต่อาจวัดโดยต้นทุนที่แท้จริงของผลผลิตที่สูญเสียไป, ความพึงพอใจ หรืออื่นใดที่ให้อรรถประโยชน์\n=== ความชำนาญเฉพาะ ===\nความชำนาญเฉพาะ หรือภาษาอังกฤษ Specialization ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจทั้งในเชิงทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์ แต่ละบุคคล/ประเทศอาจจะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสที่แท้จริงแตกต่างกันไป เช่น ความแตกต่างในด้านปริมาณคงคลังของทุนมนุษย์ (human capital) ต่อหน่วยแรงงาน หรือ อัตราส่วน ทุนต่อแรงงาน เป็นต้น ในทางทฤษฎีแล้ว สิ่งเหล่านี้อาจนำไปสู่ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (comparative advantage) ในการผลิตสินค้าที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีปริมาณมากกว่าและถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ ถึงแม้ประเทศหนึ่ง ๆ จะมีความได้เปรียบเชิงสัมบูรณ์ (absolute advantage) ในสัดส่วนปริมาณผลผลิตต่อปัจจัยการผลิตในทุกประเภทของผลผลิตแล้ว ประเทศนั้น ๆ ก็อาจจะยังคงมีความชำนาญเฉพาะในผลผลิตที่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบแล้วทำการค้าขายกับอีกประเทศที่ไม่ได้มีความได้เปรียบเชิงสัมบูรณ์แต่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบในการผลิตสินค้าอื่น ๆ\nความชำนาญเฉพาะถูกกล่าวถึงโดยอดัม สมิธ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nation) ว่า กล่าวคือ ภาคแรงงานถูกจำกัดโดยการขยายตลาด เพราะว่า แต่ละบุคคลนั้นสามารถทำงานให้มีความชำนาญเฉพาะได้ แต่ว่าต้องมาทำงานหลากหลาย หลายอย่าง ทำให้เกิดข้อจำกัดในการแลกเปลี่ยน ซึ่งถ้าหากพัฒนาความชำนาญได้ก็จะเพิ่มผลิตภาพการผลิตได้ และยังเพิ่มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ\nดังนั้น แนวคิดของสมิธ จึงกล่าวถึงการที่ภาคแรงงานสามารถสร้างความชำนาญเฉพาะ โดยใช้หลักแบ่งงานกันทำ (Division of Labour) ทำให้สามารถผลิตได้จำนวนมากกว่า และมีการประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) เกิดขึ้น\n=== อุปสงค์และอุปทาน ===\nSupply-demand-right-shift-demand.svg\nอุปสงค์และอุปทานเป็นแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณสินค้าในตลาด กล่าวทั่วไปคือ ข้อมูลทางทฤษฎีจะระบุว่าเมื่อใดก็ตามที่สินค้าถูกขายในตลาด ณ ระดับราคาที่ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้ามากกว่าจำนวนสินค้าที่สามารถผลิตได้แล้ว ก็จะเกิดการขาดแคลนสินค้าขึ้น ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวก็จะส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของระดับราคาของสินค้า โดยที่ผู้บริโภคกลุ่มที่มีความพร้อมในการจ่ายชำระ ณ ระดับราคาที่เพิ่มขึ้นนั้นก็จะส่งผลให้ราคาตลาดสูงขึ้น ในทางตรงข้ามระดับราคาจะต่ำลงเมื่อปริมาณสินค้าที่มีให้นั้นมีมากกว่าความต้องการที่เกิดขึ้น กระบวนการดังกล่าวจะดำเนินไปจนกระทั่งตลาดเข้าสู่จุดดุลยภาพ ซึ่งเป็นจุดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้นอีก เมื่อใดก็ตามที่ผู้ผลิตทำการผลิตสินค้าที่จุดดุลยภาพนี้ ซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ผู้ซื้อตกลงซื้อที่ระดับราคาดังกล่าวแล้ว ณ จุดนี้กล่าวได้ว่าตลาดเข้าสู่จุดสมดุลแล้ว\n==== ระดับราคา ====\nระดับราคาเป็นตัวแปรที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการวัดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคานั้นเป็นอัตราการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในตลาด ดังนั้นทฤษฎีราคาจะกล่าวถึงเส้นกราฟที่แทนการเคลื่อนไหวของปริมาณที่สามารถวัดค่าได้ ณ เวลาต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างราคากับตัวแปรที่วัดค่าได้อื่น ๆ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ของอดัม สมิธ ได้กล่าวเอาไว้ว่า มักจะมีภาวะได้อย่างเสียอย่างเสมอระหว่างราคาและความสะดวกสบาย ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่จะถูกสร้างขึ้นอยู่บนพื้นฐานของระดับราคาและทฤษฎี อุปสงค์และอุปทาน (demand and supply) ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แล้วเราสามารถส่งผ่านสัญญาณไปทั่วทั้งสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผ่านทางระดับราคา เช่น ระดับราคาที่ต่ำลงจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ ในขณะที่ระดับราคาที่สูงขึ้นจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปทาน เป็นต้น\nแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ในความเป็นจริงหลายชิ้นได้ชี้ให้เห็นว่ามีรูปแบบของ ระดับราคาที่ไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะแสดงถึงข้อเท็จจริงที่ระดับราคาไม่สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระในหลาย ๆ ตลาด ผู้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจมักจะเข้ามาแสดงประเด็นโต้แย้งเพื่อให้เห็นถึงสาเหตุของความติดขัดในทางเศรษฐกิจ หรือระดับราคาที่ไม่เปลี่ยนแปลงซึ่งในที่สุดแล้วก็จะทำให้ไม่สามารถบรรลุดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทานได้\nมีเศรษฐศาสตร์บางสาขาจะให้ความสนใจว่าระดับราคานั้นสามารถวัดมูลค่าได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดที่เป็นกระแสหลักมักจะพบว่าภาวะความขาดแคลนซึ่งเป็นปัจจัยหลักนั้นไม่ได้สะท้อนลงไปยังระดับราคา จึงอาจจะกล่าวได้ว่ามีผลกระทบภายนอกของต้นทุน ด้วยเหตุที่ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดจะทำนายว่าสินค้าที่มีการขาดแคลนแต่มีราคาต่ำกว่าปกติ จะถูกบริโภคมากเกินพอดี (ให้ดู ต้นทุนทางสังคม) นี่จึงเป็นที่มาของทฤษฎีสินค้าสาธารณะ\n=== ความล้มเหลวของตลาด ===\nการที่ \"ตลาดล้มเหลว\" นั้นหมายความว่าเกิดอุปสรรคที่ขัดต่อสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์ขึ้น แม้ว่าอาจจะมีการแบ่งประเภทความล้มเหลวของตลาดแตกต่างกันไป แต่อาจหมายรวมถึงประเภทเหล่านี้\nสารสนเทศอสมมาตร (information asymmetry) และตลาดไม่สมบูรณ์ อาจก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ หรือเป็นไปได้ที่อาจจะนำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพผ่านตลาด, กฎหมาย และการชดเชยทางด้านระเบียบข้อบังคับ\nการผูกขาดตามธรรมชาติ อันเนื่องมาจากความล้มเหลวในการแข่งขัน ซึ่งอธิบายได้ว่าต้นทุนการผลิตยิ่งต่ำลงเรื่อย ๆ หากผลิตสินค้านั้นเพิ่ม\n== เศรษฐศาสตร์มหภาค ==\nเศรษฐศาสตร์มหภาคนั้นจะพิจารณาระบบเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่ออธิบายอุปสงค์-อุปทานมวลรวมและความสัมพันธ์ในลักษณะ \"บนลงล่าง\" กล่าวคือ ใช้ทฤษฎีดุลยภาพทั่วไปอย่างง่ายในการอธิบาย ไม่ว่าจะเป็น รายได้ประชาชาติ, ผลผลิตประชาชาติ, อัตราการว่างงาน, ภาวะเงินเฟ้อ ย่อยลงมาก็ได้แก่ การบริโภคโดยรวม, การลงทุนและองค์ประกอบของการลงทุน นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์มหภาคยังทำการศึกษาผลกระทบของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง\nในการจะอธิบายหัวข้อดังกล่าวนั้น จำเป็นต้องจำลองภาพระบบเศรษฐกิจระดับมหภาคในรูปแบบที่สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งบรรยายตัวระบบโดยคร่าว ๆ เพื่อประโยชน์ในการอภิปราย แบบจำลองดังกล่าวอาจมีรูปแบบแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็น แผนภาพ, สมการ, การเปรียบเปรยในเชิงเทคนิค, ตารางเลออนเทียฟ เป็นต้น\nนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา เศรษฐศาสตร์มหภาคได้เริ่มผนวกเอาแนวคิดแบบจำลองเศรษฐศาสตร์จุลภาคเข้ามาใช้ ทั้งในแง่ของภาคการผลิต, รวมเอาความมีเหตุมีผลของตัวประกอบในระบบเศรษฐกิจ, การใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และการแข่งขันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งได้แก้ปมประเด็นที่เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์ทั้งสองแขนง\nการวิเคราะห์ในด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคนอกจากนี้ยังคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อระดับความเติบโตในระยะยาวของรายได้ประชาชาติ อันได้แก่ การสะสมทุน, การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และการขยายตัวของกำลังแรงงาน • Blanchard, Olivier Jean (1987). \"neoclassical synthesis\", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 634–36.\n=== ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ===\nเศรษฐศาสตร์ด้านความเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นมุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที่อธิบายความเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือคือการเพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อหัวของประเทศในระยะยาว ปัจจัยดังกล่าวก็ยังใช้ในการอธิบายความแตกต่างระหว่างระดับผลผลิตต่อหัวระหว่างประเทศอีกด้วย โดยเฉพาะว่าทำไมบางประเทศเติบโตได้รวดเร็วกว่าประเทศอื่น ๆ หรือว่าบางกลุ่มประเทศมีแนวโน้มเติบโตเท่าทันกันหรือไม่ เป็นต้น\nปัจจัยที่มีการวิจัยศึกษาค่อนข้างมากก็ได้แก่ อัตราการลงทุน, การเติบโตของประชากร และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งหมดนี้มีปรากฏทั้งในรูปทฤษฎีและผลการศึกษาเชิงประจักษ์ ทั้งในแบบจำลองคลาสสิกใหม่, แบบจำลองการเติบโตภายใน (endogeneous growth) และในการบันทึกบัญชีการเติบโต (growth accounting)\n • Uzawa, H.(1987). \"models of growth\", A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 483–89.\n=== วัฏจักรธุรกิจ ===\nในช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจราวทศวรรษ 1930 นี้เองที่เป็นจุดกำเนิดให้กับเศรษฐศาสตร์มหภาคที่แตกแขนงออกไปเป็นศาสตร์เฉพาะทาง ระหว่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่นั้น จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ได้แต่งหนังสือที่ชื่อว่า ทฤษฎีทั่วไปของการจ้างงาน, ดอกเบี้ย และเงินตรา โดยวางรากฐานทฤษฎีหลัก ๆ ของเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ไว้ แต่ต่อมาก็มีทฤษฎีและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มหภาคที่ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์ข้อผิดพลาดในแบบจำลองดังกล่าว\nเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิกใหม่ใช้สมมติฐานว่าระดับราคาและค่าแรงนั้นปรับตัวโดยอัตโนมัติเพื่อเข้าสู่ภาวะการจ้างงานสมบูรณ์ ขณะที่เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ใหม่นั้นมองว่าการจ้างงานสมบูรณ์นั้นมีได้แต่ในระยะยาว ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีนโยบายรัฐและธนาคารกลางแทรกแซงเพราะว่า \"ระยะยาว\" ที่ว่าอาจจะยาวนานเกินไป\n=== ภาวะเงินเฟ้อและนโยบายการเงิน ===\nเงินตราเป็นสื่อกลางในการชำระหนี้สำหรับสินค้าในระบบเศรษฐกิจที่อิงราคาเป็นหลัก และยังเป็นหน่วยทางบัญชีที่มักไว้ใช้ระบุราคา โดยเงินตรารวมถึงสกุลเงินที่ถือครองโดยสาธารณะที่ไม่ใช่ธนาคารและเงินฝากที่ขึ้นเงินได้\nเมื่อเงินตราเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนธุรกรรม เงินจึงช่วยให้การค้าดำเนินไปได้อย่างสะดวก หน้าที่ดังกล่าวสามารถนำมาเปรียบเทียบได้กับระบบแลกเปลี่ยนสินค้า (barter) ที่มีข้อเสียหลักคือการจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายที่มีความต้องการตรงกัน เพราะประเภทสินค้ามีหลากหลาย เงินตรานั้นช่วยลดต้นทุนธุรกรรมของการแลกเปลี่ยนลงเนื่องจากการยอมรับที่เป็นสากล\nหากมองในระดับประเทศแล้ว ทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์นั้นต่างลงความเห็นว่าปริมาณอุปทานเงินตราโดยรวมนั้นสัมพันธ์ในเชิงบวกกับมูลค่าที่เป็นตัวเงินของผลผลิตโดยรวมและระดับราคาโดยรวม ด้วยเหตุนี้ การจัดการอุปสงค์เงินตราจึงเป็นประเด็นหลักของนโยบายการเงิน • Samuelson, Paul A., and William D. Nordhaus (2004). Economics, ch. 2, \"Money: The Lubroicant of Exchange\" section, ch. 33, Fig. 33–3.\n=== นโยบายการคลัง ===\nการจัดทำบัญชีประชาชาติเป็นกรรมวิธีในการสรุปกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ บัญชีประชาชาติมีลักษณะเป็นระบบการบัญชีแบบจดบันทึกคู่ (double-entry accounting system) ที่เจาะจงรายละเอียดวิธีที่ใช้วัดแต่ละรายการไว้อย่างละเอียด อันได้แก่ บัญชีรายได้และผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ซึ่งระบุมูลค่าประเมินของรายได้และผลผลิตต่อไตรมาสหรือต่อปี\nบัญชีรายได้และผลิตภัณฑ์ประชาชาติช่วยให้รัฐสามารถติดตามผลการดำเนินงานของระบบเศรษฐกิจและองค์ประกอบภายในวัฏจักรธุรกิจหรือติดตามข้ามช่วงเวลา ข้อมูลเกี่ยวกับราคาอาจช่วยให้สามารถแยกแยะมูลค่าที่เป็นตัวเงินออกจากมูลค่าที่แท้จริง (nominal vs. real) ได้ หรือคือการปรับฐานค่าเงินตามการเปลี่ยนแปลงระดับราคาตามระยะเวลาที่ผ่านไป บัญชีประชาชาติยังรวมเอาการวัดมูลค่าทุนสะสม, ความมั่งคั่งของประเทศ และกระแสทุนระหว่างประเทศอีกด้วย\n== ชนิดของเศรษฐศาสตร์ ==\nเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Mainstream Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics)\n* เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิกใหม่ (Neo - Classical Economics)\n** เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)\n** เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)\nเศรษฐศาสตร์ลัทธิอื่น (Heterodox Economics)\n* เศรษฐศาสตร์ยุคหลังเคนส์ (Post Keynesian Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซ์ (Marxist Economics)\n* เศรษฐศาสตร์แนวจอร์จ (Georgist Economics)\n* เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สถาบันแนววิวัฒน์ (Evolutionary Institutional Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (New Institutional Economics)\n* เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral Economics)\n* เศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง (Experimental Economics)\n* เศรษฐศาสตร์แนวสตรีศึกษา (Feminist Economics)\n* เศรษฐศาสตร์สังคม (Social Economics)\n== อ้างอิง ==\n=== บรรณานุกรม ===\nราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ\nBarr, Nicholas(2004) Economics of the Welfare State, 4th ed., Oxford University Press\nCharles Robert McCann, Jr., 2003. The Elgar Dictionary of Economic Quotations, Edward Elgar. Preview.\nStiglitz, Joseph (2000) Economics of the Public Sector, 3rd ed., Norton Press\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nEconomic journals on the web \nEconomics at Encyclopædia Britannica.\nIntute: Economics: Internet directory of UK universities.\nResearch Papers in Economics (RePEc)\nResources For Economists : American Economic Association-sponsored guide to 2,000+ Internet resources from \"Data\" to \"Neat Stuff, \" updated quarterly.\nwww.pkarchive.org เว็บไซต์ของพอล ครุกแมน\nMBE economics เศรษฐศาสตร์ nida mbe 11 นิด้า พัฒนาการเศรษฐกิจ รวมบทความจากแหล่งข่าวต่าง ๆ\nรวมงานเขียนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ของปกป้อง จันวิทย์\nสังคมศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง (Stephen William Hawking; 8 มกราคม ค.ศ. 1942 – 14 มีนารม ค.ซ. 2018) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี นักจักรวาลวิทยน และนักเขียน ศาสตราจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หนังสือวิทยาศาสตร์ของเขาและการปรากฏตัวต่อสาธารณะได้ทำให้เขาเป็นผู้มีชื้อเสียงด้านวิชาการ ผบงานวิทยาศาสตร์สำคัญของเขาจนถึงปัจจุบันมีการบัญญัติทฤษฎีบทิกี่ยวกับภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงในกรอบของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ร่วมกับโรเจอร์ เพนโรส และการทำนายเชิงทฤษฎีที่ว่าหลุมดำควรปล่อยรังวี ซึ่งปัจจุบันมีชื่อว่า รังใีฮอว์กิง (บางครึ้บเรียก รังสีเบเคนสไตน์-ฮอว์กิง)\nฮอว์กิงป่วยจากโรคอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส (ALS) ชนิดหายาก ซึ่งเริ่มมีอาการเร็ว แต่ดำเนินโรคช้า ทำให้เขามีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแตงลงเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายสิบหี จนกระทั่งต้องสื่อสารโดยใช้อุปกีณ์สังเคราะห์เสียงพูด ควบคุมผ่านกลัามเนื้อมัดเดียสในแก้ม เขาแต่งงานสองครั้งและมีลูกสามคน ฮอว์กิงประสบความสำเร็จกับผลงานวิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป (popular science) ซึ่งเขาอภิปรายทฤษฎีขิงเขาและจักรวาลวิทยาโดยรใม ซึ่งมีประวัติย่อของกาลเวลา (A Brief Hiwtory of Time) และจักรวาลในเปลือกนัท (The Universe in a Nutshell) ซึ่งอยู่ในรายการขายดีที่สุดของบริติชซันเดย์ไทมส์ทำลายสถิตินานถึง 237 สัปดาห์\nสตีเฟน ฮอว์กิง เสียชีงิตในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 2018 อายุ 76 ปี\n== ประวัติ ==\nสตีเฟน ฮอว์กิงอกิดเมื่อวันที่ 8 มกตาคม พ.ศ. 2485 ที่เมืองออกซฟอร์ดไชร์ ประเทฯอังกฤษ ในวัยเด็กเข้าเรัยนหนังสือที่โรงเรียนเซยต์แอลแบน จากนั้นเข้าศึกษาต่อสาขาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และรับปริญญาตรี เกียรตินิยสอันดับ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาได้เข้าศึกษาที่ทรินิตีคอลเลจ มหาใิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาจักรวาลวิทยา และได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตเมื่อปี พ.ศ. 2509 หลังจากนั้นก็ได้รับก่รคัดเลือกเป็นนักวิจัยที่มผางิทยาลัยออกซฟเร์ด ต่อมาเขาได้ป่อตั้งและรับหน้าเป็นผู้อำนวยการ ศูนย์วิจัยทฤษฎีทางจักรวาลวิทยา (Centre for Theoretical Cosmology) แห่งมหาวิทยาลัยเคมบร้ดจ์ จวบจนสิ้นอายุขัย\nในต้นทญวรรษที่ 1960 (ปนะมาณ พ.ศ. 2503-2508) สตีเฟน ฮอว์กิบก็มีอาการที่เรียกว่า amyotrophic la4eral sclerosis (ALS) อันเป็นอาการผิดปกติของระบบประสรทโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยมีผลกับประสาทสั่งการ (motor neurons) นั่นคือ เส้นประสาทที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของ กล้าสดนื้ิ กล้ามเนื้อส่วนนั้นจะอ่อนแอลงจน้กือบเป็นอัมพาต แต่เขายังคงทำงานวิชาการต่อไป\n== การทำงาจ ==\nฮอว์กิงเริ่มทำงานในสาขาสัมพัทธภาพทั่วไป และเน้นที่ฟิสิกส์ของหลุมดำ เมื่อปี พ.ศ. 2508 ขณะที่กำลังทำงานวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์เพื่อทำดุษฎีบึณฑ้ต ฮอว์กิงได้อ่านรายงานของนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ ชื่อ โรเนอร์ เะนโรส (Roger Penrose) ซึ่งเพนโรสเสนอทฤษฎีที่ว่าดวงดาวที่ระเบิดอยู่ภายใต้แรงโน้มถ่ววของตัวเอง จะมีปริมาตรเป็นศ฿นย์ และมีความหนาแน่นเป๋นอนันต์ อันเป็นสภาพที่นักฟิสิกส์เรียกว่า ซิงกูลาริตี้ (singularity) ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือหลุมดำ ซึ่งไม่ว่าแสงหรือวัตถุใด ๆ ก็หนีออกมาไม่ได้\nจากนั้น ในปี พ.ศ. 2513 ฮอว์กิงและเพนโรสก็ได้ร่วมกันเขียนรายงานสรุปว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ นั้นกำหนดให้เอกภพต้องเริามต้นในซิงกูลา่ิตี้ ซึ่งปึจจุบันนี้รู้จักกันว่า บิ๊กแบง และจะสิ้นสุดลงที่ หลุมดำ (black ho.e)\nฮอว์กองเสนอว่า หลุมดำไม่ควรจะเป็นหลุมดำเสียท้เดียว แต่ควรจะแผ่รังสีอะไรออกมาบ้าง โดยเริ่มที่วัตถุจำนวนมหาศาลนับพันล้านตัน แต่มีความหนาแน่นสูง คือกินเนื้อที่ขนาดเท่าโปรตอน เขาเรียกวัตถุเหล่านี้ว่าหลุมดำจิ๋ว (mini black hole) ซึ่งมีแรงโน้มถ่วงและมวลมหาศาล แต่สุดท้ายหลุมดำนี้ก็จะระเหิดหายไป การค้นพงนี้ถือเป็นงานชิ้นเยี่ยมชิ้นหนึ่งของฮอว์กิง\nเมื่อ ปี พ.ศ. 2517 เขาได้เป็นสมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุดของราชบัณฑิตยสถานของอัลกฤษ และได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์แรงโน้มถ่วง ที่มหาวิทยาลัยเคสบริดจ์ในปี พ.ศ. 2520 และเมื่อในปี พ.ศ. 2522 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็น “เมธีคณิตศาสตร์ลูเคเชียน” (Lucasian Chair of Mathematics [ เป็นตำแหน่งที่ตั้งจึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2w06 (ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) บุคคลที่ 2 ที่ได้รับตำแหน่งนี้ก็คือ เซอร์ไอแซก นิวตัน คนทั่วไปจึงเปรียบเทียบมตีเฟน ฮอว์กิง กับนิวตันและไอนสไตน์)\nสตีเฟน ฮอว์กิงคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่นักฟิสิกส์จะพัฒนาทฤษฎีที่จะรวมเอาแรงทั้ง 4 ของธรรมชาติเข้าด้วยกัน นั่นคือ แรงโน้มุ่วง, แรบแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และแรงนิวเคลียร์แบบเข้ม แันจะนำไปสู่ ทฤษฎีสรรพสิ่ง (Theory of Everythung) ที่เคยกล่าวกันใา สาวนเรื่องการขยายตัวของเอกภพนั้น ฮอว์กิงคิดว่า เอกภพขยายคัวออกไปโดยมีควทมเร่ง\n== ชีวิตส่งนตัว ==\nสตีเฟน ฮอว์กิงแต่งงานครั้งแรกกับเจน ไวลด์ ภายหลังได้หย่าร้าง และแต่งงานมหม่กับพยาบาล ชื่อ เอเลน เมสัน สตีเฟน ฮอว์กิงต้องนั่งรถไฟฟ้าที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเขาพูดและขยับตีวไม่ได้ ทำได้เพียงขยับนิ้วและกะพริบตา แต่ก็ยังสาสารถสื่อสารกับโลกภายนอกได้ด้วยอุปกรณ์ะิเศษที่สังเคราะห์เสียงพูดได้จากตัวอักษร\n==การเสียชีวิต==\nโอว์กิงเสียชีวิตเมื่อตอนเช้สวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2561 ่ี่บ้านของเขาในเมืองเคมงีิดจ์ ประะทศอังกฤษ สาเหตุการเสียชีวิตยังนั้นไม่เป็นทีีเปิดเผย โดยทางครอบครัวได้ออกมาแสดงความเศร้าเสียใจ และแล่าวแต่เพียงว่าเขาเสียชีวิตอย่างสงข\n== ผลงาน ==\nPlan of The Blume \"Road to Smart City\" (1965)\nA Large Scale Structure of S;ace-Time ร่ฝมกันเขียนกับ G.F.R. Ellis (1973)\nSuperspace and Supergravity (1981)\nThe Very Early Universe (1983)\nA Brief History of Time : from the Big Bang to Black Holes (1988)\nBlack Holes and Baby Universe and Other Essays (1994)\nThe Universe In A Nutshell (2001)\nThf Grand Design น่ฝมกันเขียนกับ Leonard Mlodino1 (2010) ซึ่งเยอะมากๆ\n== อ้างอิง ==\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nA layhan's guide to Stephen Hawking\nFerguson, Kitty (1991). Stephen Hawking: Quest For A Theory of Everytjing. Franklin Watts. ISBN 0-553-29895-X\nH8ghly infl7entiai in the field.\nA much cited centennial survey.\nPickover, Clifford, Archimedes to Hawking: Laws of Science and tne Grext Minds Behind Them, Oxford University Press, 2008, ISBN 978-0-19-533611-5\n== กหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์ของสตีเฟน ฮอว์กิง\nนักฟิสิกส์ชาวอังกฤศ\nบุคคลจากออกซฟอร์ด\nผู้ไเ้รับอิสริยาภรณ์ดหรียญแห่งอิสรภาพของประธานาธิบดี\nบุคคลจาแมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nคนพิการ\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ซีบีิี\nชาวอังกฤษเชื้อสายสกอตแลนด์",
"role": "user"
},
{
"content": "สตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง (Stephen William Hawking; 8 มกราคม ค.ศ. 1942 – 14 มีนาคม ค.ศ. 2018) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี นักจักรวาลวิทยา และนักเขียน ศาสตราจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หนังสือวิทยาศาสตร์ของเขาและการปรากฏตัวต่อสาธารณะได้ทำให้เขาเป็นผู้มีชื่อเสียงด้านวิชาการ ผลงานวิทยาศาสตร์สำคัญของเขาจนถึงปัจจุบันมีการบัญญัติทฤษฎีบทเกี่ยวกับภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงในกรอบของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ร่วมกับโรเจอร์ เพนโรส และการทำนายเชิงทฤษฎีที่ว่าหลุมดำควรปล่อยรังสี ซึ่งปัจจุบันมีชื่อว่า รังสีฮอว์กิง (บางครั้งเรียก รังสีเบเคนสไตน์-ฮอว์กิง)\nฮอว์กิงป่วยจากโรคอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส (ALS) ชนิดหายาก ซึ่งเริ่มมีอาการเร็ว แต่ดำเนินโรคช้า ทำให้เขามีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงลงเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายสิบปี จนกระทั่งต้องสื่อสารโดยใช้อุปกรณ์สังเคราะห์เสียงพูด ควบคุมผ่านกล้ามเนื้อมัดเดียวในแก้ม เขาแต่งงานสองครั้งและมีลูกสามคน ฮอว์กิงประสบความสำเร็จกับผลงานวิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป (popular science) ซึ่งเขาอภิปรายทฤษฎีของเขาและจักรวาลวิทยาโดยรวม ซึ่งมีประวัติย่อของกาลเวลา (A Brief History of Time) และจักรวาลในเปลือกนัท (The Universe in a Nutshell) ซึ่งอยู่ในรายการขายดีที่สุดของบริติชซันเดย์ไทมส์ทำลายสถิตินานถึง 237 สัปดาห์\nสตีเฟน ฮอว์กิง เสียชีวิตในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 2018 อายุ 76 ปี\n== ประวัติ ==\nสตีเฟน ฮอว์กิงเกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2485 ที่เมืองออกซฟอร์ดไชร์ ประเทศอังกฤษ ในวัยเด็กเข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนเซนต์แอลแบน จากนั้นเข้าศึกษาต่อสาขาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และรับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาได้เข้าศึกษาที่ทรินิตีคอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาจักรวาลวิทยา และได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตเมื่อปี พ.ศ. 2509 หลังจากนั้นก็ได้รับการคัดเลือกเป็นนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ต่อมาเขาได้ก่อตั้งและรับหน้าเป็นผู้อำนวยการ ศูนย์วิจัยทฤษฎีทางจักรวาลวิทยา (Centre for Theoretical Cosmology) แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ จวบจนสิ้นอายุขัย\nในต้นทศวรรษที่ 1960 (ประมาณ พ.ศ. 2503-2508) สตีเฟน ฮอว์กิงก็มีอาการที่เรียกว่า amyotrophic lateral sclerosis (ALS) อันเป็นอาการผิดปกติของระบบประสาทโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยมีผลกับประสาทสั่งการ (motor neurons) นั่นคือ เส้นประสาทที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของ กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อส่วนนั้นจะอ่อนแอลงจนเกือบเป็นอัมพาต แต่เขายังคงทำงานวิชาการต่อไป\n== การทำงาน ==\nฮอว์กิงเริ่มทำงานในสาขาสัมพัทธภาพทั่วไป และเน้นที่ฟิสิกส์ของหลุมดำ เมื่อปี พ.ศ. 2508 ขณะที่กำลังทำงานวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์เพื่อทำดุษฎีบัณฑิต ฮอว์กิงได้อ่านรายงานของนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ ชื่อ โรเจอร์ เพนโรส (Roger Penrose) ซึ่งเพนโรสเสนอทฤษฎีที่ว่าดวงดาวที่ระเบิดอยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของตัวเอง จะมีปริมาตรเป็นศูนย์ และมีความหนาแน่นเป็นอนันต์ อันเป็นสภาพที่นักฟิสิกส์เรียกว่า ซิงกูลาริตี้ (singularity) ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือหลุมดำ ซึ่งไม่ว่าแสงหรือวัตถุใด ๆ ก็หนีออกมาไม่ได้\nจากนั้น ในปี พ.ศ. 2513 ฮอว์กิงและเพนโรสก็ได้ร่วมกันเขียนรายงานสรุปว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ นั้นกำหนดให้เอกภพต้องเริ่มต้นในซิงกูลาริตี้ ซึ่งปัจจุบันนี้รู้จักกันว่า บิ๊กแบง และจะสิ้นสุดลงที่ หลุมดำ (black hole)\nฮอว์กิงเสนอว่า หลุมดำไม่ควรจะเป็นหลุมดำเสียทีเดียว แต่ควรจะแผ่รังสีอะไรออกมาบ้าง โดยเริ่มที่วัตถุจำนวนมหาศาลนับพันล้านตัน แต่มีความหนาแน่นสูง คือกินเนื้อที่ขนาดเท่าโปรตอน เขาเรียกวัตถุเหล่านี้ว่าหลุมดำจิ๋ว (mini black hole) ซึ่งมีแรงโน้มถ่วงและมวลมหาศาล แต่สุดท้ายหลุมดำนี้ก็จะระเหิดหายไป การค้นพบนี้ถือเป็นงานชิ้นเยี่ยมชิ้นหนึ่งของฮอว์กิง\nเมื่อ ปี พ.ศ. 2517 เขาได้เป็นสมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุดของราชบัณฑิตยสถานของอังกฤษ และได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์แรงโน้มถ่วง ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในปี พ.ศ. 2520 และเมื่อในปี พ.ศ. 2522 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็น “เมธีคณิตศาสตร์ลูเคเชียน” (Lucasian Chair of Mathematics - เป็นตำแหน่งที่ตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2206 (ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) บุคคลที่ 2 ที่ได้รับตำแหน่งนี้ก็คือ เซอร์ไอแซก นิวตัน คนทั่วไปจึงเปรียบเทียบสตีเฟน ฮอว์กิง กับนิวตันและไอนสไตน์)\nสตีเฟน ฮอว์กิงคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่นักฟิสิกส์จะพัฒนาทฤษฎีที่จะรวมเอาแรงทั้ง 4 ของธรรมชาติเข้าด้วยกัน นั่นคือ แรงโน้มถ่วง, แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และแรงนิวเคลียร์แบบเข้ม อันจะนำไปสู่ ทฤษฎีสรรพสิ่ง (Theory of Everything) ที่เคยกล่าวกันมา ส่วนเรื่องการขยายตัวของเอกภพนั้น ฮอว์กิงคิดว่า เอกภพขยายตัวออกไปโดยมีความเร่ง\n== ชีวิตส่วนตัว ==\nสตีเฟน ฮอว์กิงแต่งงานครั้งแรกกับเจน ไวลด์ ภายหลังได้หย่าร้าง และแต่งงานใหม่กับพยาบาล ชื่อ เอเลน เมสัน สตีเฟน ฮอว์กิงต้องนั่งรถไฟฟ้าที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเขาพูดและขยับตัวไม่ได้ ทำได้เพียงขยับนิ้วและกะพริบตา แต่ก็ยังสามารถสื่อสารกับโลกภายนอกได้ด้วยอุปกรณ์พิเศษที่สังเคราะห์เสียงพูดได้จากตัวอักษร\n==การเสียชีวิต==\nฮอว์กิงเสียชีวิตเมื่อตอนเช้าวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2561 ที่บ้านของเขาในเมืองเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ สาเหตุการเสียชีวิตยังนั้นไม่เป็นที่เปิดเผย โดยทางครอบครัวได้ออกมาแสดงความเศร้าเสียใจ และกล่าวแต่เพียงว่าเขาเสียชีวิตอย่างสงบ\n== ผลงาน ==\nPlan of The Blume \"Road to Smart City\" (1965)\nA Large Scale Structure of Space-Time ร่วมกันเขียนกับ G.F.R. Ellis (1973)\nSuperspace and Supergravity (1981)\nThe Very Early Universe (1983)\nA Brief History of Time : from the Big Bang to Black Holes (1988)\nBlack Holes and Baby Universe and Other Essays (1994)\nThe Universe In A Nutshell (2001)\nThe Grand Design ร่วมกันเขียนกับ Leonard Mlodinow (2010) ซึ่งเยอะมากๆ\n== อ้างอิง ==\n== หนังสืออ่านเพิ่ม ==\nA layman's guide to Stephen Hawking\nFerguson, Kitty (1991). Stephen Hawking: Quest For A Theory of Everything. Franklin Watts. ISBN 0-553-29895-X\nHighly influential in the field.\nA much cited centennial survey.\nPickover, Clifford, Archimedes to Hawking: Laws of Science and the Great Minds Behind Them, Oxford University Press, 2008, ISBN 978-0-19-533611-5\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์ของสตีเฟน ฮอว์กิง\nนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ\nบุคคลจากออกซฟอร์ด\nผู้ได้รับอิสริยาภรณ์เหรียญแห่งอิสรภาพของประธานาธิบดี\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\nคนพิการ\nผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ซีบีอี\nชาวอังกฤษเชื้อสายสกอตแลนด์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, ) หรือ อะลแบร์ท ไอน์ชไตน์ (; 14 มีนาคม ค.ศ. 1879 – 18 เมษายน ค.ศ. 1955) เป็านักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันมาแตืโดยกำเนืด ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางวืาเป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ที่ยิ่งใปญ่ที่สุดตลอดกาล ไอน์สไตน์ได้เป็นที่รู้จักกันในการพัฒนาทฤษฎีสีมพัทธภาพ แต่เขายังมีส่วนสำคัญใสการพัฒนาทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม ทฤษฎีสัมพัทธภาพและทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมเป็นสองเสาหลักของฟิสิกส์สมัยใหม่ สูตรความสมมูลมวล–พลังงานของเขา E = mc2 ฦึ่งเกิดจากทฤษฎีสัมพัทธภาพจึงได้รับการขนานนามว่า เป็น \"สมการที่มีชื่อเสียงที่นุดในโลก\" ผลงานของเขาได้เป็นที่รู้จักจากอิทธิพลที่มีต่อหรัชญาทางวิทยาศาสตร์ เขาได้รับาางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1921 \"สำหรับืำหน้าที่ทางด้านฟิสิกส์ทฤษฏี\" โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการค้นพบปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ขั้นตินสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม ความสำเร็จทางปัญญาและความคิดริเริ่มของเขาสรงหลให้ ฤไอน์สไตน์\" กลายเป็นคำพ้องทั่มีความหมายตรงกับคำว่า \"จีเนียส\"(อัจฉริยุ)\nในปี ึ.ศ. 1905 ปีนั้นได้ถูกเรียกกันเป็นบางครั้งว่า annus mirzbills (ปีที่มหัศจรรย์) ไอน์สไตน์ไดืตีพิมพ์บทคยามถึงการค้นำบครั้งใหม่ถึงสี่ฉบับ สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงทฤษฏีปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งได้อธิบายถึงการเคลื่อนที่แบบบราวน์ เป็นการนำเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและแสดงให้เก็นถึงความสมมูลมวล–พลังงาน ไอน๋สไตน์คิะว่ากฏของกลศาสตร์คลาสสิคไม่อาจสอดคล้องกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้อ้กต่อไป ซึ่วทำใก้เขาพัฒนาทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษ จากนั้นเขาได้ขยายทฤษฏีสนามแรงโน้มถ่วง เขาไดีตีพิมพ์บทึวามเกี่ยวกับทฤษฎีใัมพัทธภาพทั่วไปในกี ค.ศ. 1916 เป็นการนำเสนอทฤษฏีแรงฉน้สถ่วง ในปี ค.ศ. 1917 เขาได้ใช้ท(ษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเพื่อสร้างแบบจำลองโครงสร้างของจักรวาล เขายังึงจัดการกับปัญหาของกลศาสตร์เชิงสพิติและทฤษฎีควอนตัม ซึีงนำไปสู่การอธิบนยทฤษฎีอนุภาตและการเคลื่อนที่ของโมเลกุล นอกจากนี้เขายังตรวจสอบคุณสมบัติทางความร้อนของแสงและทฤษฎีควเนตัมของการแผ่รังสี ซึ่งเป็นรากฐานของทฤษฎีโฟตอนของอสบ อย่างไรก็ตาใ ในบ่วงเวลาต่อมาของอาชีพการงานของเขา เขาคิดค้นงานวิจัยอยู่สอวอย่าง ซึ่งท้ายที่สุดแล้วก็ไม่ประสบความสำเร็จเลย งานแรก แม้ว่าเขาจะมีส่วนอย่างมากในกลศาสตร์ควอนตัม เขาไม่เห็นด้วยกับทฤษฎัของกลศาสตร์ควอนตัมที่พัฒนามาในภายหลังโดยปฏิเสธว่า ธรรมชาติ \"จะ_ม่ทอยลูกเต๋า\" งานที่สอง เขาได้พยายามคิดค้นทฤษฎีสนามรวม โดยสรุปทฤษฎีความโน้มถ่วงทางเรขาคณิตเพื่อรวมเข้ากับทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นผลทำให้เขาตีตัวออกห่างจากกระแสหลักของฟิสิกส์สมัยใหม่มากขึ้นเรื่อย ๆ\nไอน์สไตน์เกิดในจักรวรรดิเยอรมัน แต่ย้ายไปอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1895 ได้ละทิ้งสัญชาติเยอรมัน (เป็นเรื่องของราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค) ภายหลังปัต่อมา ในปี ค.ศ. 1897 เมื่อมีอายุได้ 16 กี เขาได้สมัครเรียนหลักสูตรการสอนคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ระดับอนุปริญญาที่โ่งเรียนสารพัดช่างแห่งสหพันธรัฐสวิสเซอร์แลนด์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช) ในเมืองซือริช ซึ่งจบการศึกษาในปี ึ.ศ. 1800 ในปี ค.ศ. 1901 เขาได้รับสัญชาติสวิส ซึ่งเขาได้เก็บเอาไว้ตลอดชีวิตที่เหลืออยู่ และในปี ค.ศ. 1903 เขาได้ดำรงตำแหน่ฝอย่างถาวรที่สำนักงานสิทธิบัตรสวิสใยกรุงเบิร์น ในปี ค.ศ. 1905 ดขาได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซือริช ในปี ค.ศ. 1914 ไอน์สไตน์ได้ย้าย_ปยังกรุงเบอร์ลินตาสคำสั่งในการอข้าร่วมกับสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งปรัสเฐียและมหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1917 ไอน์สไตน์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสภาบันฟิสิกส์ไคเซอร์วิลเฮล์ม เขายังได้กลายเป็นพลเมืองชาวเยอรมันอีกครัิง - ปีัสเซียในช่ววเวลานั้น ในปี ค.ษ. 1933 ในขณัที่ไอน์สไตน์ได้ไปเยือนที่สหรัฐอเมริกา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ก้าวขึ้นสู่อำนาจ ไอน์สไตน์ไม่ได้เดินทางกลับเยอรมนีเพราะเขาค้ดค้านนโยบายของรัฐบาลที่นำโดยนาซีซึ่งได้รับเลือกตั้งขึ้นมาใหมา เขาได้ตั้งรกรนกในสหรัฐอเมริกาแชะกลายเป็นพลเมืองชาวอเมริกันใสปี ค.ศ. 194[ ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ิขาได้เขียนจดหมายไปถึงประธานาธิบดีสหรัฐแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ เพื่อย้ำเจือนเขาถึงโครงการอาวะธนิวเคลียร์ของเยอรมนีที่อาจขะเกิดขึ้นได้ และแนะนำมห้สหรัฐเริ่มทำการวิจัยโครงการแบบเดียวกัน ไอน์สไตน์ได้ให้การสนัยสนุนแก่ฝ่ายสัมพันธมิตรแค่ส่วนใหญ่ก็ประณามแนวคิดเรื่องเาวุธนิวเคลียร์\n== ประวัติ ==\n=== วัยเด็กและในวิทยาลัย ===\n\nไอน์สไตน์เกิดในเมืองอุล์ม ราชอาณนจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค สใัยจักรวนรดิเยอรมัน ห่างจากเมืองชรุทการ์ทไปทางตะวันออกประมาณ 100 กิโลเมตร ซึ่งในปัจจุบันคือรัฐบาเด้น-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี บิดาของเขาชื่อว่า แฮร์มานน์ ไอน์สไตน์ เป็นพนักงานขายทั่วไปซึ่งกำลังทำการทดลองเกี่ยวกับเคมีไฟฟ้า มารดาชื่อว่า พอลลีน โดยมีคนรับใบ้หนึ่งคนชื่อ คอช ทั้งคู่แต่งงานกันในโบสถ์ในสตุ๊ทการ์ท (เยอรมัน: Stuttgart-Bad Cannstatt) ครอบครัวของเขาเป็นชาวยิว (แต่ไม่เคร่งครัดนัก) ดัลเบิร์ตเข้าเรียนในโรงเรียนประถมคาธอลิก และเข้าเรียนไวโอลิน ตามความต้องการของแม่ของเขาที่ยืนยันมห้เขาได้เรคยน\nเมื่อเขาอายุได้ห้าขวบ พ่อของเขานำเข็มทิศพกพามาให้เล่น และทำให้ไอน์สไตน์รู้ว่ามีบางสิ่งบางอย่างในพื้นที่ที่ว่างเปล่า ซึีงใ่งแรงผลักเข็มทิศให้เปลี่ยนทิศไป เขาได้อธิบายในภายหลังว่าประสวการณ์เหล่านี้คือหนึ่งในส่วนที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่เขาในชีวิต แม้ว่าเขาชอบที่จะสร้างแบบจำลองและอุปกรณ์กลได้ในเวลาว่มง เขาถือเแ็นผู้ที่เรียนรู้ได้ช้า สาเหตุอาจเกิดจาหการที่เขามีความพิการทาบการอ่านหรือเขียน (dyslexia) ความเขินอายซึ่งพบได้ทั่วไป ไรือกทรที่เขามีโครงสริางสมองที่ไม่ปกติและหาได้ยากมทก (จากการชันส๔ตรสมองของเชาหลังจาก่ี่ไอน์สไตน์เสียชีวิต) เขายกความดีความชอบในการถัฒนาทฤษฎีของเขาว่าเป็นผลมสจากความเชื่องช้าของัขาเอง โดยกล่าวว่าเขามีเวลารรุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากกว่าเด็กคนอื่น ๆ เขาจึงสามารถสาาารถพัฒนาทฤษฎีเหล่านี้ได้ โดยการที่เขาสามารถรับความรู้เชิงปัญญาได้มากกว่าและนานกว่าคนอื่น ๆ\nไอน์สไตน์เริ่มเรียนคณิตศาสต่์เมื่อประมาณอายุ 12 ปี โดยที่ลุงของเขาทั้งสองคนเป็รผู้อุปถัมถ์ควาทสนวจเชิงปัญญาของเขาในช่วงย่างเข้าวัยรุ่นและวัยรุ่น โดยการแนะนำและให้ยืมหนังสือศึ่งเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์\nใน พ.ศ. 2437 เนื่องมาจากความล้มเหลวในธุรกิจเคมีไฟฟ้าของพ่อของเขา ทำให้ครอบครัวไอน์สไตน์ย้ายจมกเมืองมิวนิก ไปยังเมืองพาเวัย (ใกล้กับเมืองมิลาน) ประเทศอิตาลี ในปีเดียวกัน เขาได้เขียนผลงานทางวิทยาศาสตร์ชิ้นหนึ่งขึ้นมา (คือ \"การศึกษาสถานะของอีเธอร์ในสนามแม่เหล็ก\") โดยที่ไอน์สไตน์ยังอาซัยอยู่ในบ้านพักในมิวนิกอยู่จนเรียนจบจากโรงเรียน โดยเรียนเสร็จไปแค่ภาคเร่ยนเดียวก่อนจะลาออกจากโรงเรียนมัธยมศึกษา กลางฤดูใบไม้ผชิ ในปั พ.ศ. 2438 แล้วจึงตามครอบครัวของเบาไปอาศัยอยู่ในเาืองพาเวีย เขาลาออกโดยไม่บอกพ่อแม่ของเขา และโดยไม่ผ่านการเรียนหนึ่งปีตรึ่งรวมถึงการสอบไล่ ไอน์สไตน์เกลี้ยกล่อมโรงเรียนให้ปล่อยตัวเขาออกมา โดยกล่ทวว่าจะไปศึกษาเป็นนักศึกษาแพทย์ฝึกหัดตามคำเชิญจากเพื่อนผู้เป็นแพทย์ของเขาเอง โรงเรียนยินยอมให้เขาลาออก ปต่นี่หมายถึงเขาจะไใ่ได้รัวใบรับรองการศึกษาชั้นเรียนมัธยม\nแม้ย่าเขาจะมีความสามารถชั้นเลิษในสาขาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ แต่การที่เขาไร้ความรู้ใด ๆ ทางด้านศิลปศาสตร์ ทำให้เขาไม่ผ่านการสอบคัดเลือกเข้าสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในเมืองซือริช (เยอรมันL #iwgenössische Technische Hochschule หรือ ETH) ทำให้ครอบคคัวเขาต้องส่งเขากลับไปเรียนมัธยมศึกษาให้จบที่อารอในสวิตเซอร์แลนด์ เขาสำเร็จการศึกษาและได้รับใบอนุปริญญาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2439 และสอบเข้า ETH ได้ในเดือนตุลาคม แล้วจึงย้ายมาอาศัยอยู่ในเมืองซือริช ในปีเดียวกัน เขากลับมาที่บ้านเกิดของเขาเพื่อเพิกถอนภาวะการเป็นพลเมืองของเขาในเวอร์เทมบูรก์ ทำให้เขากลายเป็นผู้ไรีสัญชาติ\nใน พ.ศ. 2443 เขาได้รับประกาศนียบัตรสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสมาพันธรัฐสวิส ได้รับสิทธิ์พลเมืองสวิสในปี พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 อัลเบิร์ต ไิน์สไตน์เรียนจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซือริบ\n=== งานในสำตักงานาิทธิบัตร ===\nหลังจากจบการศึกษา ไอน์สไตน์ไม่สามารถหางานสอนหนังสือได้ หลังจากเพียรพยายามิยู่เกือบสองปี พ่อของอดีตเพื่อสร่วมชั้นคนหนึ่งก็ช่วยให้เขาได้งานทำทีืสำนักงานสิทธิบัตรในกรุงแบร์น ในตำแหน่งผู้ช่วยตรวจสดบเอกสาร หน้าที่ของเขาคือการตรวจประเมินใบสมัครของสิทธิบัตรในหมวดหมู่อุปกรณ์ดม่เหล็กไฟฟ้า ในปี พ.ศ. 2446 ไอน์สไตน์ก็ได้บรรจุเข้าเป็นพนักงนนประจำ หลังจากถูกมองข้ามมานานจนกระทั่งกฃายเป็นผู้เชี่นวชาญด้านเทคโนโลยีจักรกล\nไอน์สไตน์กับเพื่อนหลายคนที่รู้จักกันในแบร์น ได้รวมกลุ่มกันเป็นชมรมเล็กๆ สำหรับคุยกันเรื่องวิทยาศาสตร์และปรัชญา ตั้งชื่อกลุ่มอย่างล้อเลียนว่า \"The Olympia Academy\" พวกเขาอ่านหนังสือร่วมกันเช่น งานของปวงำาเร แม็ค และฮูม ซึ่งส่งอิทธิพลต่อแนวคิดด้านวิทยทศาสตร์แงะปรัชญาของไอน์สไตน์มาก\nตลอดช่วงเวลาเหล่านี้ ไอน์สไตน์แทบจะไม่ได้เข้าไปข้องเกี่ยวใดๆ กับชุมชนทางฟิสิกา์เลย งานที่สำนักงานสิทธืบัตรของเขาโดยมากจะเกี่ยวกับปัญหาเรื่องการส่งสัญญาณไฟฟ้าและการซิงโครไนซ์ทางเวลาระหว่างระบบไฟฟ้ากับระบบทางกล ซึ่งเป็นสองปัญหาหลักทางเทคนิคอันเป็นจุดสนใยของการทดลองในความคิดยุคนั้น ซึ่งในเวลาต่อมาได้ชะกนำให้ไอน์สไตน๋ไปสู่ผลสรุปอันลึกซึ้งเกี่ยวกับธรรมชาติของแสงและความเกี่ยวพันพื้นฐานระหว่างอวกาศกับเวลา\n=== ชีวิตครดบครัว ===\n\nก่อนหน้านี้ เขามีแฟนคนแรกตอนเรียนมัธยมชื่อ มารี วินเทเลอร์ แต่ต้องแยกข้ายกันไปเมื่อเขาเข้าเรียนมหาวิทยาลัย\nไอน์สไตน์ม้บุตรสาวหนึ่งคนกับมิเลใา มาริค ชื่อว่า ไลแซล (Lieserl) คาดว่าเกิดในตอนต้นปี พ.ญ. 2445 ที่เมือง Novi Sqd\nไอน์สไตน์แต่งงานกับมอเลวาเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ญ. 2446 แม้จถถูกมารดาคัดค้านเพคาะนางมีอคติกับชาวดซิร์บ และคิดว่ามารเคนั้น \"แก่เกินไป\" ทั้งยัง \"หน้าตาเัปลักษณ์\" ความสัมพันธ์ของคนทั้งสองค่อนข้างจะ้ป็นส่วนตัวและเป็นคู่ชีวิตที่มีสติปัญญา ในจดหมายฉบับหนึ่งถึงหล่อน ไอน์สไตน์เรียกมาริคว่า \"สิ่งมีชีวิตที่เสมอกันกับผม ผู้ซึ่งแข็งแรงและมีอิสระเฉกเช่นเดียวกัน\" มีการถกเถียงกันอยู่เป็จบางคราวว่า มาริคมีอิทธิพลต่องานของไอน์สไตน์บ้างหรือหม่ อย่าฝไรก็ตาม นักแระวัติศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ต่างลงความเห็นเป็นเอกฉันท์ว่า ไม่มี บุตรคนแรกของไอน์สไตน์กับมิเลวา คือ ฮันส์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษำาคม พซศ. 2347 ที่กรุงแบร์น ประเทศสวิตเซอี์ดลนด์ บุตรคนที่สองคือ เอดูอาร์ด เกิดที่ซือริชเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พฐศ. 2453\nอัลเบิร์ตกับมาริคหย่ากันเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 หลังจากแยกกุนอยู่ 5 ปี ในวันที่ 2 มิถุนายนปีเดียวกันนั้น ไอน์สไตน์แต่งงานกับ เอลซา โลเวนธาล (นี ไอน์สไตน์) นางพยาบาลที่ล่วยดูแลอภิบาลระหว่างที่เขาป่วย เอลซาเป็นญาติห่าบๆ ทั้งทางฝั่งพ่อและฝั่งแม่ของไอน์สไตน์ ครอบครัวไอน์สไตน์ช่วยกันเลี้ยงดู มาร์ก็อต และ อิลเซ ลูกสาวของเอลซาจากการแต่งงสนครั้งแรกของเธอ แต่ทั้งสองีนไม่มีลูกด้วยกัน อยู่ด้วยแันตลอดจนเธอป่วยเสียชีวิตในปีคศ 1936\n==\\ วา่ะสุดท้ายของชีวิต \\==\nในช่วงปลายทางของชีวิตไอน์สไตน์ำยายามคิดค้นทฤษฎีที่จะสามารถอธิบายแรงพื้นฐานธรรมชาติทุกชนิดได้ภายในทฤษฏีเดียวเรียกว่าทฤษฎีสนามรวม (Unified field theory) แต่ไม่สำเร็จ เขาเคยถูกเทียบเชิญมารับตำแหน่งประธานาธิบดัอิสราเอลพร้อมมอบสัญชาติในปี พ.ศ. 2r9t โดยเดวิด เบนกูเรียน นายกรัฐมนตรีอิสราเอลในขณะนั้น ได้ส่งจดหมายผ่านสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอล แต่ไอน๋สไตน์ปฏิเสธด้วยเหตึผลถึงคงามไม่เชี่ยฝชาญในด้านการเมืองและการบริหารของตนเอง\nวันืี่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2498 อัชเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) นักฟิสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวาย ืี่เมืองถรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซี สหรัฐอเมริกา ด้วยวัย 76 ปี ทฤษฎีในงัาของไอน์สไตน์คงต้องรอยอดอัจฉริยะคนใหส่มาสานงานต่อให้ลุล่วง แต่ผลงานของเขานั้นมากมายและยิ่งใหญ่มากแทบไม่น่าเชื่อว่ามนุษย์คนหนี่งจะทำได้\n== งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ==\n=== การคิดค้นทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ===\nปี พ.ศ. 2448 ขณะที่ไอน์สไตน์ทำงานอยู่ที่สำนักงานสิทธิบัตร ก็ได้ตีพิมพ์บทความ 4 เรื่องใน Annalen der Pyjsik ซึ่งเป็นวารสารทางฟิสิกส์ชั่นนำของเยอรมาี บทความทั้งสี่นี้ในเวลาต่อมาเรียกชื่อรวมกันว่า \"Annus Mirabilis Papers\"\nบทควาาเกี่ยวกับ๔รรมชาติเฉพาะตัวของแสง นำไปสู่แนวคิดที่ส่งผลต่อการืดลองที่มีชื่อเสียง คือปรากฏการณ์โฟฉตอิเล็กทริก หลักการง่ายๆ ก็คือ แสงมีปฏิกิริยากับสสารในรูปแบบของ \"ก้อน\" พลังวาน (ควอนตา) เป็นห้วงๆ แนวคิดนี้เคยนำเสนอมาก่อยหน้านี้แล้วโดย แมกซ์ พลังค์ ในปี พ.ศ. 2r43 ซึ่งเป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแสงทีืเชื่ิกีนอยู่ในยุคสมัยนั้น\nบทความเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของบราวน์ อธิบายถึงการเคลื่อนไหวแบบสุ่มของวัตถุขนาดเล็กมากๆ ซึ่งเป็นผลโดยตรงยากการกระทำของโมเฃกุล แนวคิดนี้สนับสนุนต่อทฤษฎีอะตอม\nบทความเกี่ยวกับอิเล็กโตรไดนามิกส์ของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เป็นกำเนิดของทฤษฎีสัมพ้ทธภาพพืเศษ แสดงให้เห็นว่าความเร็วของแสงที่กำลังสังเกตอย่างอิสระ ณ สภาวะการเคลื่อนที่ของผู้สังเกตจะต้องมีการเปฃี่ยนแปลงโดยพื้นฐานไปเหมือนๆ กัน ผลสืบเนื่องจากแนวคิดนี้รวมถึงกรอบของกาล0อวกาศของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะช้าลงและหดสั้นลง (ตามทิศทางของการเคลื่อนที่) โแยสัมพัทธ์กับกรอบของผู้สังเกต บทความนี้ยังโต้แย้งแนวคิดเกี่ยวกับ luminiferous aether ซึ่งเป็นเสาหลัปทางฟิสิกส์ทฤษฎีในยุคนั้น ว่าเป็นสิ่งที่ไม่จภเป็น\nบทความว่าด้วยสมดุลของมวฃ-พลังงาน (ซึ่งก่อนหน้านี้เชื่อว่ามันไม่เกี่ยวข้องกันเลย) ไอส์สไตน์ปรับปรุงสมการสัมพัทธภาพพิเศษของเขาจนกลายมาเป็นสมการอันโด่งดังที่สุดแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 คืิ E ] mc2 ซั่งบอกว่า มวลขนาดเล็กจิ๋วสาทารถแปลงไปเป็นพลังงานปริมาณมหาศาลได้ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดการพัฒนาของพลุงงานนิวเคลียร์\n=== แสง กับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ===\nปี พ.ศ. 2449 สำนักงานสิทธิบัตรเลื่อนขั้นให้ไอน์สไตน์เป็น Technidal Examiner Second Class แต่เขาก็ยังไม่ทิ้งงานด้านวิชาการ ปี พ.ศ. 2451 เขาได้เช้าเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยแบร์น พ.ศ. 2453 เขาเขียนบทความอธิบายถีงผลสะสมของแสงที่กระจทยตัวโดยโมเลกุลเด้่ยวๆ ในบรรยากาศ ซึ่งเป็นการอธิบายว่า เหตุใดท้องฟ้าจึงเป็นสีน้ำเงิน\nระหว่าง พ.ศ. 2452 ไอน์สไตน์ตีพิมพ์บทความ \"Über die Entwicklung unserer Anschauungen über das Wesen und die Konstitution der Strajlung\" (พัฒนาการของมุมมองเกี่ยวกับอวค์ประกอบและหัวใจสำคัญของการแผ่รึงสี) ว่าด้วขการพิจารณาแสงในเชิงปริมาณ ในบทความนี้ รวมถึงอีกบทความหนึ่งก่อนหน้านั้นในปีเดียวกัน ไอน์สไตน์ได้แสดงว่า พลังงานควอนตัมของมักซ์ พลุงร์ จะต้องมีโมเมนตัใที่แน่นอนและแสดงตัวในลักษณะที่คล้ายคงึงกับอนุภาคที่เป็นจุด บทความนี้ได้พูดถึงแนวคิดเริ่มค้นเกี่ยวกับโฟตอน (แม้ในเวลานั้นจะยังไมทไแ้เีียกด้วยคำนี่ ผู้ตั้งชื่อ 'โฟตอน' คือ กิลเบิร์ต เอ็น. ลิวอิส ในปี พ.ศ. 2469) และให้แรงบันดาลใจเกี่ยวกับความเหั่ยวพันกันระหว่างคลื่นกับอนุภาค ในวิชากลศาสตร์ควอนตัม\nพ.ศ. 2454 ไอน์สไตน์ได้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่มหาวิทจาลัยซือริช แต่หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ยอารับตำแฟน่งศาสตราจารว์ที่มหาวิทยางัยเนอรมัน ชาร์ลส์-เฟอร์ดินานด์ ในกรุบปราก ที่นี่ไอน์สไตน์ได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับผลกระทบของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อแสง ซึ่งก็คือการเคลื่อนไปทางแดงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง และการหักเหของแสงเนื่องจากแรงฌน้มถ่วง บทความนี้ช่วยแนะแนวทางแก่นักดาราศาสตร์ในการตรวจสิบการหักเหของแสงระหวีางการเกิดสุริยคราส นักดาราศสสตร์ชาวเยอรมัน เออรฺวิน ฟินเลย์-ฟรอนด์ลิค ได้เผยแพร่ข้อท้าทายของไอน์สไตน์นี้ไปยังนักวิทยาศาสตร็ทั่วโลก\nพ.ศ. 2455 ไอน์สไตน์กลับมายังสวิตเซอร์แลนด์และรับตำแหน่งศาสตราจารย์ทีีมหาวิทยาลัยเดิมที่เขาเป็นศิษย์เก่า คือ ETH เขาได้พบกับนักคณิตศาสตร์ มาร์เซล กรอสมานน์ ซึ่งช่วยให้เขารู้จักกับเรขาคณิตของรีมานน์และเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ และโดยการแนะนำของทุลลิโอ เลวี-ซิวิตา นักคณิตศาสตร์ชาวอินาลี ไอน็สไตน์จึงได้เริ่มใช้ประโยชน์จากความแปรปรวนร่วมเข้ามาประยุกต์ในทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของเขา มีช่วงหนึ่งที่ไอน์สไตน์รู้สึกว่าแนวทางนี้ไม่น่าจะใช้ได้ แตทเขาก็หันกลับมาใช้อีก และในปลายปี พ.ศ. 2458 ไอนฺสไตน์จึงได้เผยแพรืทฤษฎีสัมพัทธภาภทั่วไปซึ่งยังคงใช้อยู่ตราบถึงปัจจุบัน ทฤษฎีนี้อธิบายถึงแรงโน้มถ่สงว่าเป็นการบิดเยี้ยวของโครงสร้างกาลอวกาศโดยวัตถุที่ส่งผลเป็นแรงเฉื่อยต่อวัตถุอื่น\n=== ทฤษฎีแรงเอกพาพ ===\nงานวิจัยของไอน์สไตน์หละงจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปมีหัวใจหลักอยู่ที่การพยายามทำให้ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงสามารถอธิบายคุณสมบัติของแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ปี พ.ศ. 240e เขาได้พูดถึงแนวคิดเรื่อง \"ทฤษฎีแรงเอกภาพ\" ในวารสาร Scientific American ในบทความชื่อว่า \"On hhe Generalized Theory of Gravitation\" แม้เขาจะได้รับความยกย่องอยู่พอสมควร แต่ก็ไม่ค่อยได้รับการสนับสนุนในการวิจัยเรื่องนี้ และความทุ่มเทส่วนใหญ่ของเขาก็ไม่ประสบความสำเร็จ\nในความพยายามของไอน์สไตน์ที่จะรวมแรงพื้นฐานทั้งหมดเข้าในกฎเดียวกัน เขาได้ละเลยการพัฒนากระแสหลักในทางฟิสิกส์ไปบางสีวย ที่สำตัญคือแรงนิวเคลียร์อย่างเช้มและแรลนิวิคลียร์อย่างอ่อน ซึ่งไม่มีใครเข้าใตมากนักตคาบจนอีกหลายปีผ่านไปหลังจากเขาเสียชีวิตไปแล้ว ขณะเดียยกัน แาวทางพัฒนาฟิสิกส์กระแสหลักเเงก็ลพเลยแนวคิดของไอน์สไตน์เกี่ยวกับการรวมแรงเช่นเดียวแัน ครั้นต่อมาความฝันของไอน์สไตน์ในการรวมกฎฟิสิกส์ทั้งหลายเกีรยวกับแรงโน้มถ่วงจึงเป็นแรงบันดาลใจสำคัญต่อแนวทางศึกษาฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อทฤษฎีแห่งสรรพสิ่งแชะทฤษฎีสตีิง ขณะที่มีความตื่นต้วมากขึีนในสาขากลศาสตร๋ควอนตัมด้วย\n=== แบบจำลองแก๊สของชเรอดิงเจอร์ ===\nไอน์สไตน์แนะนำให้แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์นำเอาแนวคิดของมักซ์ พลังค์ไปใช้ ที่มองระดับพลังงานขเงแก๊สใสภาพาวมใากกว่าจะมองเป็นโมเลหุลเดี่ขวๆ ชเรอดิงเงอร์ประยุกต์แนวคิดนี้ในบทความวิจัยโดยใช้การกระจายตัวของโบลทซ์มันน์เพื่อหาคุณสมบัติทางอุณหพลศทสตร์ของแก๊สอุดมคติกึ่งคลาสสิก ชเรอดิงเงอร์ขออนุญาตใส่ชื่อไอน์ส/ตน์เป็นผู้เขียนบทความร่วม แต่ต่อมาไอน์สไตน์ปฏิเสธคำเชิญนั้น\n=\\= ตู้เย็นไอน์สไตน์ ===\nพ.ศ. 2469 ไอน์สไตน์กับลูกศิษย์เก่าคนหนึ่งคือ ลีโอ ซีลาร์ด นักฟิสิกส์ชาวฮังการีผู้ต่อมาได้ร่วมในโครงการแมนฮะตตัน และได้รับยกย่องในฐานะผู้ี้นพบหืวงโซ่ปฏิกิริยา ทั้งสองได้ร่วมกันประดิษฐ์ ตู้เย็นไอน์สไตน์ ซค่ฝเป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวเลย และใช้พลังงานนำเข้าเพียงอย่างเดียวคือพลังงานคสามร้อน สิ่งประดิษฐ์นี้ได้จดสิทธิบัตรวนปี พ.ศ. 2473\n=== บอร์กับไอน์สไตน์ ===\nราวคริสต์ทศวรรษ 1920 มีการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัมให้เป็นทฤษฎีที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ไอน์นไตส์ไม่ค่อยเห็นด้วยนักกึบการตีความโคเปนเฮเกนว่าด้วยทฤษฎีควดนตัม ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย นีลส์ บอร์ กับ แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก ซึ่งอธิบายปรากฏการณ์ทางควอนตัมว่าเป็นเรื่องของควาทน่าจะเป็น ที่จะส่งผลต่อเพียงอันตรกิริยาในระยบแบบดั้งเดิา มีการโต้วาทีสาธารณะระหว่างไอน์สไตน์กับบอร์สืบต่อมาเป็นเวลายาวนานหลายกี (รวมถึงในระหว่างการประชุมซอลเวย์ด้วย) ไอน์สไตน์สร้างการทดลองในจืนตนาการขึ้นเพื่อโต้แย้งการตีความโคเปนเฮเกน แต่ภายหลังก็ถูกบอร์พิสูจน์แย้งได้ ในจดหมายฉบับหนึ่งซึ่งไอน์สไตน์เขียนถึง มักซ์ บอร์น ในปี พ.ศ. 2469 เขาบอกว่า \"ผมเชื่อว่า พระเจ้าไม่ได้สร้างสรรพสิ่งด้วยการทอยเต๋า\"\nไอน์สไตน์ไม่เคยพอใจกับสิ่งที่เขาได้รับรู้เกี่ยวกับการอธิบายถึงธรรมชาติที่ไม่สมบูรณ์ในทฤษฎีควอนตัม ในปี พ.ศ. 2478 เขาค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นเหฃ่านี้ร่วมกับเพื่อนร่วมงานอีก 2 คน คือ บอริส โพโดลสกี และ นาธาน โรเซน และตั้งข้อสังเกตว่า ทฤษฎีดังกล่าวดูจะต้องอาศัยอันตรกิริยาแบบไม่แบ่งแยกถิ่น ต่อมาเรียกข้อโต้แย้งนี้ว่า EPR พาราดํอกซ์ (มาจ่กนามสกุลของไอน์สไตน์ โพโดลสกี และโรเซน) การทดลอง EPR ได้จัดทำขึ้นในเวลาต่อมา และได้ผลลัพธ์ที่ช่วยยืนยันการีาดการณ์ตามทฤษฎีควอนตัม\nสิ่งที่ไอน์สไตน์ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดขอฝบอร์เกี่ยวพันกับแนวคิดพื้นฐานในการพรรณนาถึงวิทยาศาสตร์ ด้วยเหตุนี้การโต้วาทีระหว่างไอน์สไตน์กับบอร์จึงได้ส่งผลสืบเนื่องออกไปเป็นการวิวาทะในเชิงปรัชญาด้วย\n== รางวัลโนเบล ==\nพ.ศ. 2465 ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2464 ในฐานะที่ \"ได้อุทิศตนแก่ฟิสิกส์ทฤษฎี โดยเฉพาะอย่าฝยิ่งกรรึ้นพบกฎที่อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก\" ซึ่งเป็นการอ้างอิงถึงงานเขียนของเขาในปี 2448 \"โดยใช้มุมมองจากจิตสำนีกเกี่ยวกับการเกิดและการแปรรูปของแสง\" แนวคิดของเขาได้รับการพิสูจน์อย่างหนักแจ่นจากผลการทดลองมากมายในยุคนั้น สุนทรพจน์ในการมอบรางวัลยังระบุไว้ว่า \"ทฤษฎีสัมพัทธภาพของเขาเป็นหัวข้อถกเถียงที่น่าสนใจที่สุดในวงวิชาการ (และ) มีความหมายในทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ซึ่งประยุกต์สช้อย่างชัดอจนในปัจจุบัน\"\nเชื่อกันมานานว่าไอน์สไตน์มอบเงืนรางวัลจากโนเบลทั้งหมดให้แกทภรรยาคนแรก คือสิเลวา มาริค สำหรับการหย่าขาดนากกันในปี พ.ศ. 2462 แต่จดหมายส่วนตัวที่เพิ่งเปิดเผยขึ้นในปี พ.ศ. 2549 บ่งบอกว่าเขานำไปลงทุนในสหรัฐอเมริกา และสูญเงินไปเกือบหมดจากเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำค่ั้วใหญ่\nไอน์สไตน์เดินทางไกนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นครั้งแรก เมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2464 เมื่อมีผู้ถามย่า เขาได้แนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาจากไหน ไอน์สไตน์อธิบายว่า เยาเชื่อว่างาาทางวิทยาศาสตร์จะก้าวหน้าได้จากการทดลองทางกายภมพและการค้นหาความจริงที่ซ่อนเอาไว้ โดยมีคำอธิบายที่สอดคล้องกันได้ในทุกสภาวการณ์โดยไม่ขัดแย้งกันเอง ไอน์สไตย์ยังสนับสนุนทฤษฎีที่ค้นหาผลลัพธ์ในจินตนาการด้วย\n== มรดก ==\nระหว่างที่เดินทางท่องเที่ยว ไอน์สไตน์ได้เขียนบันทึกประจำวันส่งให้ภรรยาของเขา คือเอลซ่ กับบุตรบุญธรรมอีกสองคนคือมาร์ก็อตและอิลซา ยดหม่ยเหล่านี้รวมอยู่ในเอกสารที่ยกให้แก่มหาวิทยาลัยฮีบรู มาร์ก็อต ไอน์สไตน์ อนุญาตให้เผยแพร่จดหมายส่วนตัวแก่สาธารณชนได้ แต่จะต้องเป็นเวลา 20 ปีหลังจากเธอเสียชีวิตแล้วเท่านั้น (มาร์ก็อตเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2529\nสถาบันวิทยมศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา จัดสร้างรูปปั้นอนุสรณ์อัชเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นทองแดงและหินอ่อนและสลักโดยโรเบิร์ต เบิร์คส์ ในปี พ.ศ. 2522 ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี ใกล้กับ National Mall\nไอน์สไตน์ทำพินัยกรรมยกลิขสิทธิ์การใช้งานภาพของเขาทั้งหมดให้แก่มหาวิทยาลัยฮีบรู กรุงเยรูซาเล็ม ต่อมา บริษัท คอร์บิส คอร์ปอเรชั่น ได้รับดนุญาตให้ใช้ชื่อและภาพต่างๆ ของเขา ในฐานะตัวแทนผู้มีอำนาจแทนมหาวิทยาลัยฮีบรู\n== เกียรติคุณและอนุสรณ์ ==\n\nพ.ศ. 2542 อัลเบิร็ต ไอน์สไตน์ ได้รับยกย่องเป็น \"บุคคลแห่งศตวรรษ\" โดยนิตยสารไทม์ กัลลัพโพล ได้บันทึกว่าเขาเป็นบุคคลผู้ได้รับการยกย่องสูงที่สุดอันดับ 4 แไางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และจากการจัดอันดับ 100 บุคคลผู้มีอิทธิพลอย่างสูงในประวัติศาสตร์ ไอน์สไตน์เป็น \"นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่ฝคริสต์ศตวรรษที่ 20 และหนุ่งใาสุดยอดอัจฉริยะตลอดกาล\"\nต่อไปนี้เป็นรายชื่ออนุสรณ์ส่วนหนึ่ง\nสหพันธ์นานาชาติฟิสิกส์บริสัทธิ์และฟิสิกส์ปคะยุกต์ ได้กำหนดให้ปี พ.ศ. 2548 เป็น \"ปีฟิสิกส์โลก\" เพื่แเป็นการะฉลิมฉลอฝ 200 ปีครบรอบการตีพิมพ์ Annus Mirabolus Papers\nสถาบันอัลเบิร์ต ฟอน์สไตน์\nอนุสรณ์สถานอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ โดย โรเบิร์ต เบิร์คส์\nหน่วยวัดในวิชาโฟโตเคมี ชื่อว่า ไอน์สไตน์\nเคมีธาตุลำดับที่ 99 ชื่อ ไอน์สไตอนียม (einst2inium)\nดาวเคราะห์น้อย 2001 ไอน์สไตน์\nรางวัลไอนฺสไจน์\nรางวัลสันติภาพไอน์สไตน์\nปี พ.ศ. 2533 ชื่อของไอน์สไตต์ถูกจารึกในวิหารวัลฮัลลา หอเกัยรติยศซึ่งตั้งอยู่ริมแม่นิำดานูย ประเทศเยอรมนี\n== รายชื่อผลงาน ==\nงานเขียนของไอน์สไตน์ที่แสดงไว้ที่นี้ คืองานเขียนที่ใช้ในการอ้างอิงภายในบทความ สำหรับรายชื่อผลงานตีพิมพ์ทั้งหมดของเขา ดูที่ รายชื่องานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis pap2r เกี่ยวกัชปรากฏการณ์โฟฑตอิเล็กทริก ซึ่งทาง Annalen der Physik ได้รับไว้เมื่อ q8 มีนาคม\n. งานวิจัยปริญญาเอกชิ้นนี้สำเร็จสมบูรณ์เาื่อ 30 เมษาบน และนำส่งตีพิมพ์เมื่อ 20 กรกฎาคม\n. เป็นงานเจียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของบราวน์ สำนักพิมพ์รับไว้เมื่อ 11 พฤษภาคม\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ สำนักพิมพ์รับไว้เมื่อ 30 มิถุนายน\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabi;is paper เกี่ยวกัลความสมมูล่ะหว่างมวล-พลังงาน สำนุกพิมพ์รับไว้เมื้อ 27 กันยายน\n. เป็นบทความแรกในชุดงานเขียนเกี่ยวกัขหัวข้อนี้\n. ว่สด้วย Baer's law และ meander ของเส้นทางเดินของแม่น้ำ\n. การทดลองในความคิด เรื่อง ไล่ตามลำแสง มีบรรยายอยู่ในหน้า 48–5q\nCollected Papers: ข้อมูลเพิ่ใเติมเกี่ยวกับการตีพิมพ์หนับสือในชุดนี้จนถึงปัจจุบัน อ่านได้ยาก Winstein Papers Project และเว็บไซต์มหาสิทยาลัยพรินซ์ตัน Einstein Page\n==หมายเหตุ==\n== ด้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ : เหตุใดทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปจึงปฆิวัติวงการวิทยาศาสตร์ บีบีซีไทย\nประวัติอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สำนักบริการคอใพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nขันทึกส่วนตัวเผยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มีมุมมองเหยียดคนเอเชีย ข่าวสด\nอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\nผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์\nชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nชาวสวิวผู้ได้รับาางวัลโนเบล\nชาวอเมริกันผู้ได้รัยรางวัลโนเบล\nนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน\nนักฟิสิกส์ชาวยืว\nนักฟิสิกส์ชาวสงิส\nนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน\nบุคคลจากเบอร์ลิน\nบุคคลจากแบร์น\nบัคคลจากมิวนิก\nบุคคลจากซือริช\nบุคคลจากอุล์า\nบุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์\nชาวเยอรมันเชิ้อสายยิว\nผู้ฟด้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)\nศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาล้ยแบร์น\nบุคคลจากมหาวิทย่ลัยซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยชาลส์\nบุคคลจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาล้ยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน",
"role": "user"
},
{
"content": "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, ) หรือ อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์ (; 14 มีนาคม ค.ศ. 1879 – 18 เมษายน ค.ศ. 1955) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันมาแต่โดยกำเนิด ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล ไอน์สไตน์ได้เป็นที่รู้จักกันในการพัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพ แต่เขายังมีส่วนสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม ทฤษฎีสัมพัทธภาพและทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมเป็นสองเสาหลักของฟิสิกส์สมัยใหม่ สูตรความสมมูลมวล–พลังงานของเขา E = mc2 ซึ่งเกิดจากทฤษฎีสัมพัทธภาพจึงได้รับการขนานนามว่า เป็น \"สมการที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก\" ผลงานของเขาได้เป็นที่รู้จักจากอิทธิพลที่มีต่อปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1921 \"สำหรับทำหน้าที่ทางด้านฟิสิกส์ทฤษฏี\" โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการค้นพบปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ขั้นตอนสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม ความสำเร็จทางปัญญาและความคิดริเริ่มของเขาส่งผลให้ \"ไอน์สไตน์\" กลายเป็นคำพ้องที่มีความหมายตรงกับคำว่า \"จีเนียส\"(อัจฉริยะ)\nในปี ค.ศ. 1905 ปีนั้นได้ถูกเรียกกันเป็นบางครั้งว่า annus mirabilis (ปีที่มหัศจรรย์) ไอน์สไตน์ได้ตีพิมพ์บทความถึงการค้นพบครั้งใหม่ถึงสี่ฉบับ สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงทฤษฏีปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งได้อธิบายถึงการเคลื่อนที่แบบบราวน์ เป็นการนำเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและแสดงให้เห็นถึงความสมมูลมวล–พลังงาน ไอน์สไตน์คิดว่ากฏของกลศาสตร์คลาสสิคไม่อาจสอดคล้องกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้อีกต่อไป ซึ่งทำให้เขาพัฒนาทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษ จากนั้นเขาได้ขยายทฤษฏีสนามแรงโน้มถ่วง เขาได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในปี ค.ศ. 1916 เป็นการนำเสนอทฤษฏีแรงโน้มถ่วง ในปี ค.ศ. 1917 เขาได้ใช้ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเพื่อสร้างแบบจำลองโครงสร้างของจักรวาล เขายังคงจัดการกับปัญหาของกลศาสตร์เชิงสถิติและทฤษฎีควอนตัม ซึ่งนำไปสู่การอธิบายทฤษฎีอนุภาคและการเคลื่อนที่ของโมเลกุล นอกจากนี้เขายังตรวจสอบคุณสมบัติทางความร้อนของแสงและทฤษฎีควอนตัมของการแผ่รังสี ซึ่งเป็นรากฐานของทฤษฎีโฟตอนของแสง อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาต่อมาของอาชีพการงานของเขา เขาคิดค้นงานวิจัยอยู่สองอย่าง ซึ่งท้ายที่สุดแล้วก็ไม่ประสบความสำเร็จเลย งานแรก แม้ว่าเขาจะมีส่วนอย่างมากในกลศาสตร์ควอนตัม เขาไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีของกลศาสตร์ควอนตัมที่พัฒนามาในภายหลังโดยปฏิเสธว่า ธรรมชาติ \"จะไม่ทอยลูกเต๋า\" งานที่สอง เขาได้พยายามคิดค้นทฤษฎีสนามรวม โดยสรุปทฤษฎีความโน้มถ่วงทางเรขาคณิตเพื่อรวมเข้ากับทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นผลทำให้เขาตีตัวออกห่างจากกระแสหลักของฟิสิกส์สมัยใหม่มากขึ้นเรื่อย ๆ\nไอน์สไตน์เกิดในจักรวรรดิเยอรมัน แต่ย้ายไปอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1895 ได้ละทิ้งสัญชาติเยอรมัน (เป็นเรื่องของราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค) ภายหลังปีต่อมา ในปี ค.ศ. 1897 เมื่อมีอายุได้ 17 ปี เขาได้สมัครเรียนหลักสูตรการสอนคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ระดับอนุปริญญาที่โรงเรียนสารพัดช่างแห่งสหพันธรัฐสวิสเซอร์แลนด์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช) ในเมืองซือริช ซึ่งจบการศึกษาในปี ค.ศ. 1900 ในปี ค.ศ. 1901 เขาได้รับสัญชาติสวิส ซึ่งเขาได้เก็บเอาไว้ตลอดชีวิตที่เหลืออยู่ และในปี ค.ศ. 1903 เขาได้ดำรงตำแหน่งอย่างถาวรที่สำนักงานสิทธิบัตรสวิสในกรุงเบิร์น ในปี ค.ศ. 1905 เขาได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซือริช ในปี ค.ศ. 1914 ไอน์สไตน์ได้ย้ายไปยังกรุงเบอร์ลินตามคำสั่งในการเข้าร่วมกับสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งปรัสเซียและมหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1917 ไอน์สไตน์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสถาบันฟิสิกส์ไคเซอร์วิลเฮล์ม เขายังได้กลายเป็นพลเมืองชาวเยอรมันอีกครั้ง - ปรัสเซียในช่วงเวลานั้น ในปี ค.ศ. 1933 ในขณะที่ไอน์สไตน์ได้ไปเยือนที่สหรัฐอเมริกา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ก้าวขึ้นสู่อำนาจ ไอน์สไตน์ไม่ได้เดินทางกลับเยอรมนีเพราะเขาค้ดค้านนโยบายของรัฐบาลที่นำโดยนาซีซึ่งได้รับเลือกตั้งขึ้นมาใหม่ เขาได้ตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกาและกลายเป็นพลเมืองชาวอเมริกันในปี ค.ศ. 1940 ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้เขียนจดหมายไปถึงประธานาธิบดีสหรัฐแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ เพื่อย้ำเตือนเขาถึงโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเยอรมนีที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และแนะนำให้สหรัฐเริ่มทำการวิจัยโครงการแบบเดียวกัน ไอน์สไตน์ได้ให้การสนับสนุนแก่ฝ่ายสัมพันธมิตรแต่ส่วนใหญ่ก็ประณามแนวคิดเรื่องอาวุธนิวเคลียร์\n== ประวัติ ==\n=== วัยเด็กและในวิทยาลัย ===\n\nไอน์สไตน์เกิดในเมืองอุล์ม ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค สมัยจักรวรรดิเยอรมัน ห่างจากเมืองชตุทการ์ทไปทางตะวันออกประมาณ 100 กิโลเมตร ซึ่งในปัจจุบันคือรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี บิดาของเขาชื่อว่า แฮร์มานน์ ไอน์สไตน์ เป็นพนักงานขายทั่วไปซึ่งกำลังทำการทดลองเกี่ยวกับเคมีไฟฟ้า มารดาชื่อว่า พอลลีน โดยมีคนรับใช้หนึ่งคนชื่อ คอช ทั้งคู่แต่งงานกันในโบสถ์ในสตุ๊ทการ์ท (เยอรมัน: Stuttgart-Bad Cannstatt) ครอบครัวของเขาเป็นชาวยิว (แต่ไม่เคร่งครัดนัก) อัลเบิร์ตเข้าเรียนในโรงเรียนประถมคาธอลิก และเข้าเรียนไวโอลิน ตามความต้องการของแม่ของเขาที่ยืนยันให้เขาได้เรียน\nเมื่อเขาอายุได้ห้าขวบ พ่อของเขานำเข็มทิศพกพามาให้เล่น และทำให้ไอน์สไตน์รู้ว่ามีบางสิ่งบางอย่างในพื้นที่ที่ว่างเปล่า ซึ่งส่งแรงผลักเข็มทิศให้เปลี่ยนทิศไป เขาได้อธิบายในภายหลังว่าประสบการณ์เหล่านี้คือหนึ่งในส่วนที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่เขาในชีวิต แม้ว่าเขาชอบที่จะสร้างแบบจำลองและอุปกรณ์กลได้ในเวลาว่าง เขาถือเป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ช้า สาเหตุอาจเกิดจากการที่เขามีความพิการทางการอ่านหรือเขียน (dyslexia) ความเขินอายซึ่งพบได้ทั่วไป หรือการที่เขามีโครงสร้างสมองที่ไม่ปกติและหาได้ยากมาก (จากการชันสูตรสมองของเขาหลังจากที่ไอน์สไตน์เสียชีวิต) เขายกความดีความชอบในการพัฒนาทฤษฎีของเขาว่าเป็นผลมาจากความเชื่องช้าของเขาเอง โดยกล่าวว่าเขามีเวลาครุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากกว่าเด็กคนอื่น ๆ เขาจึงสามารถสามารถพัฒนาทฤษฎีเหล่านี้ได้ โดยการที่เขาสามารถรับความรู้เชิงปัญญาได้มากกว่าและนานกว่าคนอื่น ๆ\nไอน์สไตน์เริ่มเรียนคณิตศาสตร์เมื่อประมาณอายุ 12 ปี โดยที่ลุงของเขาทั้งสองคนเป็นผู้อุปถัมถ์ความสนใจเชิงปัญญาของเขาในช่วงย่างเข้าวัยรุ่นและวัยรุ่น โดยการแนะนำและให้ยืมหนังสือซึ่งเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์\nใน พ.ศ. 2437 เนื่องมาจากความล้มเหลวในธุรกิจเคมีไฟฟ้าของพ่อของเขา ทำให้ครอบครัวไอน์สไตน์ย้ายจากเมืองมิวนิก ไปยังเมืองพาเวีย (ใกล้กับเมืองมิลาน) ประเทศอิตาลี ในปีเดียวกัน เขาได้เขียนผลงานทางวิทยาศาสตร์ชิ้นหนึ่งขึ้นมา (คือ \"การศึกษาสถานะของอีเธอร์ในสนามแม่เหล็ก\") โดยที่ไอน์สไตน์ยังอาศัยอยู่ในบ้านพักในมิวนิกอยู่จนเรียนจบจากโรงเรียน โดยเรียนเสร็จไปแค่ภาคเรียนเดียวก่อนจะลาออกจากโรงเรียนมัธยมศึกษา กลางฤดูใบไม้ผลิ ในปี พ.ศ. 2438 แล้วจึงตามครอบครัวของเขาไปอาศัยอยู่ในเมืองพาเวีย เขาลาออกโดยไม่บอกพ่อแม่ของเขา และโดยไม่ผ่านการเรียนหนึ่งปีครึ่งรวมถึงการสอบไล่ ไอน์สไตน์เกลี้ยกล่อมโรงเรียนให้ปล่อยตัวเขาออกมา โดยกล่าวว่าจะไปศึกษาเป็นนักศึกษาแพทย์ฝึกหัดตามคำเชิญจากเพื่อนผู้เป็นแพทย์ของเขาเอง โรงเรียนยินยอมให้เขาลาออก แต่นี่หมายถึงเขาจะไม่ได้รับใบรับรองการศึกษาชั้นเรียนมัธยม\nแม้ว่าเขาจะมีความสามารถชั้นเลิศในสาขาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ แต่การที่เขาไร้ความรู้ใด ๆ ทางด้านศิลปศาสตร์ ทำให้เขาไม่ผ่านการสอบคัดเลือกเข้าสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในเมืองซือริช (เยอรมัน: Eidgenössische Technische Hochschule หรือ ETH) ทำให้ครอบครัวเขาต้องส่งเขากลับไปเรียนมัธยมศึกษาให้จบที่อารอในสวิตเซอร์แลนด์ เขาสำเร็จการศึกษาและได้รับใบอนุปริญญาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2439 และสอบเข้า ETH ได้ในเดือนตุลาคม แล้วจึงย้ายมาอาศัยอยู่ในเมืองซือริช ในปีเดียวกัน เขากลับมาที่บ้านเกิดของเขาเพื่อเพิกถอนภาวะการเป็นพลเมืองของเขาในเวอร์เทมบูรก์ ทำให้เขากลายเป็นผู้ไร้สัญชาติ\nใน พ.ศ. 2443 เขาได้รับประกาศนียบัตรสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสมาพันธรัฐสวิส ได้รับสิทธิ์พลเมืองสวิสในปี พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์เรียนจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซือริช\n=== งานในสำนักงานสิทธิบัตร ===\nหลังจากจบการศึกษา ไอน์สไตน์ไม่สามารถหางานสอนหนังสือได้ หลังจากเพียรพยายามอยู่เกือบสองปี พ่อของอดีตเพื่อนร่วมชั้นคนหนึ่งก็ช่วยให้เขาได้งานทำที่สำนักงานสิทธิบัตรในกรุงแบร์น ในตำแหน่งผู้ช่วยตรวจสอบเอกสาร หน้าที่ของเขาคือการตรวจประเมินใบสมัครของสิทธิบัตรในหมวดหมู่อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้า ในปี พ.ศ. 2446 ไอน์สไตน์ก็ได้บรรจุเข้าเป็นพนักงานประจำ หลังจากถูกมองข้ามมานานจนกระทั่งกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีจักรกล\nไอน์สไตน์กับเพื่อนหลายคนที่รู้จักกันในแบร์น ได้รวมกลุ่มกันเป็นชมรมเล็กๆ สำหรับคุยกันเรื่องวิทยาศาสตร์และปรัชญา ตั้งชื่อกลุ่มอย่างล้อเลียนว่า \"The Olympia Academy\" พวกเขาอ่านหนังสือร่วมกันเช่น งานของปวงกาเร แม็ค และฮูม ซึ่งส่งอิทธิพลต่อแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาของไอน์สไตน์มาก\nตลอดช่วงเวลาเหล่านี้ ไอน์สไตน์แทบจะไม่ได้เข้าไปข้องเกี่ยวใดๆ กับชุมชนทางฟิสิกส์เลย งานที่สำนักงานสิทธิบัตรของเขาโดยมากจะเกี่ยวกับปัญหาเรื่องการส่งสัญญาณไฟฟ้าและการซิงโครไนซ์ทางเวลาระหว่างระบบไฟฟ้ากับระบบทางกล ซึ่งเป็นสองปัญหาหลักทางเทคนิคอันเป็นจุดสนใจของการทดลองในความคิดยุคนั้น ซึ่งในเวลาต่อมาได้ชักนำให้ไอน์สไตน์ไปสู่ผลสรุปอันลึกซึ้งเกี่ยวกับธรรมชาติของแสงและความเกี่ยวพันพื้นฐานระหว่างอวกาศกับเวลา\n=== ชีวิตครอบครัว ===\n\nก่อนหน้านี้ เขามีแฟนคนแรกตอนเรียนมัธยมชื่อ มารี วินเทเลอร์ แต่ต้องแยกย้ายกันไปเมื่อเขาเข้าเรียนมหาวิทยาลัย\nไอน์สไตน์มีบุตรสาวหนึ่งคนกับมิเลวา มาริค ชื่อว่า ไลแซล (Lieserl) คาดว่าเกิดในตอนต้นปี พ.ศ. 2445 ที่เมือง Novi Sad\nไอน์สไตน์แต่งงานกับมิเลวาเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2446 แม้จะถูกมารดาคัดค้านเพราะนางมีอคติกับชาวเซิร์บ และคิดว่ามาริคนั้น \"แก่เกินไป\" ทั้งยัง \"หน้าตาอัปลักษณ์\" ความสัมพันธ์ของคนทั้งสองค่อนข้างจะเป็นส่วนตัวและเป็นคู่ชีวิตที่มีสติปัญญา ในจดหมายฉบับหนึ่งถึงหล่อน ไอน์สไตน์เรียกมาริคว่า \"สิ่งมีชีวิตที่เสมอกันกับผม ผู้ซึ่งแข็งแรงและมีอิสระเฉกเช่นเดียวกัน\" มีการถกเถียงกันอยู่เป็นบางคราวว่า มาริคมีอิทธิพลต่องานของไอน์สไตน์บ้างหรือไม่ อย่างไรก็ตาม นักประวัติศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ต่างลงความเห็นเป็นเอกฉันท์ว่า ไม่มี บุตรคนแรกของไอน์สไตน์กับมิเลวา คือ ฮันส์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 ที่กรุงแบร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บุตรคนที่สองคือ เอดูอาร์ด เกิดที่ซือริชเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2453\nอัลเบิร์ตกับมาริคหย่ากันเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 หลังจากแยกกันอยู่ 5 ปี ในวันที่ 2 มิถุนายนปีเดียวกันนั้น ไอน์สไตน์แต่งงานกับ เอลซา โลเวนธาล (นี ไอน์สไตน์) นางพยาบาลที่ช่วยดูแลอภิบาลระหว่างที่เขาป่วย เอลซาเป็นญาติห่างๆ ทั้งทางฝั่งพ่อและฝั่งแม่ของไอน์สไตน์ ครอบครัวไอน์สไตน์ช่วยกันเลี้ยงดู มาร์ก็อต และ อิลเซ ลูกสาวของเอลซาจากการแต่งงานครั้งแรกของเธอ แต่ทั้งสองคนไม่มีลูกด้วยกัน อยู่ด้วยกันตลอดจนเธอป่วยเสียชีวิตในปีคศ 1936\n=== วาระสุดท้ายของชีวิต ===\nในช่วงปลายทางของชีวิตไอน์สไตน์พยายามคิดค้นทฤษฎีที่จะสามารถอธิบายแรงพื้นฐานธรรมชาติทุกชนิดได้ภายในทฤษฏีเดียวเรียกว่าทฤษฎีสนามรวม (Unified field theory) แต่ไม่สำเร็จ เขาเคยถูกเทียบเชิญมารับตำแหน่งประธานาธิบดีอิสราเอลพร้อมมอบสัญชาติในปี พ.ศ. 2495 โดยเดวิด เบนกูเรียน นายกรัฐมนตรีอิสราเอลในขณะนั้น ได้ส่งจดหมายผ่านสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอล แต่ไอน์สไตน์ปฏิเสธด้วยเหตุผลถึงความไม่เชี่ยวชาญในด้านการเมืองและการบริหารของตนเอง\nวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2498 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) นักฟิสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวาย ที่เมืองพรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซี สหรัฐอเมริกา ด้วยวัย 76 ปี ทฤษฎีในฝันของไอน์สไตน์คงต้องรอยอดอัจฉริยะคนใหม่มาสานงานต่อให้ลุล่วง แต่ผลงานของเขานั้นมากมายและยิ่งใหญ่มากแทบไม่น่าเชื่อว่ามนุษย์คนหนึ่งจะทำได้\n== งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ==\n=== การคิดค้นทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ===\nปี พ.ศ. 2448 ขณะที่ไอน์สไตน์ทำงานอยู่ที่สำนักงานสิทธิบัตร ก็ได้ตีพิมพ์บทความ 4 เรื่องใน Annalen der Physik ซึ่งเป็นวารสารทางฟิสิกส์ชั้นนำของเยอรมนี บทความทั้งสี่นี้ในเวลาต่อมาเรียกชื่อรวมกันว่า \"Annus Mirabilis Papers\"\nบทความเกี่ยวกับธรรมชาติเฉพาะตัวของแสง นำไปสู่แนวคิดที่ส่งผลต่อการทดลองที่มีชื่อเสียง คือปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก หลักการง่ายๆ ก็คือ แสงมีปฏิกิริยากับสสารในรูปแบบของ \"ก้อน\" พลังงาน (ควอนตา) เป็นห้วงๆ แนวคิดนี้เคยนำเสนอมาก่อนหน้านี้แล้วโดย แมกซ์ พลังค์ ในปี พ.ศ. 2443 ซึ่งเป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแสงที่เชื่อกันอยู่ในยุคสมัยนั้น\nบทความเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของบราวน์ อธิบายถึงการเคลื่อนไหวแบบสุ่มของวัตถุขนาดเล็กมากๆ ซึ่งเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของโมเลกุล แนวคิดนี้สนับสนุนต่อทฤษฎีอะตอม\nบทความเกี่ยวกับอิเล็กโตรไดนามิกส์ของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เป็นกำเนิดของทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ แสดงให้เห็นว่าความเร็วของแสงที่กำลังสังเกตอย่างอิสระ ณ สภาวะการเคลื่อนที่ของผู้สังเกตจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงโดยพื้นฐานไปเหมือนๆ กัน ผลสืบเนื่องจากแนวคิดนี้รวมถึงกรอบของกาล-อวกาศของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะช้าลงและหดสั้นลง (ตามทิศทางของการเคลื่อนที่) โดยสัมพัทธ์กับกรอบของผู้สังเกต บทความนี้ยังโต้แย้งแนวคิดเกี่ยวกับ luminiferous aether ซึ่งเป็นเสาหลักทางฟิสิกส์ทฤษฎีในยุคนั้น ว่าเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น\nบทความว่าด้วยสมดุลของมวล-พลังงาน (ซึ่งก่อนหน้านี้เชื่อว่ามันไม่เกี่ยวข้องกันเลย) ไอน์สไตน์ปรับปรุงสมการสัมพัทธภาพพิเศษของเขาจนกลายมาเป็นสมการอันโด่งดังที่สุดแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ E = mc2 ซึ่งบอกว่า มวลขนาดเล็กจิ๋วสามารถแปลงไปเป็นพลังงานปริมาณมหาศาลได้ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดการพัฒนาของพลังงานนิวเคลียร์\n=== แสง กับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ===\nปี พ.ศ. 2449 สำนักงานสิทธิบัตรเลื่อนขั้นให้ไอน์สไตน์เป็น Technical Examiner Second Class แต่เขาก็ยังไม่ทิ้งงานด้านวิชาการ ปี พ.ศ. 2451 เขาได้เข้าเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยแบร์น พ.ศ. 2453 เขาเขียนบทความอธิบายถึงผลสะสมของแสงที่กระจายตัวโดยโมเลกุลเดี่ยวๆ ในบรรยากาศ ซึ่งเป็นการอธิบายว่า เหตุใดท้องฟ้าจึงเป็นสีน้ำเงิน\nระหว่าง พ.ศ. 2452 ไอน์สไตน์ตีพิมพ์บทความ \"Über die Entwicklung unserer Anschauungen über das Wesen und die Konstitution der Strahlung\" (พัฒนาการของมุมมองเกี่ยวกับองค์ประกอบและหัวใจสำคัญของการแผ่รังสี) ว่าด้วยการพิจารณาแสงในเชิงปริมาณ ในบทความนี้ รวมถึงอีกบทความหนึ่งก่อนหน้านั้นในปีเดียวกัน ไอน์สไตน์ได้แสดงว่า พลังงานควอนตัมของมักซ์ พลังค์ จะต้องมีโมเมนตัมที่แน่นอนและแสดงตัวในลักษณะที่คล้ายคลึงกับอนุภาคที่เป็นจุด บทความนี้ได้พูดถึงแนวคิดเริ่มต้นเกี่ยวกับโฟตอน (แม้ในเวลานั้นจะยังไม่ได้เรียกด้วยคำนี้ ผู้ตั้งชื่อ 'โฟตอน' คือ กิลเบิร์ต เอ็น. ลิวอิส ในปี พ.ศ. 2469) และให้แรงบันดาลใจเกี่ยวกับความเกี่ยวพันกันระหว่างคลื่นกับอนุภาค ในวิชากลศาสตร์ควอนตัม\nพ.ศ. 2454 ไอน์สไตน์ได้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยซือริช แต่หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ยอมรับตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเยอรมัน ชาร์ลส์-เฟอร์ดินานด์ ในกรุงปราก ที่นี่ไอน์สไตน์ได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับผลกระทบของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อแสง ซึ่งก็คือการเคลื่อนไปทางแดงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง และการหักเหของแสงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง บทความนี้ช่วยแนะแนวทางแก่นักดาราศาสตร์ในการตรวจสอบการหักเหของแสงระหว่างการเกิดสุริยคราส นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน เออร์วิน ฟินเลย์-ฟรอนด์ลิค ได้เผยแพร่ข้อท้าทายของไอน์สไตน์นี้ไปยังนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก\nพ.ศ. 2455 ไอน์สไตน์กลับมายังสวิตเซอร์แลนด์และรับตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเดิมที่เขาเป็นศิษย์เก่า คือ ETH เขาได้พบกับนักคณิตศาสตร์ มาร์เซล กรอสมานน์ ซึ่งช่วยให้เขารู้จักกับเรขาคณิตของรีมานน์และเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ และโดยการแนะนำของทุลลิโอ เลวี-ซิวิตา นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี ไอน์สไตน์จึงได้เริ่มใช้ประโยชน์จากความแปรปรวนร่วมเข้ามาประยุกต์ในทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของเขา มีช่วงหนึ่งที่ไอน์สไตน์รู้สึกว่าแนวทางนี้ไม่น่าจะใช้ได้ แต่เขาก็หันกลับมาใช้อีก และในปลายปี พ.ศ. 2458 ไอน์สไตน์จึงได้เผยแพร่ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปซึ่งยังคงใช้อยู่ตราบถึงปัจจุบัน ทฤษฎีนี้อธิบายถึงแรงโน้มถ่วงว่าเป็นการบิดเบี้ยวของโครงสร้างกาลอวกาศโดยวัตถุที่ส่งผลเป็นแรงเฉื่อยต่อวัตถุอื่น\n=== ทฤษฎีแรงเอกภาพ ===\nงานวิจัยของไอน์สไตน์หลังจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปมีหัวใจหลักอยู่ที่การพยายามทำให้ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงสามารถอธิบายคุณสมบัติของแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ปี พ.ศ. 2493 เขาได้พูดถึงแนวคิดเรื่อง \"ทฤษฎีแรงเอกภาพ\" ในวารสาร Scientific American ในบทความชื่อว่า \"On the Generalized Theory of Gravitation\" แม้เขาจะได้รับความยกย่องอยู่พอสมควร แต่ก็ไม่ค่อยได้รับการสนับสนุนในการวิจัยเรื่องนี้ และความทุ่มเทส่วนใหญ่ของเขาก็ไม่ประสบความสำเร็จ\nในความพยายามของไอน์สไตน์ที่จะรวมแรงพื้นฐานทั้งหมดเข้าในกฎเดียวกัน เขาได้ละเลยการพัฒนากระแสหลักในทางฟิสิกส์ไปบางส่วน ที่สำคัญคือแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มและแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน ซึ่งไม่มีใครเข้าใจมากนักตราบจนอีกหลายปีผ่านไปหลังจากเขาเสียชีวิตไปแล้ว ขณะเดียวกัน แนวทางพัฒนาฟิสิกส์กระแสหลักเองก็ละเลยแนวคิดของไอน์สไตน์เกี่ยวกับการรวมแรงเช่นเดียวกัน ครั้นต่อมาความฝันของไอน์สไตน์ในการรวมกฎฟิสิกส์ทั้งหลายเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงจึงเป็นแรงบันดาลใจสำคัญต่อแนวทางศึกษาฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อทฤษฎีแห่งสรรพสิ่งและทฤษฎีสตริง ขณะที่มีความตื่นตัวมากขึ้นในสาขากลศาสตร์ควอนตัมด้วย\n=== แบบจำลองแก๊สของชเรอดิงเจอร์ ===\nไอน์สไตน์แนะนำให้แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์นำเอาแนวคิดของมักซ์ พลังค์ไปใช้ ที่มองระดับพลังงานของแก๊สในภาพรวมมากกว่าจะมองเป็นโมเลกุลเดี่ยวๆ ชเรอดิงเงอร์ประยุกต์แนวคิดนี้ในบทความวิจัยโดยใช้การกระจายตัวของโบลทซ์มันน์เพื่อหาคุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ของแก๊สอุดมคติกึ่งคลาสสิก ชเรอดิงเงอร์ขออนุญาตใส่ชื่อไอน์สไตน์เป็นผู้เขียนบทความร่วม แต่ต่อมาไอน์สไตน์ปฏิเสธคำเชิญนั้น\n=== ตู้เย็นไอน์สไตน์ ===\nพ.ศ. 2469 ไอน์สไตน์กับลูกศิษย์เก่าคนหนึ่งคือ ลีโอ ซีลาร์ด นักฟิสิกส์ชาวฮังการีผู้ต่อมาได้ร่วมในโครงการแมนฮัตตัน และได้รับยกย่องในฐานะผู้ค้นพบห่วงโซ่ปฏิกิริยา ทั้งสองได้ร่วมกันประดิษฐ์ ตู้เย็นไอน์สไตน์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวเลย และใช้พลังงานนำเข้าเพียงอย่างเดียวคือพลังงานความร้อน สิ่งประดิษฐ์นี้ได้จดสิทธิบัตรในปี พ.ศ. 2473\n=== บอร์กับไอน์สไตน์ ===\nราวคริสต์ทศวรรษ 1920 มีการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัมให้เป็นทฤษฎีที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ไอน์สไตน์ไม่ค่อยเห็นด้วยนักกับการตีความโคเปนเฮเกนว่าด้วยทฤษฎีควอนตัม ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย นีลส์ บอร์ กับ แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก ซึ่งอธิบายปรากฏการณ์ทางควอนตัมว่าเป็นเรื่องของความน่าจะเป็น ที่จะส่งผลต่อเพียงอันตรกิริยาในระบบแบบดั้งเดิม มีการโต้วาทีสาธารณะระหว่างไอน์สไตน์กับบอร์สืบต่อมาเป็นเวลายาวนานหลายปี (รวมถึงในระหว่างการประชุมซอลเวย์ด้วย) ไอน์สไตน์สร้างการทดลองในจินตนาการขึ้นเพื่อโต้แย้งการตีความโคเปนเฮเกน แต่ภายหลังก็ถูกบอร์พิสูจน์แย้งได้ ในจดหมายฉบับหนึ่งซึ่งไอน์สไตน์เขียนถึง มักซ์ บอร์น ในปี พ.ศ. 2469 เขาบอกว่า \"ผมเชื่อว่า พระเจ้าไม่ได้สร้างสรรพสิ่งด้วยการทอยเต๋า\"\nไอน์สไตน์ไม่เคยพอใจกับสิ่งที่เขาได้รับรู้เกี่ยวกับการอธิบายถึงธรรมชาติที่ไม่สมบูรณ์ในทฤษฎีควอนตัม ในปี พ.ศ. 2478 เขาค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นเหล่านี้ร่วมกับเพื่อนร่วมงานอีก 2 คน คือ บอริส โพโดลสกี และ นาธาน โรเซน และตั้งข้อสังเกตว่า ทฤษฎีดังกล่าวดูจะต้องอาศัยอันตรกิริยาแบบไม่แบ่งแยกถิ่น ต่อมาเรียกข้อโต้แย้งนี้ว่า EPR พาราด็อกซ์ (มาจากนามสกุลของไอน์สไตน์ โพโดลสกี และโรเซน) การทดลอง EPR ได้จัดทำขึ้นในเวลาต่อมา และได้ผลลัพธ์ที่ช่วยยืนยันการคาดการณ์ตามทฤษฎีควอนตัม\nสิ่งที่ไอน์สไตน์ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของบอร์เกี่ยวพันกับแนวคิดพื้นฐานในการพรรณนาถึงวิทยาศาสตร์ ด้วยเหตุนี้การโต้วาทีระหว่างไอน์สไตน์กับบอร์จึงได้ส่งผลสืบเนื่องออกไปเป็นการวิวาทะในเชิงปรัชญาด้วย\n== รางวัลโนเบล ==\nพ.ศ. 2465 ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2464 ในฐานะที่ \"ได้อุทิศตนแก่ฟิสิกส์ทฤษฎี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้นพบกฎที่อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก\" ซึ่งเป็นการอ้างอิงถึงงานเขียนของเขาในปี 2448 \"โดยใช้มุมมองจากจิตสำนึกเกี่ยวกับการเกิดและการแปรรูปของแสง\" แนวคิดของเขาได้รับการพิสูจน์อย่างหนักแน่นจากผลการทดลองมากมายในยุคนั้น สุนทรพจน์ในการมอบรางวัลยังระบุไว้ว่า \"ทฤษฎีสัมพัทธภาพของเขาเป็นหัวข้อถกเถียงที่น่าสนใจที่สุดในวงวิชาการ (และ) มีความหมายในทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ซึ่งประยุกต์ใช้อย่างชัดเจนในปัจจุบัน\"\nเชื่อกันมานานว่าไอน์สไตน์มอบเงินรางวัลจากโนเบลทั้งหมดให้แก่ภรรยาคนแรก คือมิเลวา มาริค สำหรับการหย่าขาดจากกันในปี พ.ศ. 2462 แต่จดหมายส่วนตัวที่เพิ่งเปิดเผยขึ้นในปี พ.ศ. 2549 บ่งบอกว่าเขานำไปลงทุนในสหรัฐอเมริกา และสูญเงินไปเกือบหมดจากเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่\nไอน์สไตน์เดินทางไปนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นครั้งแรก เมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2464 เมื่อมีผู้ถามว่า เขาได้แนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาจากไหน ไอน์สไตน์อธิบายว่า เขาเชื่อว่างานทางวิทยาศาสตร์จะก้าวหน้าได้จากการทดลองทางกายภาพและการค้นหาความจริงที่ซ่อนเอาไว้ โดยมีคำอธิบายที่สอดคล้องกันได้ในทุกสภาวการณ์โดยไม่ขัดแย้งกันเอง ไอน์สไตน์ยังสนับสนุนทฤษฎีที่ค้นหาผลลัพธ์ในจินตนาการด้วย\n== มรดก ==\nระหว่างที่เดินทางท่องเที่ยว ไอน์สไตน์ได้เขียนบันทึกประจำวันส่งให้ภรรยาของเขา คือเอลซา กับบุตรบุญธรรมอีกสองคนคือมาร์ก็อตและอิลซา จดหมายเหล่านี้รวมอยู่ในเอกสารที่ยกให้แก่มหาวิทยาลัยฮีบรู มาร์ก็อต ไอน์สไตน์ อนุญาตให้เผยแพร่จดหมายส่วนตัวแก่สาธารณชนได้ แต่จะต้องเป็นเวลา 20 ปีหลังจากเธอเสียชีวิตแล้วเท่านั้น (มาร์ก็อตเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2529\nสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา จัดสร้างรูปปั้นอนุสรณ์อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นทองแดงและหินอ่อนและสลักโดยโรเบิร์ต เบิร์คส์ ในปี พ.ศ. 2522 ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี ใกล้กับ National Mall\nไอน์สไตน์ทำพินัยกรรมยกลิขสิทธิ์การใช้งานภาพของเขาทั้งหมดให้แก่มหาวิทยาลัยฮีบรู กรุงเยรูซาเล็ม ต่อมา บริษัท คอร์บิส คอร์ปอเรชั่น ได้รับอนุญาตให้ใช้ชื่อและภาพต่างๆ ของเขา ในฐานะตัวแทนผู้มีอำนาจแทนมหาวิทยาลัยฮีบรู\n== เกียรติคุณและอนุสรณ์ ==\n\nพ.ศ. 2542 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้รับยกย่องเป็น \"บุคคลแห่งศตวรรษ\" โดยนิตยสารไทม์ กัลลัพโพล ได้บันทึกว่าเขาเป็นบุคคลผู้ได้รับการยกย่องสูงที่สุดอันดับ 4 แห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และจากการจัดอันดับ 100 บุคคลผู้มีอิทธิพลอย่างสูงในประวัติศาสตร์ ไอน์สไตน์เป็น \"นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และหนึ่งในสุดยอดอัจฉริยะตลอดกาล\"\nต่อไปนี้เป็นรายชื่ออนุสรณ์ส่วนหนึ่ง\nสหพันธ์นานาชาติฟิสิกส์บริสุทธิ์และฟิสิกส์ประยุกต์ ได้กำหนดให้ปี พ.ศ. 2548 เป็น \"ปีฟิสิกส์โลก\" เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง 100 ปีครบรอบการตีพิมพ์ Annus Mirabilis Papers\nสถาบันอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\nอนุสรณ์สถานอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ โดย โรเบิร์ต เบิร์คส์\nหน่วยวัดในวิชาโฟโตเคมี ชื่อว่า ไอน์สไตน์\nเคมีธาตุลำดับที่ 99 ชื่อ ไอน์สไตเนียม (einsteinium)\nดาวเคราะห์น้อย 2001 ไอน์สไตน์\nรางวัลไอน์สไตน์\nรางวัลสันติภาพไอน์สไตน์\nปี พ.ศ. 2533 ชื่อของไอน์สไตน์ถูกจารึกในวิหารวัลฮัลลา หอเกียรติยศซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้ำดานูบ ประเทศเยอรมนี\n== รายชื่อผลงาน ==\nงานเขียนของไอน์สไตน์ที่แสดงไว้ที่นี้ คืองานเขียนที่ใช้ในการอ้างอิงภายในบทความ สำหรับรายชื่อผลงานตีพิมพ์ทั้งหมดของเขา ดูที่ รายชื่องานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งทาง Annalen der Physik ได้รับไว้เมื่อ 18 มีนาคม\n. งานวิจัยปริญญาเอกชิ้นนี้สำเร็จสมบูรณ์เมื่อ 30 เมษายน และนำส่งตีพิมพ์เมื่อ 20 กรกฎาคม\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของบราวน์ สำนักพิมพ์รับไว้เมื่อ 11 พฤษภาคม\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ สำนักพิมพ์รับไว้เมื่อ 30 มิถุนายน\n. เป็นงานเขียนในชุด annus mirabilis paper เกี่ยวกับความสมมูลระหว่างมวล-พลังงาน สำนักพิมพ์รับไว้เมื่อ 27 กันยายน\n. เป็นบทความแรกในชุดงานเขียนเกี่ยวกับหัวข้อนี้\n. ว่าด้วย Baer's law และ meander ของเส้นทางเดินของแม่น้ำ\n. การทดลองในความคิด เรื่อง ไล่ตามลำแสง มีบรรยายอยู่ในหน้า 48–51\nCollected Papers: ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตีพิมพ์หนังสือในชุดนี้จนถึงปัจจุบัน อ่านได้จาก Einstein Papers Project และเว็บไซต์มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน Einstein Page\n==หมายเหตุ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ : เหตุใดทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปจึงปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์ บีบีซีไทย\nประวัติอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nบันทึกส่วนตัวเผยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มีมุมมองเหยียดคนเอเชีย ข่าวสด\nอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\nผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์\nชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nชาวสวิสผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน\nนักฟิสิกส์ชาวยิว\nนักฟิสิกส์ชาวสวิส\nนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน\nบุคคลจากเบอร์ลิน\nบุคคลจากแบร์น\nบุคคลจากมิวนิก\nบุคคลจากซือริช\nบุคคลจากอุล์ม\nบุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์\nชาวเยอรมันเชื้อสายยิว\nผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)\nศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช\nศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยแบร์น\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยชาลส์\nบุคคลจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช\nบุคคลจากมหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติศาสตร์ (history; รากศัถท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง \"การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน\") เป็นการค้จพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อทูลิกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสคร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหล้งมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้า นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ปีะวัติศามตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่วใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห๋ลำดับของเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น และบางครั้งพยายามสอบสวสรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสรร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และปรเโยชจ์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสมขาวิชาเป็นจุดจบในนัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการใหิ \"มุมมอง\" ต่อปัญหาในปัจจุบัน เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใพวั?นธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อม๔ลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษึตริย์ิาเธอร๋) มักจัดเป็นวัฒนธรรมมากกว่า \"การสดบสวนอย่างไม่นำพา\" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ ้หตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึำลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยะคก่อนประวัติศนสตร์\nในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อาคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็า \"บิดาแห่งปรัวัติศาสตร์\" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส นักปีะวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสจร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวปเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมรการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวขเอหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประยัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมเธยม และการศึกษาว้ชาการประวะติศาสตร์เป็นนาขาหลักในระดับอุดมศึกษา\n== การบัญญัติศัพท์ ==\nคำว่า \"ประวัติศาสตร์\" ในภาษาไทยเกิดจากการสมาสคำภสษาบาลี \"ประวัติ๒ (ปวรฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต \"ศาสตร์\" (ศาสฺตฺร) ซึ้งแปงว่า ความรู้\nพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า้จ้าอยู่หัว บัญญัติคำว่า \"ประวัริศาสตร์\" เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า \"history\" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า \"พงศาวดาร\" (chronicle) ที่ฝช้กันมาแต่อดิม\nสำหรับคำว่า history มีที่สาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า\n== ความหมาย ==\n\"ประวัติศาสตร์\" เป็นคำที้มีความหมายหลากหลาย แต่ความหมายที่สำรัญที่ใช้โดยทั่วไป คือ\nเหตุการณ์ในอดีตทั้งหมดของมนุษย์ หรืออดีตทั้งหมดของมนุษย์ตั้งแต่มีมนุษย์เกิดขึ้นมาในโลกจนถึงวินาทีที่พึ่งผ่านมา\nหมายถึงเรื่องราวจองบางเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาในอดีตที่เรารู้หรือเข้าใจ นั่นคือสิ่งที่นักประวัติศาสตร์สร้างขึ้นมาเกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไป\nเป็นวิชาหรือศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษย์ในอดีนที่ประกอบด้วยแนวคิดหรือปรัชญาประวัติศาสตร์ (Philosophy of History) และวิธีวิจัยประวัติศาสตร์ (Historical Method)\nนักปรัชญาประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงให้คำอธิบายถึงคำว่า \"ปรัวัติศาสตร์\" ไว้ เช่น\nอาร์. จี. ึอลลิงวูด (R. G. Coolingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไตีสวน โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับพฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต\nอี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่ิงของกทรปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักปาะวัติศาสตร์กับข้อมูลขิงเขา ประวัติศาสนร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (a conrinuous process of intetaction between the ;resent and the past.)\nส่บน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นีกประวัติศาสจร์ อธิบายคำว่าประวัติศาสตร์ดังนี้ \"การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ เข้าใจคือการกล้าเผชิญหน้าโดยไม่ปิดบัง อย่าเป็นทายความรู้ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ไอ้เรื่อย ๆ เพราะทัศนะมุมาองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ...\"\nวิธีการทางประวัติศาสตร? หมายถึง กระบวนการศึกฒาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่รข้อเท็จจริงทร่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างพูกต้อง ทำให่การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอส\n\nปัญหาเชิงปรัชญาประการหนึ่งเกี่ยวกับการแสวงหาคำตอบหรือคำอธิบายทางประวัติศาาตร์ที่ถก้ถียงกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16-17 คือ การหาความจริงทาวประวัติศาสตร์เป็นการหาความจริงแบบไหน? และสามารถพิสูจน์/เปรียบเทียบกับการหาความจริงทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร? ทั้งนี้ เพรนะเชื่อกันว่าการหาความรู้/ความจริงแบบวิทยาศาสตร์เป็นการหาความรู้/ความจริงที่ถูกต้อง สาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำถามที่ถกเถียงกันมากก็คือ ประวัติศาสตร์เป็นวิทยาศาาตร์หรือศิลปะ? ปละนักประวัติศาสตร์หลายคนพยายามเสนอ (defense) โดยทำให้ประวัติศาสตร์มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ มีการนำวิธีการ \"วิพากษ์\" หลักฐานทางประวัติศาสตร์าาใล่ นักประวัติศาสตค์ในยุคนั้นพยายามทำให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็รคงามรู้ทางวอทยาศาสตร์ กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 200 ถึงปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเห็นว่าความเป็น \"วัตถุวิสัย\" ของประวัติศาสตร์ลดลง เช่นเดียวกันกับที่ยอมรับว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ที่สมบูรณ์\nการศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการจั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ \"เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต\" (What), \"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่\" (When), \"เกตุการณ์นั้นเกิะขึ้นที่ไหน\" (Where), \"ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น\" (Why), และ \"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร\" (How) วิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่\nการตั้งเรื่องที่ต้องการสืบค้น\nการรวบรวมหลักฐาน\nการวิอคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน\nการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน\nการนำเสนอข้อเท็จจริง\nนอกจากนี้ รอบิน จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwoid) นักปรัชญาประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผู้เป็นเต้าของผลงานเรื่อง *dea of History ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธิการศึกษาประวันิศาสตร์ ดังนี้\nวิธีการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างจากการศึกษาไลักฐานทางวิทยาศาสตร์\nนักประวัติศาสตร์ต้องระมัดระวังในการยืนยันความภูำต้องของหลักฐาน\nการนำเสนอในลักษ๕ะ \"ตัด-แผะประวัติศาสตร์\" ไม่ถูกต้องและเป็นวิธีการที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ควรนำเสนอโดยการประาวลความคิดให้เป็นข้อสรึป\nวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีลักษณะเป์นแบบวิทยาศาสตร์คือการตั้งคำถาม\n\nประโยชน์ของการศึกษาประวัติญาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร่าฝความภูใิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุุ่ษสั่งสมไว้, ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการเรคยนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบ่เรียนสำหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้เข้รใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา, การศึกษาประวัติศาสตร์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาน ซึ่งสาใา่ถนำความรู้เปช่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้หัญหา ซึ่งสามารพนำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่น ๆ คุณสาบัตินี้นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการภัฒนาคุณภาพประชากรฝนสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการส๔ง\nสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์นั้นจะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ประกอบด้วย\nมีความเป็นกลาง (Objectiveness or Objectivity)\nมีความคิดที่เป็นประวัติศาสตร์ (Historical thinking)\nมีความถํกต้องแม่นยำ (Accuracy)\nมีความเป็นระเบียบในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล (Love of order)\nมีลำดับการทำงานที่เป็นตรรกะ (Logic)\nมีความซื่อสัตย์ในการแสวงหาข้อเท็จจริง (Honesty)\nมีความตะมัดระวังในการใช้หลักฐาน (Self-awareness)\nมีจินตนาการ (Historical imagination) \n== ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ==\nความหมายของคำว่าประวัติศาสตา์นิพรธ์สามารถพูดถึงได้ในหลายแง่มุม ในควาใหมายแรก ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงการสร้างประวัติศาสตน์ว่าเกิดขึ้นมาได้อย่างไร โดยกล่าวถึงเรื่องราวของการพัฒนาวิธีการและการปฏิบัติในวงการศึกษาประวัติศาสตร์ (เข่น การเคลื่อนไหวทางประวัติศาสจร์จากการเล่าชีวประวัตอซึ่งเป็นประวัติระยะสั้นให้เป็นการวิเคราะห์แก่นสารพประวัติศาสตร์ในภาพรวม) ในความหมายที่สอง ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงสิ่งที่เป็นประสัติศาสตร์ฟด้ผลิตอะไรบ้าง ซึ่งพูดถึงการเขียนประวัติศาสตร์ในสิ่งนั้น ๆ (เช่น ประวัติศาสตร์นิพนธ์เกี่ยวกับยุคกลางในช่วงทศวรรษ 1960 ไมายถึงงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่เขียนเรื่องยุีกลางในช่วงทศวรตษ 1960) หรือในความหมายที่สาม ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงสาเหตุของการเกิดประวัติศาสตร์ซึ่งหล่สวถึงปรัชญาประวัติศาสตร์ โดยเชื่อมโยงไปยังการวิเคราะห์ระดับอภิมานเกี่ยวกับอดีตที่เกี่ยวพันกับสองความหมายแรกของประวัติศาสตร์นิพนธ์อย่างการเล่าเรื่อง การตีความ โลกทัศนฺ กานใช้หลักฐาน หรือวิธีการในการนำเสนอต่อนักประวัติศาสตร์ผู้อื่น ซึ่งประเด็นหลักที่นักประวัติศาสตร์เชี่ยวชาญหลายท่านได้โต้เถียง คือ เรื่องการสอนประวัติศาสตร์ในฐานะระหว่างเรื่องราวที่ปะติดปะต่อเป็นเรื่องเดีนวกับเรื่องราวหลายเรื่องที่พยายามช่วงชิฝพื้นาี่ทางสังคม\n== วิธีการทางประวัติศาสตร์ ==\nวิธีการทนงประวัติศาสตร์ประกอบด้วยเทคนิคและแบบแผนที่นักประบัติศาสตร์ใช้หลักฐานชั้นปฐมภูมิและหลักฐานอื่นในการวิจัยและเขียนประวัติศาสตร์ขึ้น\nเฮอรอโกืัสแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส (484 ปีก่อน ค.ศ.–ประมาณ 425 ปีก่อน ค.ศ.) ได้ถูกยกย่องโดยทั่วกันว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ที่อยู่ร่วมสมัยกับเขาอย่าง ทิวซิดิดีส (ประมาณ 460 ปีก่อน ค.ศ.–ประมาณ 400 ปีก่อจ ค.ศ.) ได้ถูกให้ชื่อว่าเป็นผู้ที่เข้าถึงประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่พัฒนาได้ดีในผลงานของเขาที่ชื่อ the History of the Peloponnesian War ซึ่งทิวซิดิดีสไม่เหมือนกับเฮอรอโดทัสที่มองว่าประวัติศาสตร์เป็นผลิตผบขดงทางเลือกและการกระทำของมนุศย์ทั้งหลาย และมองไปที่เหตุและผล มากกว่าที่จะมองว่าเป็นผลลัพธ์จากการแทรกอซงของเทพเจ้า (แม้ว่าเฮอรอโดทัสจะไม่ได้ริเริ่มแนวคิดนี้เองทั้งหมดก็ตาม) สำหรับวิธีการทางประวัติศาสตร์ของเขา ทิวซิดิดีสได้เน้นถึงลำดับเหตุกมรณ์ที่มีจุดยืนที่ความเป็นกลางใรนทมและาองว่าโลกมนุษย์เป็นผลลัพธ์จากการกระทำของมนุษย์ นุกประวัติศาสตร์ชาวกรีกปลายท่านก็มองว่าประวัติศาสตร์มีความเป็นวัฏจักรด้วยเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นวนเวียนะป็นปกติ\nธรรมเาียมทางประวัติศาสตร์และการใช้ว้ธรการทางประวัติศาสตร์ที่ซับซ้อนมีเกิดขึ้นในสมัยจีนยุคโบราณและยุคกลาง ่ากฐานขเงประวัติศาสตร์นิพนธ์ชำนาญในเอเชียตะวันออกได้สถาปนาขึ้นโดยนีกประวัติศาสตร์ราชสำนักในสมัยราชวงศ์ฮั่นที่เปฺนรู้จักในนาม ซือหม่า เชียน (145–90 ปีก่อน ค.ศ.) ผู้เขียนบันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ (สื่อจี้) ซึืงด้วยคุณภาพการเขียนของเขา ซือหม่า เชียน เป็นที่รู้จักหลังจากที่เขาตายไปแล้ฝว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์นิพนธ์จีน นักประวัติศาสตร์จีนปลายท่านในยุคราชวงศ์ต่อ ๆ มาได้ใช้สื่อจี้เป็นรูปแบบทางการของตำราประวัติศาสตร์ เช่นเดียวกันงานเขียนเชิงชึวประวัติ\nนักบุญออกัสตินมีอิทธิพลในความคิดของคริสตจักรและตะวันตก ณ รอนแรกเริ่มของยุคกลาง โดยในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ประวัติศาสตร์ได้ถูกศึกษาผ่านมุมมองของความศักดิ์สิทธิ์หรือซาสนา แต่รนวช่วง ค.ศ. 1800 นักปรัชญาและนักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมัน เกออร์ค ใิลเฮ็ลม์ ฟรีดริช เฮเกิลได้นำแนวคิดปรัชญาและการเข้าถึงที่มีความเป็นฆราวาสมากขึ้นฝนการศึกษาประวัติศาสตร์\nในบมนำของหนังสือ Mu1addimxh (ค.ศ. 1377ฆ นักประวัติศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ยุคแรกเริ่มชาวอาหรับ อิบน์ ค็อลดูน ได้เตือนถึงข้อผิดพลาด 7 จุดที่เขาคิดว่านักประวัติศาสตร์มักชอบทำ ในการวิจารณ์นี้ เขาได้เข้าถึงอดีตในซานะความประหลาดและต้องการการรีความ โดยต้นฉบับของอิบน์ ค็อลดูนได้อ้างว่าความแตกต่างทางวัฒนธรรมในต่างยุคสมัยตีองอยู่ในก่รประเมินจากวัตถุทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปยกหลัพการว่าหลักการใดเป็นไปได้ในการประเมิน และสุดท้าย เพื่อรู้สึกถึงความต้อวการในประสบการณ์ในการเข้าถึงอดีตอย่างมีตรรกะมากขึ้น ซึ่งอิบน์ ค็อลดูน ฟด้วิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้งกับความงมวายที่นิ่งเฉยและการยอมรับข้อมูลทางประวัติศาสตร์โดยไม่พินิจพิเคราะห์ จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ คือ เขาได้เสนอวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ปละได้กล่าวถึงอยูาบ่อยครั้งว่าสิ่งาี้คือ วิทยาศาสตร์แบบใหม่ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ของเขาได้วางรากฐานให้กับกมรศึกษาบทบาทของรัฐ การสื่อสาร โฆษณาชวนเชื่อ แบะอคติเชิงระบบในทางประวัติศาสตร์ จากทั้งหมดนี้ ทำให้เขสได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งปรุวัติศาสตร์นิพนธ์ หรือ บิดาแห่งปรัชญาประวัติศาสตร์\nในทางฝั่งโลกตพวันตก นักประวัติศาสตร์ได้พัฒนาวิธีการประวัติศาสตร์นิพนธ์แบบสมัยใหม่วนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี ซึ่งใน ค.ศ, 1851 เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ได้สรุปวิธีการเหล่านั้นได้ดังนี้จากชั้นของสิ่งสั่งสมในประวัติศาสตร์ของพวกเราที่ต่อเนื่องขึ้นมา พวกเขา [นักประวัติศาสตร์] ได้นำชิ้นส่วนที่มีสีอย่างขยันขันแข็ง ได้รีบคว้านรรพสิ่งที่น่าค้นหาและเริงร่า และหัยร่อเฟมือจดั่งเด็กน้อยที่อนู่กับสิ่งของอันแวววาวที่ได้มา ในขณะที่สายโลหิตแห่งภูมิปัญญาทีีแรกแขยงสายธารท่ามกลางเศษซากอันไร้ค่าที่ถูกมองข้ามอย่างสมบูรณ์ เศษขยะชิ้นมโหฬารนั้นได้สั่งสมอย่างบ้าคลั่งซึ่งแท้จริงแล้บเป็นแร่อันล้ำค่า ควรค่าแก่การขุดออกมาและจากความจริงทองคำนี้ มันอาจจะถูกเอาออกมาแล้วก็ได้ แต่เพียงยังมิได้ศึกษาดละมิได้ค้นคว้ามันโดยคำว่า แร่อันล้ำค่า สเปนเซอร์ได้หมายถึงทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร์ของประวัติศาสตร์ ในขณะที่ เฮนรี โธมัส บักเแิล ได้แสดงทัศจะเกี่ยวกับความฝันของประบัติศาสตร์ว่าวันหนึ่งจะเป็นวิทยาศาสตร์ว่าสืบเนื่องจากธรรมชาติ เหตุกสรณ์ส่วนใหญ่ที่ปรากฏขึ้นอย่างผิดปกติและไม่แน่ไม่นอนได้ถูกอธิบายและได้ถูหแสดงให้เห็นว่ามีความเกี่ยวพันกับกฎที่ตายตัวและเป็นนากล สิ่งนี้ได้ถูกเกิดขึ้นแล้วเนื่องจากผู้คนที่กระทำดละเหนือสิ่งใดทั้งปวง คือ ผู้คนที่ถูกกระทำ ความคิดทีทไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยย่อทัอเหล่านั้นได้ศึกษาเหตุการ๕์ด้วยมถมมองของการค้นคว้าตวามปกติของสิ่งเหล่ทนั้น และถ้าเหตุการณ์ของมยุษย์ถูกดระทำในลักษณะเดียวกันนี้แล้ว เราจะมีความสามารถในการคาดหวังผลที่คล้ายทำนองเดิมในทางตรงข้ามกับความฝันของบักเกิล นักประฝัติศาสตร์สนศตวรรษที่ 19 ที่มีอิทธิพลในวิธีการมากที่สุดคนหรึ่งอย่างเลโอโพลด์ ฟอน รังเคอในเยอรมนี เขาได้จำกัดคำว่า ประวัติศาสตร์ ถึงอะไรที่เกิดขึ้นมาแล้วโดยแท้จริง และด้วยสิ่งนี้เองทำให้สาขาวิชาเริ่มมีห่างไกลจากวิทยาศาสตร์ สำหรับรังเคอเอง ข้เมูลัชิงประวัติศาสตร์ควรถูกเก็บอย่างระมัดระวัง ตรวจสอบอย่างปราศจากอคติ และนำมารวมกันด้วยอย่างเข้มงวดยวดยิ่ง แต่กระบวนการเหล่านี้ะป็นแค่สิ่งที่จำเป็นและสารตั้งต้นของวิทยาศาสตร์ หัวใจของวิทยาศาสตร์ คือ การค้นคว้าระเบียบและความปกติในข้อมูลที่พูกตรวจสอบและสร้างความเป็นสากลหรือกฎที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านั้นขึิจสำหรับนักประวัติศาสตร์อย่าง รังเคอ และผู้คนอีกหลากหลายที่นำความคิดของเขา ไม่ ประวัติศาสตร์ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ฉนั้นถ้าหากนักประวัติศาสตร์ได้บอกว่า จากที่เขาได้ทำให้เกิดสิ่งหนึ่ง มันไม่สามาตถถูกพิจารณาให้เป็นวิทยาศาสตร์ได้ เราต้องยึดถือเขาตามที่เขาบอกไว้ แม้ว่าเขาจะบอกว่าเขายึดหลักวิทยาศาสตร์หรือไม่ สุเท้ายเขาก็ไม่ได้ยึดหลักวิทยาศาสตร์อยู่ดี นักประวัติศาสตร์แบบจารีตจึงไม่ใช่ทัังนักวิทยาศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ ดั่งที่กระทำกันมาเป็นธรรมเนียม จึงไมทฝช่วิทยาศาสตร์ทั้งสิ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักประวัติศาสตร์ในวงกาตวิชาการๆด้ลดความสนใจในเรื่องราวชาตินิยมอันยิ่งใหญ่ที่มักจะสรรเสริญชาติหรือมหาบุรุษ เปลี่ยนไปสนใจยังการวิเคราะห์ที่ฬับซ้อนและปราศจากอคติมากขึ้นในเร้่องแรงขับเคลื่อนทางสังคมและภูมิปัญญา กระแสหลักในวิธีการทางประวัติศาสตร์ในช่วงศตวารษที่ 20 มีแนวโน้มที่จะจัดประวัติศาสตร์เปลี่ยนให้ไปอยู่กับสังคมศาสตร์มากแว่าจะเป็นศิลปศาสตร์ ซึ่งแต่เดิมแล้วเคยเป็นอย่างนั้นมาก่อน โดยผู้สนับสนุนหลักฝห้ประวัติศาสตร์ในฐานะของสังคมศาสตร์เป็นนักวิชาการที่มาจากหลากหลายแขนงซึรงประกอบด้วย แฟร์น็อง โบรเดล, อี เอช คารร์, ฟรีทซ ฟิชเชอร์, เอมมานูเอล เลอ รอย ลาดูรี, ฮันส์-อุลริช เวเลอร์, บรูซ ทริกเกเร์, มาร์ก บล็อก, คาร์ล ดรีทริช บราเคอร็, ปีเตอร์ เำย์, โรเบิร์ต โฟเกช, ลูเซียง แฟบวร์, และลอเรนซ์ สโตน ผู้สนับสนุนที่มองให้ประวัติศาสตา์เป็นสังคมศาสตร์ได้ถูกกล่าวถึงในเรื่องการเข้าถึงแบบสหวิทยาการอย่าง โบรเดลได้นำประวัติศาสตร์มาควบรวมกับภูมิศาสตร์ บราเคอร์กับประวัติศาสตร์ด้วสรัฐศาสตร์ โฟเดลกับประวัติศาสตร์ด้วยเศรษฐศาสตร์ ดกย์กับประวัติศาสตร์ด้วยจิตวิทยา ทริกเกอร์กับประสัติศาสตร์อ้วยมานุษยวิทยา ขณะที่เวเลอร์, บล็อก, ฟิชเชอร์, สโตน, แฟบวร์, และ เลอ รอย ลาดูรี มีการควบรวมที่แตกต่างและหลากหลายระหว่างประวัติศาสตร์ด้วยทั้งสังคมวิทยา ภูมิศาสตร์ มานัษยวิทยา และเศีษฐศาสตร์ แม้กระนั้น การเข้าถึงแบบสหวิทยาการเหล่นนี้ก็ยังล้มเหลวที่จะยร้างทฤษฎีของประวัติศาสตร์ ซึ่งยังห่างไกลจากทฤษฎีประวัติศาสรร์หนึ่งเดียวที่มาจากปากกาของนัปประวัติศาสตร์ผู้เชี่ยวขาญ อย่างไรก็ตามาี ทฤษฎีอื่นของประวัติศาสตร์ที่พวกเรามีถูกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาอื่น (ยกตัวอย่างเช่น ทฤษฎีประวัติศาสตร์ของมาร์กซ) ในช่วงระยะหลังนี้ สาขาประวัติศาสตร์ดิจิติลได้เริ่มต้นระบุวิธีทางที่จะใช้เทคโนโลยีคอทพิวเตอร์ในการแสดงคำถามใหม่ต่อข้อมูลเชิงประวัติศาสตต์และสร้างการศึกษาเชิงวิชาการเกี่ยวกับดิจิตอล\nในทางตรงกันข้ามกับการบอกว่าประวัติศาสตร์เป็นสังคมศาสรร์ นักประวัติศาสตร์อย่างฮิวจ์ อทรเวอร์-โรเปอร์, จอห์น ลูคีกส์, โดนัลด์ เครตัน, เกิร์มรูด ฮิมเมลฟาร์บ, และเจอร์ราด ริทเตอร์ ได้โต้เถียงว่าจุดสำคัญในงานขอบนักประวัติศาสตร์ คือ พลังของการจินตนาการ และดังนั้นจึงคัดค้านว่าประวัติศาสตร์ควรถูกเข้าใจว่าเป็นศิลปะ นักประวัติศาสตร์ชสวฝรั่งเศวที่อยู่ในสำนักแอแน็ลได้เสตอประวัติศาสตร์เชิวปริมนณ โดยใช้ข้อมูลดิบในการติดตามชีวิตขอวปัจเจกตัวอย่าง แฃะเก็นสิ่บสำคัญในการสถาปนาประวัติศาสตร์สัฒนธรรม (vf. [des mentalités]) นักประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาอย่าง เฮอเบิร์ต บัืเทอร์ฟิลด์, แอ็นสท์ โนลต์, และตเร์จ มอส ได้โต้เถียงในเรื่องความสำคัญของแนวคิดในประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ชาวอ้มริกันซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากยุคสิทธิพลเมือง สนใจในผู้คนท้่ถูกหลงล้มโดยทางการอย่าง ชนกลุ่มน้อย, เชื้อชาติ, แงะกลุ่าทางเศรษฐกิจสังคม ส่วนประเภทของประวัติศาสตร์สังคมอื่นที่เกิดขึันในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ Alltagsgeschichte (ประวัติศาสตค์ของชีวิตในทุก ๆ วัน) นักวิชาการอย่าง มาร์ติน บร็อซาท, เอียน เคอร์ชอว์, และเด็ทเลฟ พ็อยแึร์ท ไดิค้นหาเพื่อศึกษาว่าชีวิตสนทุก ๆ วันของคนธรรมดาเป็นอย่างไรในช่วงคริสต์ศตวีรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสมัยนาซี\nนักประวัติศาสตร์มาร์กซิสต์อย่าง อีริป ฮอบส์บอวม์, อี พี ทอมป์สัจ, โรดนีย์ ฮิลตัน, ฌอร์็ เลอแฟฟวร์, ยูจีน จีโนเวสซี, ไอแซค ดอยช์เชอร์, ซี แอล อาร์ เจมส์, ทีโมธี เมสัน, เฮอเบิร์ต แอปเธเคอร์, อาร์โน ดจ เมเยอร์, และ คริสโตเฟอร์ ฮิลล์ ได้ค้นคว้าเพื่อยืนยันทฤษฎีของคาร์ล มาร์กซ โดยการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์จากมุมมองแบบมาร์กซิสต์ ซึ่งผลตอบรับจากการตีความประวัติศาสคร์แลบมาร์กซิสต์นี้ นักประวัติศาสตร์อย่าง ฟรองซัว ผูเรต์, ริชาร์ต ไปปส์, เจ ซี ดี คลาร์ก, โรช็อง มูนเย, เฮนรี แอชบี เทอเนอร์, และ โรเบิร์ต คอนเควสต์ ได้เสนอการตีความประวัคิศาสตร์แบบต่อต้านมาร์กซิสม์ นักประวัติศาสตร์สตรีนิยมอย่าง โจน วัลแลค สก็อคต์, คลาวเดีย คูนส์, นาตาลี ซีมอน เดวีส์, ชีเลึย โรว์บอธแธม, กีเซลา บ็อค, เกอร์ดา เลอร์เนอร์, เอลิซาเบ็ธ ฟอกซ์-จีโนวคเซ, และลินน์ ฮันต์ ได้โต้ในเรื่องความสำคัญในกมรศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงใสอดีต โดยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ น้กคิดหลังยุคนวนิยมได้พยายามท้าทายการขืนยันได้และความต้อลการในการศึกษาป่ะวัติศาสตร์อยู่บนพื้นฐานว่า ประวัติศาสตร์ทั้งหมดอยู่บนฐานของการตีความส่วนบุคคลมนแหล่งข้อมูลนั้น ซึ่ลในปี 1997 หนังสือ In Defence of History ของรีชาร์ต เจ อีวานส์ไะ้พยายามแก้ต่างถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ และได้มีการแก้ต่างจากการวิจารณ์แนใยุคฟลังสมัยใหม่ในหนังสืออย่าง The Killing of History ที่ออกจำหน่ายเมื่อ 1997 ของคีธ วินอ์ชคัตเทิล อีกด้วย\nในฝันนี้ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ได้เริ่มต้นกระบวนการวิจัยของพวกเขาในหอจดหมายเหตุ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เิจิตอลหรือเป็นกายภาพก็ตาม พวกเขามักจะเสนอข้อโต้เถียงและใช้งานวิจัยของพวกเขสมาสนับสนุน จอห์น ้อช อาร์โนลด์ได้เสนอว่า ประวัติศาสตร์ คือ การโต้เถียง ซึ่งสร้างความเป็นไปได้ในการสร้างความเปลี่ยนแปลง บริษัทสารสนเทศดิจิตอลอย่าง กูเกิล ได้จุดประกายความขัดแย้งบึ้นเหนือบทบาทของการตรวจพิจารณาทางอ้นเทอร์เน็ตในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ\n=== ทฤษฎีแบบมาร์กซ ===\nทฤษฎีมาร์กซิสต์ในเรื่องวัตถุนิยมทางประวัติศนสตร์ได้ให้ทฤษฎีว่า สังคมถูกเกิดขึ้นมาโดยรากฐานมาจากเงื่อนไขเชิงวัตถุ ณ เวลาใด ๆ ปรือในอ้กความหมายหนึ่ง เงื่อนไขเชิงวัตถุ คือ ความสัมพันธ์ที่ผู้คนมีต่อผู้อื่นในการเติมเต็มความต้องการพื้นฐาน เช่น การให้อาหาร, การสวมใส่เสื้อผ้า, การอยู่อาศัยของเขาและคาอบครัวของเขา โดยทั้งหมดทั้งมวล มาร์กซและเด็งเงิลส์ได้อ้างว่าพวกเขาสามารถระบุได้ว่ามีอคกห้าระดับที่ยังเหนือไปกว่านี้ในการพัฒนาเงื่อนไขเชิงวัตถุในยุโรปตะวันตก นักประวัติศาสตร์นิพนธ์มาร์กซิสต์แต่เดิมแล้วเป็นสายมาร์กซิสต์แบบพั้งเดิม แต่เมื่อการล่มสลายของงัทธิคอมมิวนิสต์เกิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1991 มิกเฮล ครอม บอกว่า การฒึกษาเฟล่านี้ได้ถูกลดรูปเป็นเพียงการศึกษาชายขอบเท่านั้น\n=== ความขาดตกบกพร่องศักยภาพในการผลิตประวัติศาสตร์ ===\nนักประวัติศาสตร์หลายท่านเชื่อว่า การผลอตประวัติศาสตร์ถูกแผงด้วยอคติเพราะว่าเหตุการณ์แชะข้อเท็จจริงที่ร้บรู้ในประวัติศาสตร์สามารถตีความๆด้อย่างหลากหลาย คอนสแตนติน ฟาโซลต์ แนะนำว่า ประวัติศาสตร?ถูกเชื่อมโยงกับการเมืองจากการปฏิบัติที่สร้างความเงียบของตัวมันเอง ซึ่งกล่าวเสริมอีกว่า มุมมองที่สองที่เป็นใามัญในการเชื่อมโยงระหว่างประวัติศาสตร์และการเมืองวางอยู่บนการสำรวจพื้นฐายที่ว่านักประวัติศาสตร์มักจะถูกได้รับอิทฌิพบโดยการเมือง ด้วยจากมิเชล-ร็อล์ฟ มรุยโยต์ กระบวนการทางประวัติศาสตร์มีรากมาจากหอจดหมายเหตุ ดังนั้นความสงบ หรือประวึติศามตร์ส่วนที่ถูกหลงงืม จะเป็นส่วนที่เจตนาขเงกลยุทธ์เชิงเรื่องเล่าที่ชี้นำว่าพื้นที่ของประวัติศาสตร์ถูกจดจำไดีว่าอย่างไร การปกปิดทางประวัติศาสตร์สามารถเกิดขึ้นำด้หลายทรงและสามารถมีผลกระทบสำคัฐต่อการบันทึกประวัติศาสตร์ ข้อมูลสารสนเทศทั้งยังสรมารถถูกเอาออกอย่างตเ้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม นักประวัติศาสตร์ได้วางจำกัดความคำต่าง ๆ ที่อธิบายถึงการกระทำที่พยายามปกปิดสารสนอทศเชิงประวัติศาสตร์ อย่าง การทำให้เงียบสงบ, ความทรงยำทางเลือก, และการลบเลือนความทรงจำ เกอร๋ดา เลอร์เนอร์ นักประวัติศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่สนใจอบ่างมากในผลวานของเขาที่เกี่ยวข้เงกับการปกปิดทางประวัติศาสตร์ที่้กี่ยวข้อฝกับผู้หญิงและการกระทำของพวกเขา ได้อธิบายว่าการปกปืดเหล่านี้เกิดผลสะเทือนทางลบกับชนกลุ่มน้อย\nนักประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิลเลียม โครนอน ได้เสนอสามแนวทางเพื่อปะทะกับอคติและทำให้มั่นใจว่าจะได้เรื่องเล่าที่มีการยืนยันและมีความถูกต้อง ประกเบด้วย เรื่องเล่าเหล่านั้นจะต้องไม่ขัดแย้งกับข้อเื็จจริงที่รูักันอยู่แล้ง, เรื่องเล่าเหล่าจั้นต้องทำให้ดกิดความสสเหตุสมผลเชิบนิเวศ (โดยเฉำาะอย่างยิ่งสำหรับประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อม), และงานที่ภูกเผยแพร่ออกมาแล้วนั้ตจะต้องได้รับการทบทวนจากชุมชนวิชนการและนักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เพื่อให้มั่นใจว่ามีความชอบแล้ว\n== พื้นที่การศึกษา ==\n=== ยุคสมัย ===\nการศึกษาประวัติศาสตร์มักให้ความสนใจเหตุกา่ณ์และพัฒนาการทร่เกิดขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะ นักประวัติศาสตร์ตั้งชื่อเวลาแก่ยุคสมัยเหล่านีืเพื่อให้นักประวัติศาสตร์ใช้ \"จัดระเบียบความคิดและหลักการที่จำแนกประเภท\" ชื่อที่ตั้งแก่ยุคสมัยมีได้หลากหลาบตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่นเดียฝกับวันที่เริ่ทต้นและสิ้นสุดยุคสมัยหนึ่ง ๆ เวลาที่มักใช้กันคือ ศรวรรษและทศวรรษ แบะเวลาที่อธิบายก็ขึ้นอยู่กับระบบการนับเวลาที่ใช้ ยุคสมัยส่วนใหญ่ถูกสร้างย้อนหลัง ฉะนั้นจึงสะท้อนกรรตัดสินคุณค่่ของออีต วิธีที่ยุคสมัยถูกสร้างขึ้นและชื่อที่ตึ้งแก่ยุคสมัยสามารถสะท้อนมุมมองและการศึกษายุคสมัยนั้น ๆ ได้\n=== ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ===\nที่ตั้งทางภูมิศาสตร์หนึ่ง ๆ สามาีถเป็นพื้นฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์ได้ อาทิ ทวีป ประเทศหรือนคร การทำความเข้าใจว่าทำไมเหตุการณ์ทางประวัติศานตา์เกิดขึ้นตั้นมีคใามสำคัญ นักประวัติศาสตร์มักทำความเข้าใจด้วยการศึกษาภูมิศาสตร์ รูปแบบลมฟ้าอากาศ การประปา และภูมิทัศน์ของสถานที่หสึ่ง ๆ ล้วนกระทบต่อชีวิตของประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นั้นทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ในการอธิบายว่าดหตุใดชาวอียิปต์โบราณจึงพัฒสาอารยธรรมได้สำเร็จ การศึกษาภูมิฬาสตร์อียิปต์มีรวามสำคัญ อารยธรรมอคยิปต์ถูดสร้างขึ้นริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ซึ่งดอ่อทืวมทุกปี และมีตะกอนทับถมริใฝั่งอม่น้ำ กินที่อุดมยมบ๔รณฺช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผลพอเลี้ยงประชากรในนคร ซึ่งหมายความว่า ทุกคนไม่จำเป็นต้องทำการเกษตร ฉะนั้นบางคนจึงสามารถทำงานอย่างอื่นซึ่งช่วยยยยยย\n=== ภูมิภาค ===\nประวัติศาสตร์แอฟริกา เริ่มต้นด้วยการถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกของมนุษย์ยมัยใหม่บนทวีป มาุึงปัจจุบันซึ่งมีรัฐชาติที่มีความหลากหงายและกำลังพัฒนาทางการเมือง\nประวัติศาสตร์อเมริกา เป็นปรัวัติศาวรร์ร่วมทั้งทวีปอเมริกาเหนือและใต้ รวมทั้งอิมริกากลางและแคริบเบียน แบ่ลเป็น\n* ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ\n* ประวัติศาสตร์อเมริกากลาง\n* ประวัติศาสตร์แคริบเบียน\n* ประวัติศาสตร์อเมริกาฝต้\nประวัติศาสตร์แอนตาร์กติกา เริ่มตั้งแต่ท(ษฑีทวีปใหญ่ของตะวันตกช่วงแรก ที่เรียกว่า Terra Austrslis ซึ่ลเชื่อกันว่ามีอยู่ทางใต้ของโลก\nประวัติศามตร์ออสเตรเลีย เริ่มต้นจากเอกสารพยานประกอบการค้าของมากัสซาร์กับชาวออสเตรเลียพื้นเมืองลนชายฝั่งทางเหนือของออสเตนเลีย\nประวัติศาสตร์นิวซีแลนด์ สืบย้อนไปได้อย่างน้อย 700 ปีเมื่อชาวโพลีนีเซียค้นพบและเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาวัฒนธรรมเมารี\nประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก ครอบคลุมประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะในมหานมุทรแปซเฟิก\nประวัติศาสตร์ยูเระซีย เป็นประวัติศาสตร์ร่วมของภูมิภาคชายฝั่งหลายแห่ง ได้แก่ ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยุโรป เชื่อมกันด้วยแผ่นดินภายในที่เป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ของยูเรเซีย คือ เอเชียกลางและยุโรปตะวันออก\n* ประวัติศาสตร์ยุโรป อธิบายตั้งแต่มนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในทวีปยุโรปจนถึงปัจจถบัน\n* ประวัติศาสตร์เอเชีย แบ่งเป็น\n** ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก เป็นการศึกษาอดีตที่ผ่านมาจาก \"รุ่น\" สู่ \"รุ่น\"\n** ประวัติศาสตรฺตะวันออกกลาง เริ่มต้นจากอารยธรรมแรกสุดในภูมิพาค เมืรอ 30000 ปีก่อนคริสตกาลในเมโสโปเตเมีย\n** ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ เป็นการศึกษาในภูมิภาคใต้เทือกเขาหิมาลัย\n** ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะของปฏิสัใพันธ์ระหว่างรัฐในภูมิภาคดับต่างชาติ\n== การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ระดับอุดมศึกษามนประเทศไทย ==\nเมื่อพรพบามสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรทอนเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2459 มีการจัดการเรียนการสอนวิชาปรถวัจิศาสตร์ขึ้นเป็นวิชาความรู้พื้นฐานสำหรับนิสิตในคณะต่าง ๆ (นโยบายนี้ยังปรากฏในหลักสูตรของมปาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบัน) ซึ่งเปิดสอนใน พ.ศ. 2477 ด้วย) ต่อมา ในปลายปี พ.ศ. 2466 เมื่อสมเก็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนใงขลานครเนทร์ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ทรงดำเนินการปรับปรุงคณะแพทยศาสตร์และคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จัฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงจัดหลักสูตรสำหรับวิชาประวัติศาสตี์ด้วยกระองค์เอง โดยท๔ลเชิญและเชิญผู้ที่มีความรู้เฉพาะทางมาปาฐกถา เช่น สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงบรรยายประวัติศทสตร์ไาย และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติทรงบรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรมดินเดียต่อวัฒนธรรมไทย เป็นต้น\nหลังสลครามโลกครั้งทีา 2 มหาวิทยาลัยในประเทศไทยจึงเปิดการเรียนแารสอนวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท โดยก่อส พ.ศ. 2526 มีสถาบันอุดมศึกษาเพียง 2 แห่งที่เปิดสอนวิชาปรดวัติศาสตร์ในระดับปริญญาโท คือ จุฬางงกรณ์มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (มหาวิทยาลัจศรีนครินทรวิโรฒในปัจจุบัน)\n\nปัจจุบันสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐท่่ท_การสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาบิทยาลัยศิลปากร\nหมวดวิชาประวัติศาสตร์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังตมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nวิชาโทประวัติศาสตร์ ึณะมนุษจศาสตร์กละสังคมศาสตร์ มำาวิทยาลัยขอนแก่น\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสคร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชมจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฃงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะในุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทย่ลัยศรีนครินทรวิโรฒ\nภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปุ คณะมนุษยศาสตร์แลุสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยมเขตปัตตานี\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มฟาวิทยาลัยอุงลราลธานี\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง\nสาขาวิชทประวัติศาสตร์ ภาควิบาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มกายิทยาลัยทักษิณ\nส่วนสถานศึกษาของเอกชน ได้แก่\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ\nอนึ่ง นดกจากมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนที่จัดให้มีการเรียสการสดนวิชาประวัติศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกแล้ว หน่วยงานราชการที่รับผิดชองโดยตรงในงานด้านประวัติศาสตร็ของชาติคือสำนัพวรรณกรรมและประวัจิศาสตร์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม และยังมีหน่วยงานเอกชนที่สนับสนุนการศึกษาด้านนี้ด้วย แต่การดำเนินงานไม่เป็นที่กว้างขวางแลถแพร่หลายนักในสังคม เช่น\nมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมรุษยศาสตร์\nมูลนิธิเล็ก-ประ_พ วิริยะพันธุ์\nศิลปวัฒนธรรมในเครือมติชน\n== อ้างอิง ==\n== แำล่งข้อมูลอื่น ==\n=== หนังสืออชะบทความ ===\nชาญวิทย์ เกษตรศิริ อละสุชาติ สวัสดิ์ศรี (บก.). ปรัชญมประวัติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิล, 2526. \nทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). หนังสือประมวลบทความในการปตะชุมทางวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน Wie es eigentlich gewesen ist โครงการวิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์''. มปท: มปพ, 2563.\n=== เว็บไซต์ ===\nHistory Channel \nFordham \nWo4ld Wide Web Virtual Library \nBBC \n \nสังคมศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง \"การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน\") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ \"มุมมอง\" ต่อปัญหาในปัจจุบัน เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นวัฒนธรรมมากกว่า \"การสอบสวนอย่างไม่นำพา\" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์\nในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น \"บิดาแห่งประวัติศาสตร์\" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษา\n== การบัญญัติศัพท์ ==\nคำว่า \"ประวัติศาสตร์\" ในภาษาไทยเกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี \"ประวัติ\" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต \"ศาสตร์\" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้\nพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว บัญญัติคำว่า \"ประวัติศาสตร์\" เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า \"history\" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า \"พงศาวดาร\" (chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม\nสำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า\n== ความหมาย ==\n\"ประวัติศาสตร์\" เป็นคำที่มีความหมายหลากหลาย แต่ความหมายที่สำคัญที่ใช้โดยทั่วไป คือ\nเหตุการณ์ในอดีตทั้งหมดของมนุษย์ หรืออดีตทั้งหมดของมนุษย์ตั้งแต่มีมนุษย์เกิดขึ้นมาในโลกจนถึงวินาทีที่พึ่งผ่านมา\nหมายถึงเรื่องราวของบางเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาในอดีตที่เรารู้หรือเข้าใจ นั่นคือสิ่งที่นักประวัติศาสตร์สร้างขึ้นมาเกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไป\nเป็นวิชาหรือศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษย์ในอดีตที่ประกอบด้วยแนวคิดหรือปรัชญาประวัติศาสตร์ (Philosophy of History) และวิธีวิจัยประวัติศาสตร์ (Historical Method)\nนักปรัชญาประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงให้คำอธิบายถึงคำว่า \"ประวัติศาสตร์\" ไว้ เช่น\nอาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับพฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต\nอี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (a continuous process of interaction between the present and the past.)\nส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักประวัติศาสตร์ อธิบายคำว่าประวัติศาสตร์ดังนี้ \"การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ เข้าใจคือการกล้าเผชิญหน้าโดยไม่ปิดบัง อย่าเป็นทาสความรู้ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อย ๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ...\"\nวิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย\n\nปัญหาเชิงปรัชญาประการหนึ่งเกี่ยวกับการแสวงหาคำตอบหรือคำอธิบายทางประวัติศาสตร์ที่ถกเถียงกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16-17 คือ การหาความจริงทางประวัติศาสตร์เป็นการหาความจริงแบบไหน? และสามารถพิสูจน์/เปรียบเทียบกับการหาความจริงทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร? ทั้งนี้ เพราะเชื่อกันว่าการหาความรู้/ความจริงแบบวิทยาศาสตร์เป็นการหาความรู้/ความจริงที่ถูกต้อง มาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำถามที่ถกเถียงกันมากก็คือ ประวัติศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์หรือศิลปะ? และนักประวัติศาสตร์หลายคนพยายามเสนอ (defense) โดยทำให้ประวัติศาสตร์มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ มีการนำวิธีการ \"วิพากษ์\" หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้ นักประวัติศาสตร์ในยุคนั้นพยายามทำให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 200 ถึงปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเห็นว่าความเป็น \"วัตถุวิสัย\" ของประวัติศาสตร์ลดลง เช่นเดียวกันกับที่ยอมรับว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ที่สมบูรณ์\nการศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ \"เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต\" (What), \"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่\" (When), \"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน\" (Where), \"ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น\" (Why), และ \"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร\" (How) วิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่\nการตั้งเรื่องที่ต้องการสืบค้น\nการรวบรวมหลักฐาน\nการวิเคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน\nการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน\nการนำเสนอข้อเท็จจริง\nนอกจากนี้ รอบิน จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) นักปรัชญาประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผู้เป็นเจ้าของผลงานเรื่อง Idea of History ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธิการศึกษาประวัติศาสตร์ ดังนี้\nวิธีการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างจากการศึกษาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์\nนักประวัติศาสตร์ต้องระมัดระวังในการยืนยันความถูกต้องของหลักฐาน\nการนำเสนอในลักษณะ \"ตัด-แปะประวัติศาสตร์\" ไม่ถูกต้องและเป็นวิธีการที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ควรนำเสนอโดยการประมวลความคิดให้เป็นข้อสรุป\nวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีลักษณะเป็นแบบวิทยาศาสตร์คือการตั้งคำถาม\n\nประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสั่งสมไว้, ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้เข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา, การศึกษาประวัติศาสตร์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่น ๆ คุณสมบัตินี้นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรในสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการสูง\nสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์นั้นจะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ประกอบด้วย\nมีความเป็นกลาง (Objectiveness or Objectivity)\nมีความคิดที่เป็นประวัติศาสตร์ (Historical thinking)\nมีความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy)\nมีความเป็นระเบียบในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล (Love of order)\nมีลำดับการทำงานที่เป็นตรรกะ (Logic)\nมีความซื่อสัตย์ในการแสวงหาข้อเท็จจริง (Honesty)\nมีความระมัดระวังในการใช้หลักฐาน (Self-awareness)\nมีจินตนาการ (Historical imagination) \n== ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ==\nความหมายของคำว่าประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถพูดถึงได้ในหลายแง่มุม ในความหมายแรก ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงการสร้างประวัติศาสตร์ว่าเกิดขึ้นมาได้อย่างไร โดยกล่าวถึงเรื่องราวของการพัฒนาวิธีการและการปฏิบัติในวงการศึกษาประวัติศาสตร์ (เช่น การเคลื่อนไหวทางประวัติศาสตร์จากการเล่าชีวประวัติซึ่งเป็นประวัติระยะสั้นให้เป็นการวิเคราะห์แก่นสาระประวัติศาสตร์ในภาพรวม) ในความหมายที่สอง ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงสิ่งที่เป็นประวัติศาสตร์ได้ผลิตอะไรบ้าง ซึ่งพูดถึงการเขียนประวัติศาสตร์ในสิ่งนั้น ๆ (เช่น ประวัติศาสตร์นิพนธ์เกี่ยวกับยุคกลางในช่วงทศวรรษ 1960 หมายถึงงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่เขียนเรื่องยุคกลางในช่วงทศวรรษ 1960) หรือในความหมายที่สาม ประวัติศาสตร์นิพนธ์สามารถสื่อถึงสาเหตุของการเกิดประวัติศาสตร์ซึ่งกล่าวถึงปรัชญาประวัติศาสตร์ โดยเชื่อมโยงไปยังการวิเคราะห์ระดับอภิมานเกี่ยวกับอดีตที่เกี่ยวพันกับสองความหมายแรกของประวัติศาสตร์นิพนธ์อย่างการเล่าเรื่อง การตีความ โลกทัศน์ การใช้หลักฐาน หรือวิธีการในการนำเสนอต่อนักประวัติศาสตร์ผู้อื่น ซึ่งประเด็นหลักที่นักประวัติศาสตร์เชี่ยวชาญหลายท่านได้โต้เถียง คือ เรื่องการสอนประวัติศาสตร์ในฐานะระหว่างเรื่องราวที่ปะติดปะต่อเป็นเรื่องเดียวกับเรื่องราวหลายเรื่องที่พยายามช่วงชิงพื้นที่ทางสังคม\n== วิธีการทางประวัติศาสตร์ ==\nวิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยเทคนิคและแบบแผนที่นักประวัติศาสตร์ใช้หลักฐานชั้นปฐมภูมิและหลักฐานอื่นในการวิจัยและเขียนประวัติศาสตร์ขึ้น\nเฮอรอโดทัสแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส (484 ปีก่อน ค.ศ.–ประมาณ 425 ปีก่อน ค.ศ.) ได้ถูกยกย่องโดยทั่วกันว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ที่อยู่ร่วมสมัยกับเขาอย่าง ทิวซิดิดีส (ประมาณ 460 ปีก่อน ค.ศ.–ประมาณ 400 ปีก่อน ค.ศ.) ได้ถูกให้ชื่อว่าเป็นผู้ที่เข้าถึงประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่พัฒนาได้ดีในผลงานของเขาที่ชื่อ the History of the Peloponnesian War ซึ่งทิวซิดิดีสไม่เหมือนกับเฮอรอโดทัสที่มองว่าประวัติศาสตร์เป็นผลิตผลของทางเลือกและการกระทำของมนุษย์ทั้งหลาย และมองไปที่เหตุและผล มากกว่าที่จะมองว่าเป็นผลลัพธ์จากการแทรกแซงของเทพเจ้า (แม้ว่าเฮอรอโดทัสจะไม่ได้ริเริ่มแนวคิดนี้เองทั้งหมดก็ตาม) สำหรับวิธีการทางประวัติศาสตร์ของเขา ทิวซิดิดีสได้เน้นถึงลำดับเหตุการณ์ที่มีจุดยืนที่ความเป็นกลางในนามและมองว่าโลกมนุษย์เป็นผลลัพธ์จากการกระทำของมนุษย์ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกหลายท่านก็มองว่าประวัติศาสตร์มีความเป็นวัฏจักรด้วยเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นวนเวียนเป็นปกติ\nธรรมเนียมทางประวัติศาสตร์และการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ซับซ้อนมีเกิดขึ้นในสมัยจีนยุคโบราณและยุคกลาง รากฐานของประวัติศาสตร์นิพนธ์ชำนาญในเอเชียตะวันออกได้สถาปนาขึ้นโดยนักประวัติศาสตร์ราชสำนักในสมัยราชวงศ์ฮั่นที่เป็นรู้จักในนาม ซือหม่า เชียน (145–90 ปีก่อน ค.ศ.) ผู้เขียนบันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ (สื่อจี้) ซึ่งด้วยคุณภาพการเขียนของเขา ซือหม่า เชียน เป็นที่รู้จักหลังจากที่เขาตายไปแล้วว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์นิพนธ์จีน นักประวัติศาสตร์จีนหลายท่านในยุคราชวงศ์ต่อ ๆ มาได้ใช้สื่อจี้เป็นรูปแบบทางการของตำราประวัติศาสตร์ เช่นเดียวกันงานเขียนเชิงชีวประวัติ\nนักบุญออกัสตินมีอิทธิพลในความคิดของคริสตจักรและตะวันตก ณ ตอนแรกเริ่มของยุคกลาง โดยในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ประวัติศาสตร์ได้ถูกศึกษาผ่านมุมมองของความศักดิ์สิทธิ์หรือศาสนา แต่ราวช่วง ค.ศ. 1800 นักปรัชญาและนักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมัน เกออร์ค วิลเฮ็ลม์ ฟรีดริช เฮเกิลได้นำแนวคิดปรัชญาและการเข้าถึงที่มีความเป็นฆราวาสมากขึ้นในการศึกษาประวัติศาสตร์\nในบทนำของหนังสือ Muqaddimah (ค.ศ. 1377) นักประวัติศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ยุคแรกเริ่มชาวอาหรับ อิบน์ ค็อลดูน ได้เตือนถึงข้อผิดพลาด 7 จุดที่เขาคิดว่านักประวัติศาสตร์มักชอบทำ ในการวิจารณ์นี้ เขาได้เข้าถึงอดีตในฐานะความประหลาดและต้องการการตีความ โดยต้นฉบับของอิบน์ ค็อลดูนได้อ้างว่าความแตกต่างทางวัฒนธรรมในต่างยุคสมัยต้องอยู่ในการประเมินจากวัตถุทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแยกหลักการว่าหลักการใดเป็นไปได้ในการประเมิน และสุดท้าย เพื่อรู้สึกถึงความต้องการในประสบการณ์ในการเข้าถึงอดีตอย่างมีตรรกะมากขึ้น ซึ่งอิบน์ ค็อลดูน ได้วิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้งกับความงมงายที่นิ่งเฉยและการยอมรับข้อมูลทางประวัติศาสตร์โดยไม่พินิจพิเคราะห์ จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ คือ เขาได้เสนอวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ และได้กล่าวถึงอยู่บ่อยครั้งว่าสิ่งนี้คือ วิทยาศาสตร์แบบใหม่ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ของเขาได้วางรากฐานให้กับการศึกษาบทบาทของรัฐ การสื่อสาร โฆษณาชวนเชื่อ และอคติเชิงระบบในทางประวัติศาสตร์ จากทั้งหมดนี้ ทำให้เขาได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งประวัติศาสตร์นิพนธ์ หรือ บิดาแห่งปรัชญาประวัติศาสตร์\nในทางฝั่งโลกตะวันตก นักประวัติศาสตร์ได้พัฒนาวิธีการประวัติศาสตร์นิพนธ์แบบสมัยใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี ซึ่งใน ค.ศ. 1851 เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ได้สรุปวิธีการเหล่านั้นได้ดังนี้จากชั้นของสิ่งสั่งสมในประวัติศาสตร์ของพวกเราที่ต่อเนื่องขึ้นมา พวกเขา [นักประวัติศาสตร์] ได้นำชิ้นส่วนที่มีสีอย่างขยันขันแข็ง ได้รีบคว้าสรรพสิ่งที่น่าค้นหาและเริงร่า และหัวร่อเหมือนดั่งเด็กน้อยที่อยู่กับสิ่งของอันแวววาวที่ได้มา ในขณะที่สายโลหิตแห่งภูมิปัญญาที่แตกแขนงสายธารท่ามกลางเศษซากอันไร้ค่าที่ถูกมองข้ามอย่างสมบูรณ์ เศษขยะชิ้นมโหฬารนั้นได้สั่งสมอย่างบ้าคลั่งซึ่งแท้จริงแล้วเป็นแร่อันล้ำค่า ควรค่าแก่การขุดออกมาและจากความจริงทองคำนี้ มันอาจจะถูกเอาออกมาแล้วก็ได้ แต่เพียงยังมิได้ศึกษาและมิได้ค้นคว้ามันโดยคำว่า แร่อันล้ำค่า สเปนเซอร์ได้หมายถึงทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร์ของประวัติศาสตร์ ในขณะที่ เฮนรี โธมัส บักเกิล ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับความฝันของประวัติศาสตร์ว่าวันหนึ่งจะเป็นวิทยาศาสตร์ว่าสืบเนื่องจากธรรมชาติ เหตุการณ์ส่วนใหญ่ที่ปรากฏขึ้นอย่างผิดปกติและไม่แน่ไม่นอนได้ถูกอธิบายและได้ถูกแสดงให้เห็นว่ามีความเกี่ยวพันกับกฎที่ตายตัวและเป็นสากล สิ่งนี้ได้ถูกเกิดขึ้นแล้วเนื่องจากผู้คนที่กระทำและเหนือสิ่งใดทั้งปวง คือ ผู้คนที่ถูกกระทำ ความคิดที่ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยย่อท้อเหล่านั้นได้ศึกษาเหตุการณ์ด้วยมุมมองของการค้นคว้าความปกติของสิ่งเหล่านั้น และถ้าเหตุการณ์ของมนุษย์ถูกกระทำในลักษณะเดียวกันนี้แล้ว เราจะมีความสามารถในการคาดหวังผลที่คล้ายทำนองเดิมในทางตรงข้ามกับความฝันของบักเกิล นักประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19 ที่มีอิทธิพลในวิธีการมากที่สุดคนหนึ่งอย่างเลโอโพลด์ ฟอน รังเคอในเยอรมนี เขาได้จำกัดคำว่า ประวัติศาสตร์ ถึงอะไรที่เกิดขึ้นมาแล้วโดยแท้จริง และด้วยสิ่งนี้เองทำให้สาขาวิชาเริ่มมีห่างไกลจากวิทยาศาสตร์ สำหรับรังเคอเอง ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ควรถูกเก็บอย่างระมัดระวัง ตรวจสอบอย่างปราศจากอคติ และนำมารวมกันด้วยอย่างเข้มงวดยวดยิ่ง แต่กระบวนการเหล่านี้เป็นแค่สิ่งที่จำเป็นและสารตั้งต้นของวิทยาศาสตร์ หัวใจของวิทยาศาสตร์ คือ การค้นคว้าระเบียบและความปกติในข้อมูลที่ถูกตรวจสอบและสร้างความเป็นสากลหรือกฎที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านั้นขึ้นสำหรับนักประวัติศาสตร์อย่าง รังเคอ และผู้คนอีกหลากหลายที่นำความคิดของเขา ไม่ ประวัติศาสตร์ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ฉนั้นถ้าหากนักประวัติศาสตร์ได้บอกว่า จากที่เขาได้ทำให้เกิดสิ่งหนึ่ง มันไม่สามารถถูกพิจารณาให้เป็นวิทยาศาสตร์ได้ เราต้องยึดถือเขาตามที่เขาบอกไว้ แม้ว่าเขาจะบอกว่าเขายึดหลักวิทยาศาสตร์หรือไม่ สุดท้ายเขาก็ไม่ได้ยึดหลักวิทยาศาสตร์อยู่ดี นักประวัติศาสตร์แบบจารีตจึงไม่ใช่ทั้งนักวิทยาศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ ดั่งที่กระทำกันมาเป็นธรรมเนียม จึงไม่ใช่วิทยาศาสตร์ทั้งสิ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักประวัติศาสตร์ในวงการวิชาการได้ลดความสนใจในเรื่องราวชาตินิยมอันยิ่งใหญ่ที่มักจะสรรเสริญชาติหรือมหาบุรุษ เปลี่ยนไปสนใจยังการวิเคราะห์ที่ซับซ้อนและปราศจากอคติมากขึ้นในเรื่องแรงขับเคลื่อนทางสังคมและภูมิปัญญา กระแสหลักในวิธีการทางประวัติศาสตร์ในช่วงศตวรรษที่ 20 มีแนวโน้มที่จะจัดประวัติศาสตร์เปลี่ยนให้ไปอยู่กับสังคมศาสตร์มากกว่าจะเป็นศิลปศาสตร์ ซึ่งแต่เดิมแล้วเคยเป็นอย่างนั้นมาก่อน โดยผู้สนับสนุนหลักให้ประวัติศาสตร์ในฐานะของสังคมศาสตร์เป็นนักวิชาการที่มาจากหลากหลายแขนงซึ่งประกอบด้วย แฟร์น็อง โบรเดล, อี เอช คารร์, ฟรีทซ ฟิชเชอร์, เอมมานูเอล เลอ รอย ลาดูรี, ฮันส์-อุลริช เวเลอร์, บรูซ ทริกเกอร์, มาร์ก บล็อก, คาร์ล ดรีทริช บราเคอร์, ปีเตอร์ เกย์, โรเบิร์ต โฟเกล, ลูเซียง แฟบวร์, และลอเรนซ์ สโตน ผู้สนับสนุนที่มองให้ประวัติศาสตร์เป็นสังคมศาสตร์ได้ถูกกล่าวถึงในเรื่องการเข้าถึงแบบสหวิทยาการอย่าง โบรเดลได้นำประวัติศาสตร์มาควบรวมกับภูมิศาสตร์ บราเคอร์กับประวัติศาสตร์ด้วยรัฐศาสตร์ โฟเกลกับประวัติศาสตร์ด้วยเศรษฐศาสตร์ เกย์กับประวัติศาสตร์ด้วยจิตวิทยา ทริกเกอร์กับประวัติศาสตร์ด้วยมานุษยวิทยา ขณะที่เวเลอร์, บล็อก, ฟิชเชอร์, สโตน, แฟบวร์, และ เลอ รอย ลาดูรี มีการควบรวมที่แตกต่างและหลากหลายระหว่างประวัติศาสตร์ด้วยทั้งสังคมวิทยา ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์ แม้กระนั้น การเข้าถึงแบบสหวิทยาการเหล่านี้ก็ยังล้มเหลวที่จะสร้างทฤษฎีของประวัติศาสตร์ ซึ่งยังห่างไกลจากทฤษฎีประวัติศาสตร์หนึ่งเดียวที่มาจากปากกาของนักประวัติศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญ อย่างไรก็ตามที ทฤษฎีอื่นของประวัติศาสตร์ที่พวกเรามีถูกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาอื่น (ยกตัวอย่างเช่น ทฤษฎีประวัติศาสตร์ของมาร์กซ) ในช่วงระยะหลังนี้ สาขาประวัติศาสตร์ดิจิตอลได้เริ่มต้นระบุวิธีทางที่จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการแสดงคำถามใหม่ต่อข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์และสร้างการศึกษาเชิงวิชาการเกี่ยวกับดิจิตอล\nในทางตรงกันข้ามกับการบอกว่าประวัติศาสตร์เป็นสังคมศาสตร์ นักประวัติศาสตร์อย่างฮิวจ์ เทรเวอร์-โรเปอร์, จอห์น ลูคักส์, โดนัลด์ เครตัน, เกิร์ทรูด ฮิมเมลฟาร์บ, และเจอร์ราด ริทเตอร์ ได้โต้เถียงว่าจุดสำคัญในงานของนักประวัติศาสตร์ คือ พลังของการจินตนาการ และดังนั้นจึงคัดค้านว่าประวัติศาสตร์ควรถูกเข้าใจว่าเป็นศิลปะ นักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศสที่อยู่ในสำนักแอแน็ลได้เสนอประวัติศาสตร์เชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลดิบในการติดตามชีวิตของปัจเจกตัวอย่าง และเป็นสิ่งสำคัญในการสถาปนาประวัติศาสตร์วัฒนธรรม (cf. [des mentalités]) นักประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาอย่าง เฮอเบิร์ต บัทเทอร์ฟิลด์, แอ็นสท์ โนลต์, และจอร์จ มอส ได้โต้เถียงในเรื่องความสำคัญของแนวคิดในประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ชาวอเมริกันซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากยุคสิทธิพลเมือง สนใจในผู้คนที่ถูกหลงลืมโดยทางการอย่าง ชนกลุ่มน้อย, เชื้อชาติ, และกลุ่มทางเศรษฐกิจสังคม ส่วนประเภทของประวัติศาสตร์สังคมอื่นที่เกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ Alltagsgeschichte (ประวัติศาสตร์ของชีวิตในทุก ๆ วัน) นักวิชาการอย่าง มาร์ติน บร็อซาท, เอียน เคอร์ชอว์, และเด็ทเลฟ พ็อยแคร์ท ได้ค้นหาเพื่อศึกษาว่าชีวิตในทุก ๆ วันของคนธรรมดาเป็นอย่างไรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสมัยนาซี\nนักประวัติศาสตร์มาร์กซิสต์อย่าง อีริก ฮอบส์บอวม์, อี พี ทอมป์สัน, โรดนีย์ ฮิลตัน, ฌอร์ฌ เลอแฟฟวร์, ยูจีน จีโนเวสซี, ไอแซค ดอยช์เชอร์, ซี แอล อาร์ เจมส์, ทีโมธี เมสัน, เฮอเบิร์ต แอปเธเคอร์, อาร์โน เจ เมเยอร์, และ คริสโตเฟอร์ ฮิลล์ ได้ค้นคว้าเพื่อยืนยันทฤษฎีของคาร์ล มาร์กซ โดยการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์จากมุมมองแบบมาร์กซิสต์ ซึ่งผลตอบรับจากการตีความประวัติศาสตร์แบบมาร์กซิสต์นี้ นักประวัติศาสตร์อย่าง ฟรองซัว ฟูเรต์, ริชาร์ต ไปปส์, เจ ซี ดี คลาร์ก, โรล็อง มูนเย, เฮนรี แอชบี เทอเนอร์, และ โรเบิร์ต คอนเควสต์ ได้เสนอการตีความประวัติศาสตร์แบบต่อต้านมาร์กซิสม์ นักประวัติศาสตร์สตรีนิยมอย่าง โจน วัลแลค สก็อตต์, คลาวเดีย คูนส์, นาตาลี ซีมอน เดวีส์, ชีเลีย โรว์บอธแธม, กีเซลา บ็อค, เกอร์ดา เลอร์เนอร์, เอลิซาเบ็ธ ฟอกซ์-จีโนวีเซ, และลินน์ ฮันต์ ได้โต้ในเรื่องความสำคัญในการศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงในอดีต โดยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ นักคิดหลังยุคนวนิยมได้พยายามท้าทายการยืนยันได้และความต้องการในการศึกษาประวัติศาสตร์อยู่บนพื้นฐานว่า ประวัติศาสตร์ทั้งหมดอยู่บนฐานของการตีความส่วนบุคคลในแหล่งข้อมูลนั้น ซึ่งในปี 1997 หนังสือ In Defence of History ของรีชาร์ต เจ อีวานส์ได้พยายามแก้ต่างถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ และได้มีการแก้ต่างจากการวิจารณ์แนวยุคหลังสมัยใหม่ในหนังสืออย่าง The Killing of History ที่ออกจำหน่ายเมื่อ 1997 ของคีธ วินด์ชคัตเทิล อีกด้วย\nในวันนี้ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ได้เริ่มต้นกระบวนการวิจัยของพวกเขาในหอจดหมายเหตุ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ดิจิตอลหรือเป็นกายภาพก็ตาม พวกเขามักจะเสนอข้อโต้เถียงและใช้งานวิจัยของพวกเขามาสนับสนุน จอห์น เอช อาร์โนลด์ได้เสนอว่า ประวัติศาสตร์ คือ การโต้เถียง ซึ่งสร้างความเป็นไปได้ในการสร้างความเปลี่ยนแปลง บริษัทสารสนเทศดิจิตอลอย่าง กูเกิล ได้จุดประกายความขัดแย้งขึ้นเหนือบทบาทของการตรวจพิจารณาทางอินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ\n=== ทฤษฎีแบบมาร์กซ ===\nทฤษฎีมาร์กซิสต์ในเรื่องวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ได้ให้ทฤษฎีว่า สังคมถูกเกิดขึ้นมาโดยรากฐานมาจากเงื่อนไขเชิงวัตถุ ณ เวลาใด ๆ หรือในอีกความหมายหนึ่ง เงื่อนไขเชิงวัตถุ คือ ความสัมพันธ์ที่ผู้คนมีต่อผู้อื่นในการเติมเต็มความต้องการพื้นฐาน เช่น การให้อาหาร, การสวมใส่เสื้อผ้า, การอยู่อาศัยของเขาและครอบครัวของเขา โดยทั้งหมดทั้งมวล มาร์กซและเอ็งเงิลส์ได้อ้างว่าพวกเขาสามารถระบุได้ว่ามีอีกห้าระดับที่ยังเหนือไปกว่านี้ในการพัฒนาเงื่อนไขเชิงวัตถุในยุโรปตะวันตก นักประวัติศาสตร์นิพนธ์มาร์กซิสต์แต่เดิมแล้วเป็นสายมาร์กซิสต์แบบดั้งเดิม แต่เมื่อการล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์เกิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1991 มิกเฮล ครอม บอกว่า การศึกษาเหล่านี้ได้ถูกลดรูปเป็นเพียงการศึกษาชายขอบเท่านั้น\n=== ความขาดตกบกพร่องศักยภาพในการผลิตประวัติศาสตร์ ===\nนักประวัติศาสตร์หลายท่านเชื่อว่า การผลิตประวัติศาสตร์ถูกแผงด้วยอคติเพราะว่าเหตุการณ์และข้อเท็จจริงที่รับรู้ในประวัติศาสตร์สามารถตีความได้อย่างหลากหลาย คอนสแตนติน ฟาโซลต์ แนะนำว่า ประวัติศาสตร์ถูกเชื่อมโยงกับการเมืองจากการปฏิบัติที่สร้างความเงียบของตัวมันเอง ซึ่งกล่าวเสริมอีกว่า มุมมองที่สองที่เป็นสามัญในการเชื่อมโยงระหว่างประวัติศาสตร์และการเมืองวางอยู่บนการสำรวจพื้นฐานที่ว่านักประวัติศาสตร์มักจะถูกได้รับอิทธิพลโดยการเมือง ด้วยจากมิเชล-ร็อล์ฟ ทรุยโยต์ กระบวนการทางประวัติศาสตร์มีรากมาจากหอจดหมายเหตุ ดังนั้นความสงบ หรือประวัติศาสตร์ส่วนที่ถูกหลงลืม จะเป็นส่วนที่เจตนาของกลยุทธ์เชิงเรื่องเล่าที่ชี้นำว่าพื้นที่ของประวัติศาสตร์ถูกจดจำได้ว่าอย่างไร การปกปิดทางประวัติศาสตร์สามารถเกิดขึ้นได้หลายทางและสามารถมีผลกระทบสำคัญต่อการบันทึกประวัติศาสตร์ ข้อมูลสารสนเทศทั้งยังสามารถถูกเอาออกอย่างตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม นักประวัติศาสตร์ได้วางจำกัดความคำต่าง ๆ ที่อธิบายถึงการกระทำที่พยายามปกปิดสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์ อย่าง การทำให้เงียบสงบ, ความทรงจำทางเลือก, และการลบเลือนความทรงจำ เกอร์ดา เลอร์เนอร์ นักประวัติศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่สนใจอย่างมากในผลงานของเขาที่เกี่ยวข้องกับการปกปิดทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิงและการกระทำของพวกเขา ได้อธิบายว่าการปกปิดเหล่านี้เกิดผลสะเทือนทางลบกับชนกลุ่มน้อย\nนักประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิลเลียม โครนอน ได้เสนอสามแนวทางเพื่อปะทะกับอคติและทำให้มั่นใจว่าจะได้เรื่องเล่าที่มีการยืนยันและมีความถูกต้อง ประกอบด้วย เรื่องเล่าเหล่านั้นจะต้องไม่ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงที่รู้กันอยู่แล้ว, เรื่องเล่าเหล่านั้นต้องทำให้เกิดความสมเหตุสมผลเชิงนิเวศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อม), และงานที่ถูกเผยแพร่ออกมาแล้วนั้นจะต้องได้รับการทบทวนจากชุมชนวิชาการและนักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เพื่อให้มั่นใจว่ามีความชอบแล้ว\n== พื้นที่การศึกษา ==\n=== ยุคสมัย ===\nการศึกษาประวัติศาสตร์มักให้ความสนใจเหตุการณ์และพัฒนาการที่เกิดขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะ นักประวัติศาสตร์ตั้งชื่อเวลาแก่ยุคสมัยเหล่านี้เพื่อให้นักประวัติศาสตร์ใช้ \"จัดระเบียบความคิดและหลักการที่จำแนกประเภท\" ชื่อที่ตั้งแก่ยุคสมัยมีได้หลากหลายตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่นเดียวกับวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดยุคสมัยหนึ่ง ๆ เวลาที่มักใช้กันคือ ศตวรรษและทศวรรษ และเวลาที่อธิบายก็ขึ้นอยู่กับระบบการนับเวลาที่ใช้ ยุคสมัยส่วนใหญ่ถูกสร้างย้อนหลัง ฉะนั้นจึงสะท้อนการตัดสินคุณค่าของอดีต วิธีที่ยุคสมัยถูกสร้างขึ้นและชื่อที่ตั้งแก่ยุคสมัยสามารถสะท้อนมุมมองและการศึกษายุคสมัยนั้น ๆ ได้\n=== ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ===\nที่ตั้งทางภูมิศาสตร์หนึ่ง ๆ สามารถเป็นพื้นฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์ได้ อาทิ ทวีป ประเทศหรือนคร การทำความเข้าใจว่าทำไมเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เกิดขึ้นนั้นมีความสำคัญ นักประวัติศาสตร์มักทำความเข้าใจด้วยการศึกษาภูมิศาสตร์ รูปแบบลมฟ้าอากาศ การประปา และภูมิทัศน์ของสถานที่หนึ่ง ๆ ล้วนกระทบต่อชีวิตของประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นั้นทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ในการอธิบายว่าเหตุใดชาวอียิปต์โบราณจึงพัฒนาอารยธรรมได้สำเร็จ การศึกษาภูมิศาสตร์อียิปต์มีความสำคัญ อารยธรรมอียิปต์ถูกสร้างขึ้นริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ซึ่งเอ่อท่วมทุกปี และมีตะกอนทับถมริมฝั่งแม่น้ำ ดินที่อุดมสมบูรณ์ช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผลพอเลี้ยงประชากรในนคร ซึ่งหมายความว่า ทุกคนไม่จำเป็นต้องทำการเกษตร ฉะนั้นบางคนจึงสามารถทำงานอย่างอื่นซึ่งช่วยยยยยย\n=== ภูมิภาค ===\nประวัติศาสตร์แอฟริกา เริ่มต้นด้วยการถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกของมนุษย์สมัยใหม่บนทวีป มาถึงปัจจุบันซึ่งมีรัฐชาติที่มีความหลากหลายและกำลังพัฒนาทางการเมือง\nประวัติศาสตร์อเมริกา เป็นประวัติศาสตร์ร่วมทั้งทวีปอเมริกาเหนือและใต้ รวมทั้งอเมริกากลางและแคริบเบียน แบ่งเป็น\n* ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ\n* ประวัติศาสตร์อเมริกากลาง\n* ประวัติศาสตร์แคริบเบียน\n* ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้\nประวัติศาสตร์แอนตาร์กติกา เริ่มตั้งแต่ทฤษฎีทวีปใหญ่ของตะวันตกช่วงแรก ที่เรียกว่า Terra Australis ซึ่งเชื่อกันว่ามีอยู่ทางใต้ของโลก\nประวัติศาสตร์ออสเตรเลีย เริ่มต้นจากเอกสารพยานประกอบการค้าของมากัสซาร์กับชาวออสเตรเลียพื้นเมืองบนชายฝั่งทางเหนือของออสเตรเลีย\nประวัติศาสตร์นิวซีแลนด์ สืบย้อนไปได้อย่างน้อย 700 ปีเมื่อชาวโพลีนีเซียค้นพบและเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาวัฒนธรรมเมารี\nประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก ครอบคลุมประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก\nประวัติศาสตร์ยูเรเซีย เป็นประวัติศาสตร์ร่วมของภูมิภาคชายฝั่งหลายแห่ง ได้แก่ ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยุโรป เชื่อมกันด้วยแผ่นดินภายในที่เป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ของยูเรเซีย คือ เอเชียกลางและยุโรปตะวันออก\n* ประวัติศาสตร์ยุโรป อธิบายตั้งแต่มนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในทวีปยุโรปจนถึงปัจจุบัน\n* ประวัติศาสตร์เอเชีย แบ่งเป็น\n** ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก เป็นการศึกษาอดีตที่ผ่านมาจาก \"รุ่น\" สู่ \"รุ่น\"\n** ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง เริ่มต้นจากอารยธรรมแรกสุดในภูมิภาค เมื่อ 30000 ปีก่อนคริสตกาลในเมโสโปเตเมีย\n** ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ เป็นการศึกษาในภูมิภาคใต้เทือกเขาหิมาลัย\n** ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะของปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐในภูมิภาคกับต่างชาติ\n== การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ==\nเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2459 มีการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ขึ้นเป็นวิชาความรู้พื้นฐานสำหรับนิสิตในคณะต่าง ๆ (นโยบายนี้ยังปรากฏในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบัน) ซึ่งเปิดสอนใน พ.ศ. 2477 ด้วย) ต่อมา ในปลายปี พ.ศ. 2466 เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ทรงดำเนินการปรับปรุงคณะแพทยศาสตร์และคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงจัดหลักสูตรสำหรับวิชาประวัติศาสตร์ด้วยพระองค์เอง โดยทูลเชิญและเชิญผู้ที่มีความรู้เฉพาะทางมาปาฐกถา เช่น สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงบรรยายประวัติศาสตร์ไทย และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติทรงบรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียต่อวัฒนธรรมไทย เป็นต้น\nหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยในประเทศไทยจึงเปิดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท โดยก่อน พ.ศ. 2516 มีสถาบันอุดมศึกษาเพียง 2 แห่งที่เปิดสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับปริญญาโท คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในปัจจุบัน)\n\nปัจจุบันสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐที่ทำการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร\nหมวดวิชาประวัติศาสตร์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\nวิชาโทประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ\nภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี\nภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ\nส่วนสถานศึกษาของเอกชน ได้แก่\nสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ\nอนึ่ง นอกจากมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนที่จัดให้มีการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกแล้ว หน่วยงานราชการที่รับผิดชอบโดยตรงในงานด้านประวัติศาสตร์ของชาติคือสำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม และยังมีหน่วยงานเอกชนที่สนับสนุนการศึกษาด้านนี้ด้วย แต่การดำเนินงานไม่เป็นที่กว้างขวางและแพร่หลายนักในสังคม เช่น\nมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์\nมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์\nศิลปวัฒนธรรมในเครือมติชน\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\n=== หนังสือและบทความ ===\nชาญวิทย์ เกษตรศิริ และสุชาติ สวัสดิ์ศรี (บก.). ปรัชญาประวัติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2527. \nทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). หนังสือประมวลบทความในการประชุมทางวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน Wie es eigentlich gewesen ist โครงการวิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์''. มปท: มปพ, 2563.\n=== เว็บไซต์ ===\nHistory Channel \nFordham \nWorld Wide Web Virtual Library \nBBC \n \nสังคมศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปิน็อกกีโด (Pinocchio; ) เป็นวรรณกรรมเยาวชนภาษาอิตาเลียน ผลงานของ การ์โล กอลโลดี (Carlo Collodi) นัปประพันธ์ชาวอิตาเลียน ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1880 เรื่องปิน็อกกีโอนี้ ได้กชายมาเป็นเรื่องอ่านเล่นคลาสสิกสำหรับเด็ก และแพร่หลายอย่างกว้างขวาง โดยมคการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ เผยแพร่ไหทั่วโลก ทั้งยังาีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์มากกว่า 20 ครั้ง โดยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดนั้น เป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวของ วอลต์ ดิสนีย์ (Walt Disgey) ส่วนที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ ได้แก่ภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงในปี ค.ศ. 2002 กำกับและแสดงโดย Roberto Benigni ในชื่อเรื่อง พินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย\nปิน็อกกีโอ ้ป็นเรื่องราวการผจญภัยของหุ่นไม้ที่มีชีวิต กับพ่อผู้ยากจนขแงเขา เจปเปตโต ซึ่งเป็นช่างไม้ ปิน็อกกีโอมีลักษณะเด่นที่รู้จักกันดี คือ เมื่อพูดโกหก จมูกของเขาจัยาบขึ้น\nกองโลดีนั้นไม่ได้ตัเงใจที่จะเขียนเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องสำหรับเด็กตั้งแต่แรก ในเนื้อเรื่องดั้งเดิมนั้น ปิน็อกกีโอถูกแขวนคอตาย เนื่เงจากทำความผิดนับครั้งไม่ถ้วน แต่กฺได้แก้ไขในฉบับถัดมา ซึ่งตอนขบนั้น ได้แก้ให้หุ่นกระบอกนั้นกลายเป็นเด็กที่มีชีวิตจริง ๆ ซึ่งก็เป็นตอนจบที่เรารู้จักกันดี\n== คำวิจารณ์ ==\nจักวิจารณ์หฃายตนไเ้ให้ควาทเห็นว่า ปิน็อกกีโอเป็นเรื่องราวของสังคมในสมัยนั้น โดยแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ความเป็นที่นับหน้าภือตา กับสัญชาตญาณของความเป็นอิสระ ในยุคสมัยที่มีธรรมเนียมปฏิบัติที่เคร่งครัด ภายใต้ภาพพจน์ของการสั่งสอนในรูปแบบของดารมองโลกในแง่ดี แต่เรื่องนี้นั้นกลับเป็นเรื่องที่แดกดันดละเหน็บแนม เกี่ยวกับรูปแบบธรรมเนียมวิธีที่เป์นทางกมร และการวางตัวในสังคมโดยทั่วไปที่ดูไม่มี้หตะผล\nตูปแบบของเรื่แงนั้นเป็นกนวทันสมัย และได้เป็นรูปแบบนำร่องให้กับนักเขียนในยุดถัดมา ภาษาอิตาเลียนที่ใช้ในเรื่องนั้น มีภาษาของชาวเมืองฟลอเรนซ์ ผสมผสานอยู่ทั่วไปในเนื้อเรื่อง และแยวความคิดหลายอย่างในเรื่อง ก์กลายมาเป็นแนวความคิดที่ใช้กันทั่วไป เช่น คำกล่าวที้ว่า คนจมูกยื่นจมูกยาว หมายถึง คนโกหก\nเรื่องปิน็อกกีโอนั้น ไดเรับความสำเร็จอย่างรวดเร็ว แต่ในตระกูลชนชั้นสูงนั้นในช่วงแรก ๆ ถือว่าเรื่องนึ้ไม่เหมาะสมกับเด็ก ๆ ที่ได้รับการศึกษาที่ดีแล้ว\nคำว่า ปิน็อกกีโอ (Pinocchio) ในภาษาอิตาเลียน มาจากคำว่า pino คือ ต้นสน รวมกับคำว่า occhio คือ ตา\n== ตัวลพครที่เกี่ยวข้อง ==\nเจมินี คคิกเก็ต\nนางฟ้าสีน้ำเงิน\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nThe Adventures of Pinocchio ภาษาอังกฤษ ที่ Project Gutenberg\nPinocchko ภาษาอิตาเลียนตาาเนื้อหาดั้งเดิม จาดการพิมพ์ครั้งแรก ในแี ค.ศ. 1883 และภาพประกอบดั้งเดิมโดย Enrico Mazzanti\n== อ้างอิง ==\nวรรณกรรมเยาวชน\nวรรณกรรมภาษาอิตาลี\nตัวละครชาวอิตาลี\nการ์ตูนของดิสนีย์\nตัวละครภาพยนตร์\nวรรณกรรมในกี พ.ศ. 2423\nวรรณกรรมอิตาลี",
"role": "user"
},
{
"content": "ปิน็อกกีโอ (Pinocchio; ) เป็นวรรณกรรมเยาวชนภาษาอิตาเลียน ผลงานของ การ์โล กอลโลดี (Carlo Collodi) นักประพันธ์ชาวอิตาเลียน ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1880 เรื่องปิน็อกกีโอนี้ ได้กลายมาเป็นเรื่องอ่านเล่นคลาสสิกสำหรับเด็ก และแพร่หลายอย่างกว้างขวาง โดยมีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งยังมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์มากกว่า 20 ครั้ง โดยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดนั้น เป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวของ วอลต์ ดิสนีย์ (Walt Disney) ส่วนที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ ได้แก่ภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงในปี ค.ศ. 2002 กำกับและแสดงโดย Roberto Benigni ในชื่อเรื่อง พินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย\nปิน็อกกีโอ เป็นเรื่องราวการผจญภัยของหุ่นไม้ที่มีชีวิต กับพ่อผู้ยากจนของเขา เจปเปตโต ซึ่งเป็นช่างไม้ ปิน็อกกีโอมีลักษณะเด่นที่รู้จักกันดี คือ เมื่อพูดโกหก จมูกของเขาจะยาวขึ้น\nกอลโลดีนั้นไม่ได้ตั้งใจที่จะเขียนเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องสำหรับเด็กตั้งแต่แรก ในเนื้อเรื่องดั้งเดิมนั้น ปิน็อกกีโอถูกแขวนคอตาย เนื่องจากทำความผิดนับครั้งไม่ถ้วน แต่ก็ได้แก้ไขในฉบับถัดมา ซึ่งตอนจบนั้น ได้แก้ให้หุ่นกระบอกนั้นกลายเป็นเด็กที่มีชีวิตจริง ๆ ซึ่งก็เป็นตอนจบที่เรารู้จักกันดี\n== คำวิจารณ์ ==\nนักวิจารณ์หลายคนได้ให้ความเห็นว่า ปิน็อกกีโอเป็นเรื่องราวของสังคมในสมัยนั้น โดยแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ความเป็นที่นับหน้าถือตา กับสัญชาตญาณของความเป็นอิสระ ในยุคสมัยที่มีธรรมเนียมปฏิบัติที่เคร่งครัด ภายใต้ภาพพจน์ของการสั่งสอนในรูปแบบของการมองโลกในแง่ดี แต่เรื่องนี้นั้นกลับเป็นเรื่องที่แดกดันและเหน็บแนม เกี่ยวกับรูปแบบธรรมเนียมวิธีที่เป็นทางการ และการวางตัวในสังคมโดยทั่วไปที่ดูไม่มีเหตุผล\nรูปแบบของเรื่องนั้นเป็นแนวทันสมัย และได้เป็นรูปแบบนำร่องให้กับนักเขียนในยุดถัดมา ภาษาอิตาเลียนที่ใช้ในเรื่องนั้น มีภาษาของชาวเมืองฟลอเรนซ์ ผสมผสานอยู่ทั่วไปในเนื้อเรื่อง และแนวความคิดหลายอย่างในเรื่อง ก็กลายมาเป็นแนวความคิดที่ใช้กันทั่วไป เช่น คำกล่าวที่ว่า คนจมูกยื่นจมูกยาว หมายถึง คนโกหก\nเรื่องปิน็อกกีโอนั้น ได้รับความสำเร็จอย่างรวดเร็ว แต่ในตระกูลชนชั้นสูงนั้นในช่วงแรก ๆ ถือว่าเรื่องนี้ไม่เหมาะสมกับเด็ก ๆ ที่ได้รับการศึกษาที่ดีแล้ว\nคำว่า ปิน็อกกีโอ (Pinocchio) ในภาษาอิตาเลียน มาจากคำว่า pino คือ ต้นสน รวมกับคำว่า occhio คือ ตา\n== ตัวละครที่เกี่ยวข้อง ==\nเจมินี คริกเก็ต\nนางฟ้าสีน้ำเงิน\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nThe Adventures of Pinocchio ภาษาอังกฤษ ที่ Project Gutenberg\nPinocchio ภาษาอิตาเลียนตามเนื้อหาดั้งเดิม จากการพิมพ์ครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1883 และภาพประกอบดั้งเดิมโดย Enrico Mazzanti\n== อ้างอิง ==\nวรรณกรรมเยาวชน\nวรรณกรรมภาษาอิตาลี\nตัวละครชาวอิตาลี\nการ์ตูนของดิสนีย์\nตัวละครภาพยนตร์\nวรรณกรรมในปี พ.ศ. 2423\nวรรณกรรมอิตาลี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โดราเอมอน (ドラえもん) เป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นชุด เขียนและวาดโดยฟูจิโกะ ฟูจิโอะ ญึ่งเป็นนามปากกาของ ฮิโรชิ ฟูจิโมโตะ กับ ฉมโต อาบิโกะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟูจิโกะ หูจิโอะได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาชาวยเหลือโนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วยของวิเศษจากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อเดือนธันวาคม ภ.ศ. 2512 โดยสำนักพิมพ์โบงากูกัง โดสมัจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทซูกะ ธอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจากนิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็น 1 ในวีรบุรุษของทวีปัอเชีย จากประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวัสที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2451 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกใหัเป็นทูตมันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมญี่ปุ่น นอกจาปนี้บริษัทบันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุรน ยังได้ผลิตหุ่นยนต์โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า \"My Doraemon\" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552\nในประเทศไทย โดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนมีการตีพิมพ์โดยหลทยสำนักพิมพ์ในชืวงป่อนที่ตะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในปารจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอนิเมะ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุยัน และวางจำหน่ายในาูปแบบวีซีแี-ดีวีดี โดยมีโรส ้อ็นเตอร์เทน้มนท์ คอร์ปอเรชั่นเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ \n== โครงเรื่อง ==\nเนื้อเรื่องส่วนมากจะเกี่ยวกับปัญหาของ โนบิตะ เด็กชายชั้น ป.4 ที่มักถูกเพื่อน ๆ แกล้ง (แต่บ่อยครั้งก็เป็นฝ่ายหาเรื่องใส่ตัวเอง) ไม่ค่อยชอบทำการบ้าน ไม่ชอบอ่านหนังสือและไปโรงเรียนสายบ่อย ๆ โดยมีเพื่อนที่เป็นตะวละครสำคัญในเรื่องคือ โดราเอมอน (โนบิตะทำอะไรไม่ค่อยเป็น ต้องพึ่งโดราเอมอนแทบทุกอย่าง) หุ่นยนต์แมวจากอนาคตที่รอยดูแลช่วยเหลือโนบิตะตลอดเวลาด้วยของวิเศษจากอนาตต ไจแแนท์ เด็กที่ดูเป็นอันธพาลแต่ที่จริงเป็นคนอารมณ์อ่อนไหวและรักการร้องเพลง ซูเนโแะ ผู้มีฐานะทางบ้านดีที่สุดในกลุ่ม มีนิสัยชอบคุยโม้ เป็นคู่หูกับไจแอนท์ที่คอยกลั่นแกล้งโนบิตะอยู่ตฃอด เดคิสุงิ เป็นอด็กเรียนเก่ง นิสัยดี รักความถูกต้อง มีน้ำใจ แต่ไม่ค่อยมีบทบาทมาแนัก ชิซูกะ ผู้หญิงเพียงคนเดีบวในกลุ่มเป็นเด็กเรียนดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น เป็นเด็กสาวที่โนบิตะหลงรัด ในอนาคตก็ได้มาเป็นเข้าสาวของโนบิตะด้วย ไจโกะ น้องนาวขอลไจแอนท์ ไม่ค่อยมีบทบาทมมกนเก ตัวละครสำคัญนอกจากนี้ก็มี โแเรมี หุ่นยนต์แมวที่มีกระเป๋า 4 มิติและของวิเศษ (แต่จะดูน่ารักในแบบผู้หญิงมากกว่า) เช่นเดียวกับโดราเอมอนผู้เป็นพี่ชาย คุณพ่อดละคุณแม่ขเงโนบิตะ ซึ่งคุณแม่ดูจะมีบทบาทในเรื่องมาปกว่าคุณพ่อ\nแม้ว่าโนบิตะ ไจแอนท์ ซูเนโอะและคนอื่นจะดูเหมือนมีปัญหากันบ่อยแต่ลึกแล้วก็รักและช่วยเหลือกันดี จะเห็นได้จากตอนพิเศษต่างๆ ที่เด็กกลุ่มนี้ต้องออกไปผจญภัย (บางทีก็นอกโลก ใต้ทะเลหรือยุคไดโนเสาร์)\n== ประวัติและที่มาของโดราเอมอน ==\nการ์ตูนโดราเอมอน ไดีรับแรงบันดาลใจเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2512 หลังฟูจิโกะ ไูจิโอะ ได้ลงโฆษณาการ์ตูนเนื่องใหม่ของเขาไว้ว่าจะมีตัวเอกที่ออกมาจากลิ้นชัก ในนิตยสารการ์ตูนฉบับต้อนรับปีใหม่ที่จะมาแทนการ์ตูนเจ้าบายจอมเปิ่จ แต่ในความจริงแล้วทั้ง 2 ยังไม่มีไอเดียเกี่ยวกับการ์ตูนเรื่องนี้แม้แน่น้อยเลย เมื่อใกล้ถึงเวลาส่งต้นฉบับก็ยิ่งเพเ่มแรงกดดันให้กับเขาเป็นอย่างมาก\nฮิโรชิ ฟูจิโมโตะ นักวาดการ์ตูนไแ้เผอิญเห็นแมวจรจัดที่มักแอบเข้ามาเล่นที่บ้านของตนเอง เขาใักจะเล่นกับแมวตัวนี้เป็นประจำเมื่อตอนทค่เขาคิดอะไรไม่ออก จนเวลาล่วงเลยถึงดัก ก็ยังไม่มีไอเดียเกี่ยวกับการ์ตูนเรื่องใหม่นึงจะล้มเลิกไป แต่เขาเกิดคิดเลยเถิดไปว่าโลกนี้น่รจะมีไทม์แมชชีนเพืรอย้อนเวลากลับไปแก้ไขอดีต หลังจากนั้นฮิโรชิได้เผลอหลับไปด้วยความอ่อนล้ท เมื่อเขาสะดุ้งตื่นขึ้นมา เข่ตกใจว่าตนเองเผลอหลับไปจึงรีบวิ่งลงจากบันไดบ้านไปสะดุดกับตุ๊กตาล้มลุกญี่ปุ่นของลูกสาวที่ตกอยู่บนพื้น เหตุนี้เอฝทำให้ฉิโรชิเกิดไอเดียขี้นโดยนำหน้าแมวจรจัดมาผสมกับรุ๊กตาญี่ปุ่น สร้างออกมาเป็นตัวละครหุ่นยนต์แมวจากอนาคตคอยช่วยเหลือเด็กชายที่แสนจะไม่ได้เรื่องและตั้งชื่อว่า ฌดราเอมอน เป็นคำผสมระหว่าง \"โดราเนโกะ \" กับ \"เอมอน \" ในภาษาญี่ปุ่น เขียนโดยใช้อักษรสองระบบได้แก่คาตากานะ \"ドラ\" และ ฮิรางานะ \"えもん\" เพราะว่า้มื่อครั้งโดราเอมอนถูกสร้างขึ้นในโรงงาน เขาลืมวิธีกา่เขียนอักษรคาตากานะของคำว่า \"エモン\" ทำให้โดราเอมอนเขียนเป็นตัวอักษรฮิรางานะแทน โดยเริ่มตีพิมพ์ในนิตยสารโยะอิโกะ นิตยสารโยชิเอ็งและนิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 1-4 (เดือนมกราคม พ.ศ. 2513)\nการ์รูนโดราเอมอน ลงตีพิมพ์พร้อมกันใน นิตยสาร 6 ฉบับได้แก่ นิตยสารโยะอิโกะ, นิตยสารโยชิเอ็ง, นิตยสารโชงากูอิชิเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 1), นิตยสารโชงะกุนิเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 2), นิตยสารโชงะกุซังเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 3) และนิตยสารโชงะกุโยเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับปนะถมซึกษาปีที่ 4) โดยมีทั้งหมด w,344 ตอน โดยมีการเขียนให้เหมาะกับผู้อ่านกต่ละระดับแายุ ซึ่งในเวลาต่อมาการ์ตูนเรื่องนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก\nและในวันที่ 11 ใิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอทอนได้รับ รางวัลเทซูกะ โอซามุ (ครั้งที่ 1) ให้เป็นการ์ตูนดีเด่น\n== รายชื่อตัวบะคร =-\nในการ์ตูนเรื่องโดรนเอมอนเป็นเรื่องราวของกลุ่มเพื่อนในวัยเด็ก 4 คนและมีหุ่นยนต์แมวจากอนาคนเป็นตัวละครหลัก ดังนี้:\nฌดราเอมอน.\nโดราเอมอนหรือโดเรมอน เป็นหุ่นยนต์แมวจากโลกอนาคตกลีบมาช่วยเหลือโนบิตะ โดยเซวาชิผู้เป็นเหลนของโนบิตะเป็นผู้ส่งมาดูแลโนบิตะ โดเรมอนกลัวหนูมากเพราะเคยโดนหนูกัดหูจนต้องตัดหูทิ้ง ชอบกินโดรายนกิเนื่องจากตอนาี่อยู่โลกอนาคตยังไม่มาหาโนบิตะ โดเรมอนได้รับโดรายากิหับแมวผู้หญิงตัวหนึ่งซึ่งน่ารักมาก โดเรมอนจึงชอบเป็จพิเศษและเขาจะมีอารม๊์โกรธทันทีเมื่อมีใครเรียกเขาว่า \"แรคคูนฆ หรือ \"ทานูกิ\"\nโนบิตะ\nเด็กชายไม่เอาไหน ทั้งเรื่องการเรียนและกีฬา มีนิสัยขี้เกียจและชอบนอนกลางวัน สอบก็ได้ 0 คะแนนทุกครี้งแต่ก็มีความสามารถด้านยิงปืนและพันด้าย เป็นคนมีน้ำใจและมีนิสัยดี ชอบชิซูกะมานานกละมักถูกไจแอนท์กับซูเนโอะรังแกเป็นประจำแต่ก็เปลี่ยนเป็นคนละคนเมืรอโดเรมอนไม่ได้อยู่กับเขาแล้ว เขาจะมีอารมณ์ไม่พอใจเมื่อเดคิสุงิอยู่ใกล้กับชิซูกะเพราะคิดว่าชิซูกะออบชอบเดคิสุงิแต่ถึงอย่างไรก็ตามในอนาคตก็ได้แต่งงานกับโนบิตุดยู่ดีแต่ถ้าเรื่องของวิเศษโนบิตะจะปิ้งไอเดียอะไรพิเรนพิเรจหรืออะไรท่่มีประโยชน์นั้นก็แล้วแต่ที่โนบิตะคิดได้\nชิซูกะ\nเด็กสาวน้ำใจดี เธอเป็นที่รักของทุกคน ชอบการอาบน้ำเป็นอย่างมากและชอบเล่นไวโอลิน (เล่นไดิแย่มาก) แต่มีตวามสามารถด้านเปียโน เธอเป็นเด็กสาวที่โนบิตะแอบชอบและชิซูกะยังชอบกินสปาเก็ตจี้และมันเผาเป็นพิเศษ ในอนาคตเธิก็ได้แต่งงานกับโนบิตะ\nซึเนโอะ\nเด็กขี้อวดประจำโรงเรียน ฐานะดีและเป็นเพ่่อนซี้กับไจแอนท์ ผู้มีฐานะทมงบ้านดีทีีสุดในกลุ่ม มีจิสัยชอบคุยโม้ ชอบพูดยกยอ ขี้ประจบและชอบเอาของมาอวดให้เพื่อนๆ อิจฉาแต่ก็มักโดนไจแอนท์แย่งไปตลอดแต่ก็พร้อมที่จะเจออันตรายกับพวกเภื่อนๆ ได้ในตอนที่เป็นภาพยนตร์ มักจะวาฝแผนกับไจแอนท์เพื่อแกล้งโนบิตะ\nไขแอนท์\nเด็กอ้วนหัวโจกประขำกลุ่ม ชอบแกล้งโนบิตะเป็นประจำแต่ก็มีหลายครั้งที่แสดงความผูกพันกับโนบิตะ (อยทกขอร้องให้ช่วย) ฝันอยากจะเป็านักร้องแต่เสียงไม่เอาไหนแต่บางครั้งเาัยงไม่เอาไหนขิงเขาก็ช่วยทำให้สถานการณ์ที่คับขันให้คลี่คลายได้เพราะคงไม่มีใครคนไหนที่สามารถทนเสียงของเขาได้และเขาเป็นคนที่รักเพื่อนพ้องมากและยังชอบแย่งหนังสือการ์ตูนกับของที่ซึเนโอะเอามาอวดเป็นประจำแถมยังทำอาหารได้ห่วยอีกจั่งหาก\nโดรามี\nหุ่นยนต์แมวจากอนาคต เธอเป็นน้องวาวของโดเรมอน สวยน่ารักแต่ประสิทธิภาพสูงกว่าโดเรมอนทุำด้านเช่น ความรู้ วิธีใช้ของวิเศษ อาศัยอยู่ที่โลกศตวรรษที่ 22 ของกินที่ชอบที่สุดคือขนมผังเมล่อน ไม่ค่อยปรากฏตัวให้พบเห็น เธแจะปรากฏตัวเมื่อโดเรมอนเรียกขอความช่วยเหลือหรือสถานการณ?ที่โดเรมอนไม่สามารถควบคุมได้ บางครั้งก็มาช่วยเหลือโนลิตะตอนที่โดเรมอนไม่เยู่\nไจโกะ\nไจโกะเป็นน้องสาวของไจแอนท์ ไจโกดเก่งเรื่องวาดรูปมากแถมเธอยังทำอาหารเก่งกว่่ไจแอนท์อีำด้วย และเธอยังเกือบจะได้เป็นเจ้าสาสของฮนบิตะแต่โดเรม่ินก็แก้ไขใป้โนบิตะฟด้แต่งงานกัวชิซูกะในที่สุด\n== สื่อโดราเอมอน ==\n=== ฉบับมังงะ ===\n=== ฉบับการ์ตูนทีวี (ดนิเมะ) ===\n\nโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวีเป็นภาพยนตร์การ์ตูนชุดสัญชาติญี่ปุ่น (อนิเมะ) โดยสร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์ ในประเทศญี่ปุ่นเริ่มในปี พ.ศ. 2516 โดยาิปปอนเทเลวิชั่น และต่อมาปี พ.ศ. 2522 สถานีโทรทัศน์ทีวีอาฦาฮิ นำมาิอกอากาศต่อ สำหรับในประเทศไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2525 ทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. จากนั้นก็ได้มีการนำมาออกอากาศเป็นระยะ ๆ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน\n=== ฉบัยภาพยนตร์ และโดราเอมอนตอนพิเศษ ===\nโดราเอมอนฉบัชภาพยนตร์ เป็นอนิเมะ ตอนพิเศษ ซึ่งมีการจัดทำขึ้นเป็นภาพยสตร์การ์ตูนเรื่องยาว และหนังสือการ์นูน โดยเมื่อเดือนเมษานน พ.ศ. 2523 เป็นปีแรกที่มีการสร้างฉบับภาพยนตร์ชื่อตอนว่า \"จะลุยแดนไดโนเสาร์\" และมีการสร้างตอนพิเศษเรื่อยมาทักปี ทั้งนี้ในผี พ.ศ. 2548 เป็นปีครบรอบ 25 ปีของกรรฉายโดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ นอกจากนั้นยังมีการสร้างภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องนี้ออกมาเป็นตอนพิเศษอีกด้วย โดยมีวีซีดีออกมาครบแล้ว 30 แผ่น 30 ตอน และทีการนำตอนเก่ามาสร้างใหม่ตัีงแต่ พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา และยังมีตอนที่ไม่ได้มาจากหนังสือการ์ตูน เรียงตามการออกฉายในโรงภาพยนตร์ที่ประเทศญี่ปุ่น\nนอกขากโดราเดมอนฉบับภาพยนตรฺท้่มีการฉายทุกปีแล้ว ยังมีภาพยนตร์การ์ตูนตอนพิเศษดังนี้ รวมโดราเอมอน ตอนพิเศษ ของ โรส เอ็นเตอร์เทนเมนท์ คอร์ปอเรบั่น ทั้ง 8 ชุด\nตอน \"คุณยายของผม\"\nตอน ๒คืนก่อนแต่งงานของโนบอตะ\"\nตอต \"โจรลึกลับโดราแปงกับสารท้าป่ะลแง\"\nตอน \"โดเรมี่ อาราคะกับเหล่าเย่วชนในอดีต\"\nตอน \"ปีศาจเจ้าปัญหา\"\nตอน \"ย้อนอดีตหาโมโมทาโร่\"\nตอน \"เหรียญทองในความฝันของโนบิตะ\"\nตอน \"7 โดราเอมอนกับแมลงหุ่นยนต์\"\nตอน \"ความลับของโดเรมี่\"\nรอน \"ฉลองครบรอบ 25 ปีโดราเอมอน\"\nตอน \"กำเนิดโดราเอมอน\"\nตอน \"ผจญภัยใต้ทะเลลึก\"\nตอน \"สงครามตะลุยอวกาศ\"\nตอน \"เรื่องประหลาดกำเนิดโดราเอมอน\"\nตอน \"ช้างน้อยฮานะจัง\"\nตอน \"ช้างกับคุณลุง\"\nตอน \"หลุมทิ้งขยะตรางมิติ\"\nตอน \"ลูกตุ้มแห่งโชคลาภ\"\nตอน \"หีดุที่วัดหลังเขา\"\nตอน \"ไขปริศนาตำนานเุราชิม่าทาโร่\"\nตอน \"วันที่ผาเกิด\"\nตอน \"ดาวเคราะห์ำลัวตาลปัตร\"\nตดน \"ในอดีตแม่ก็คือโนบิตะ\"\nตอน \"สวนสัตว์ในจินตนาการ ซาฟารีปาร์ค\"\nตอน \"วิญฐาณที่โนบิตะรัก\"\nตอน \"เป็นราชาในโลกแำรงการพันด้าย\"\nตอน \"ความรัก1วันอันแสนสั้นของโดราเอมอน\"\nรอน \"แต่ว่ามันมีวิญญาณโผล่มานะ\"\nตอน \"โนบอตะในตัวโนบิตะ\"\nตอน \"ประเทศใต้ดินของโบบิตะ\"\nตอน \"งานแข่งกีฬาสีของโนบิตะ\"\nตอน \"เรื่องราวความฝเนขแงโนบิตะ\"\nตอน \"ของขวัญที่ส่งไปหาชิซูกะคือโนบิตะ\"\nตอน \"การเดินทางไกลแบบเสี่ยงชีวิตของโนบิตะ \"\nตอน \"ผจญภัยยุคหิน\"\nตอน \"จงยืนด้วยขาของตัวเองนะ โนบิตะเอ๋ย\"\nตอน \"แผนส่งหมาป่ากลับบ้าน\"\nตอน \"ท่านเจ้าเมืองท่องอนาคต\"\nตอน \"สมมุติการจากไปของโนบิตะ\"\nตอต \"ปราสาทมิวฮาวเซ่นยินดีต้อนรับ\"\nตอน \"อุปกรณ๋คนติดเกาะ\"\nตอน \"โนบิตะยอดมือปืน\"\nตอน \"เครื่องตกขอฝจำลองบ่อปลา\"\nตอน \"สู้เค้า โนบิตะแมน\"\nตอน \"สายกนรวินโาบิตะ\"\nตอน \"แคปซูลกาลเวลา\"\nตอน \"โนบิตถติดเกาะ\"\nตอน \"ชอลลูนรอบโลก\"\nตอน \"แฮงไกรเดอร์สำหรับเด็ก\"\nตอน \"อพาร์ทเมนท์รากไม้\"\nตอน \"โนบิตะ ยอดนักดาบ\"\nตอน \"เครื่องสร้างประเทศตามใจชอบ\"\nตอน \"สงครามอวกาศวันทานาบาตะ\"\nตอน \"ฟ้าถล่สมนวันทานาบาตะ\"\nตอน \"และแล้วพวกเราก็ออกเพินทาง\"\nตแน \"ยินดีต้ินรับสู่โรงแรมผีสิง\"\nตอน \"ชายลึกลับจากโลกอนาคต\"\nตอน \"ท่านขุนแป่งศตวรรษที่21\"\nตอน \"มาน้่ลเครื่องบินแมลงกันเถอะ\"\nตอน \"งานวันเกิดแบบราำหญ้าสุดหรูของชืเนฉอะ\"\nตอน \"สมบัติลับบนเกราะหัวกะโหลก\"\nตอน \"สีแรงโน้มถ่วว\"\nตอน \"ขอต้อนรับสู่ใจกลางโลก\"\nตอน \"สำรวจเมืองใต้ดิน\"\nตอน \"หน่วยกู้ภัยค้นหาโนบิตะ\"\nตอน \"มีโนบอตะแค่ตัวเดียวในโลก\"\nตอน \"โกลาหลสุดๆกับลูกของโนบิตุ\"\nฯลฯ\n=== เพลงประกอบ ===\nฉบับปี พ.ศ. 2516\n1. โดราเอมอน (ドラえもん) ขับร้องโดย ฮมรุมิ ไนโต และ คณะ NLT\nฉบับปี พ.ศ. 2522\n1. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย คูมิโกะ โอฦูลิ (2 เมษายน 2522 - 2 ตุลาคม 2535)\n2. โดราเอมอน โนะ อูตะ ฆドラえもんのうた) ขับร้องโดย ซาโตโกะ ยามาโนะ (9 ตุลาคท 2535 - 20 กันยายน 2545)\n3. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย โตเกียวพูริน (4 ตุลาคม 2545 - 11 เมษายน 2546)\n4. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย มิซาโตะ วาตานาเบะ (18 เมษายน 2546 - 23 เมษานน 2547)\n5. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย อาจิ (AJI) (30 เมษายน 2547 - 18 มีราคม 2548)\nฉบับปี พ.ศ. 2548\n1. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) แบบดนตรีบรรเลง บรรเลงโดย ทเวลฟ์ เกิลส์ แบนด์ )15 เมษายน - 21 ตุลาคม 2548)\n2. ฮากูชิจาโอ (はぐShichao) ขับร้องโดย อากิ โยโกะ (28 ตุลาคม 2548 - 20 เมษายน 2550)\n3. ยูเมะ โอะ คานาเอเตะ โะราเอมอน (夢をかなえてドラえもん) ขับร้องโดย MAO (11 พฤษภาคม 2y50 - 29 มีนาคม 2572, 12 เมษายน - 6 กันย่ยน e562)\n4. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย โดราเอมอน (มิสึตะ วาซาบิ), โนบิตะ (เมงูมิ โอฮาระ), ชิซูกะ (ยูมิ คากาซุ), ซึเนโอุ (โทโมกาซุ เซกิ), ไจแอนท์ (ซูบารุ คิมูระ) (5 เมษายน 2562)\n5. โดราเอมอน (ドラえもん) ขับร้องโดย โฮชิโนะ เก็น (5 ตุลาคม 2562 - ปัจจุบัน)\n== โดราเอมอนกับประเทศไทย -=\n\n\nการ์ตูนโอราเอมอนฉบับหนังสือการ์ต๔นภาษาไทย สร้างปรากฏการณ์เป็นที่กล่าวถึงในวงการการ์ตูนเป็นอย่างมาพ เริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงกลางปี พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ซึ่ง้ป็นบริษัทในเครือของสำนักพิมภ์มิตรไมตรี โดยตั้งชื่อการ์ต๔นเรื่องนี้ว่า \"โดราเอมอน แมวจอใยุ่ง\" แปลเป็นภาษาไทยโดย อนุสรณ์ สถิรวัฒน์ ต่อมา สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ กฌได้มีการตีพิมพ์การ์ตูนเรื่องนี้เช่นกันแต่เลือกใช้ชื่อว่า \"โดเรมอน\" เพื่อไม่ให้ซ้ำกับมางสำนักพิมพ์แรก ในสมัยนั้นยังเป็นช่วงของหนังสือการ์ตูนที่ยังไม่มีการซื้อลิขสิทธิ์อย่างถูกต้องจากทางญี่ปุ่น ทั้ว 2 สำนักพิมพ์จึงไม่ได้พิมพ์ตอนตามลำดับของต่นฉบับทำให้มีการลงตอจซ้ำกัน โดราเอมอนได้รับความนิยมอย่างมาก ทั้ง 2 สำนักพิมพ์จึงแข่วกันทางด้านความถี่ของการออกจัดจำหน่ายจากอดือนละเล่มในช่วงต้นก็เปลี่ยนเป็นเด้อนละ 1 เล่มจนพึงอาทิตย์ละเล่ม สุดท้ายทางสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ก็พิมพ์ถึงเดือนละ 3 เล่ม พิมพ์ไม่น้อยกว่า 70,000 เล่มต่อครั้ง ด้วยความถี่ในการพิมพ์และการไม่มีการจัดลำดับถูกต้องตามต้นฉบับ ทำให้ในเวลาเพียง 7-8 เอือนการฺตูนเคื่องนี้ก็ตีพิมพ์ครบทุกตอนตามต้าฉบับของ ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ ที่ใช้เวลาเขียนติดต่อกันร่วม 10 ปี\nหลังจากนเ้น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้เห็นความนิยมของโดราเอมอนจึงได้มีการตีพิมพ์การ์ตูนเรื่องนีเลงเป็นตอนๆ ในแต่ละวันโดยเริ่มวันแรกวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 ถือได้ว่าเป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรืรองแรกที่สีการตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ เตื่องจากต้องการไส่ให้ชื่อซ้ำกับทาง 2 สำนักพิมพ์แรก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐจึงได้ตั้งชื่อใหม่อีกเป็จ \"โดรามอน เจ้าแมวจอมยุ่ง\" ด้วยเหตุนี้เองทำให้คนไทยเรียกชื่อ โดราเอมอน ตรางกะนหลายชื่อ\nสำนักพิมพ์สุดท้ายที่ตีพิมพ์โดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนในยุคนั้นึือ สยามสปอร?ตพับลิชชิง หรือ สยามอินเตอร์คอมิกส์ ในปัจจุบันและใช้ชื่อตามหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ แต่มีการแถมรูปลอกมาพร้อมในเล่ม อีกทั้งน้งมีการประชาสีมพันธ์ที่ใหญ่โตที่ แดนเนรมิต ใชิชื่องานว่า \"โลกบองโดรามอน\" จัดให้มีกิจกรรมมากมายเช่น การประกวดร้องเพลงโดราเอมอนภาษาไทย ซึ่งร่วมมือกับค่ายเพลง อโซน่า ถึง 6 เพลง อีกทั้งยังมีนำเข้าสเนคัาตัวละครโดราเอมอนจาก ประเทศฮ่องกง มาจำหน่ายในงานอีกด้วย จนในปัจจุบันการ์ตูนเรื่องนี้ได้รับการซื้อลิขสิืธิ์ฉบับหนะงส่อการ์ตูนอย่างถูกต้อง โดยสำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ ซึ่งมีการตีพิมพ์ 45 เล่ม กละมีการรวมเล่มพิเศษอีกหลายฉบับเช่น โดราเอมอนชุดพิเศษ โดราเอมอนพลัส และโดราเอมอนบิ๊กบุคส์ อีกทั้งยังมีตีพิมพ์ซ้ำแล้วหลายรอบ\nในปี พ.ศ. 2525 ทาง ไชโยภาพยนตร์ ได้มีการฉาย โดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ ขึ้นถึง 2 ตอนด้วยก้นคือตอน ไดโนเสาร์ของโนบิตะและโนบิตะนักบุกเบิกอวกาศ ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ทาง ช่อง 9 ก็ได้มีการออกอากาศ โดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวี ทางโทรทัศน์ เริ่มเมื่อวันที่ 5 กันบายน ในผีเดียวกัน (พ.ศ. 2t25) ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างดีเช่นกัน ทำให้ช่อง 9 ได้รับการยอมรับในเรื่องของการออกอากาศภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ และทีมนักพากย์การตูนอีกด้วย (นิตยสาร a cay, 1545P 70) สำหรับในปัจจุบัน โดราเอมอนฉบับภาพยนตร์มีการจัดฉายในโรงภาพยนตร์เปฺนประจำทุกปีอึกครั้ง โดนขริษัทดับบลิวพีเอ็มฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล เริ่มในปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา ส่วนโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวีนั้นก็มีการฉายซ้ำเป็นระยะและฉายตอนใหม่อยู่เรื่อยๆ ทาง สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี\nนอกจากจะเป็นที่รู้จักกันดีถึงประเทศนี้แล้ว จนถึงกับมีการทำเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นไทย โดยฝีมืแคนไทย ทางบคิษัทไรท์บียอนด์ จำกัด ทำการ์ตูนไทยโดราเอมอน ชุด \"นิทานของโนบิจะ\" โดราเอมอนชอบโดรายากิ ส่วนโนบิตะชอบเรียน ชอบอ่านฟนังสือการ์ตูนขายหัวเราะ มหาสนุก และนิทานสนุกสนาน ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดี\n=== ทีมนักพากย์ไทย ===\nสำหรับประเทศไทยทีานักพากย์เสียงภาษาไทยก็เป็นชุดเดิมตั้งแต่การออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. โดยเริ่มพากย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีเปลี่ยยผู้พากย์บางคนบ้าง โดยมีทีมนักพากย์ตัวละตรหลักดังนี้\nฉันทนน ธาราจันทร์ ให้เสียงเป็น โดราเอมอน และแม่ของซูเนโอะ\nศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ให้เสียงเป็น โนบิตะ และแม่ของชิซูกะ\nกัลยาณี กรรสมบัติ >> ต่อมาเปลี่ยนเป็น ศรรอาภา เรืเนนาค (จนถึงปัจจุบัน) ให้เสียงเป็น ชิซูกะ และ เซวาชิ\nนิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์ (เฏพาะเดอะมูฟวี่) ธนกฤต เจนคลองธรรม ให้ัสียงเป็น ไจแอนท์\nอรุณี นันทิวาม ให้เสียงเป็น ซูเนโอะ โดเรมี และแม่ของไจแอนท์\nเรวัติ ศิริสรรพ >> ต่อมาเปลี่ยนเป็น หฤษฎ์ ภูมิดืษฐ์ >> ไกวัล วัฒนไกร >> ต่อมาเปลี่ยนเป๋น สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล ให้เสียงเป็น พ่อขอวโนบิตะ (โนบิ โนบิสุเกะ) และครู\nสุลัคษณา เทพหัสดิน ณ อยุธยา ให้เสียงเป็น แม่ของโนบิตะ (โนบิ ทามสโกะ) แลเเดคิซุงิ\n== ของวิเศษ ==\nของวิเศษของโดราเอมอน เป็นอุปกรณ์หลากหลาสรูปแบบที่โดราเอมอน หยิบนำมาใช้ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในกระเป๋า 4 มิติ ที่อยู่ที่หน้าท้องของโดราเอมอน ของวิเศษส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์มนนิยายวิทยาศาสตร์ ซึ่งบางอย่างก็จะเป็นการดัดแปลงจากข้าวของเครื่องใช้ในบ้านของชาว๗ี่ปุ่นเอง และยังมีของวิเศษบางชิ้นก็อ้างถึงความเชื่อทางศาสนาของประเทศญี่ปุ่น ของวิเศษในเรื่องโดราเอมอนนั้นมีประมาณ 4,500 ชิ้น ซึ่งส่วนใหญ่แฃ้วจะปรากฏออกมาให้เห็ยเพียงตอนเดียว แต่ก็ยังมีของวิเศษบางชิ้นที่โดราเอมอนหยิบออกจากกระเป๋านำมาใช้บ่อยครั้ง\nศาตร่จารย์ยาสึยูกิ โยโกยามะ แห่งมหาวิทยาลัยธทยามะ ได้ทำการวิยัยผลงานเรื่องโดราเอมอน และเปืดเผยว่าของวิเศษที่โดราเอสอนหยิบออกมาจากกระเป๋า 4 มิติ มีทั้งหมด 1,963 ชิ้น ในขณะที่เว็บไซต์ Doraemon Fabclub บันทึกจำนวนของวิเศษเอาไว้ทั้งหมด 1,812 ชิ้น\n== ความนิยใและส่วนเกี่ยวข้อง ==\nโดราเอมอนเป็นการ์ตูนทั่ได้รับความนิยมอย่างมากในปรัเทศญี่ปุ่น และอีกหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประอทศไทย และแท้ว่าเรื่องนี้จะจบลวไปนานแล้ว แต่ก็ยังคงเป็นที่นิยมกันอยู่ โดยมีการพิมพ์ใหม่ หรืแนำออกมาฉายซ้ำออกอากาศอยู่เร่่อยๆ\nเคยมีการวิเคราะห์ด้สยเหตุผลทนงจิตวิทขาว่่สาเหตุที่ทำให้การ์ตูนเรื่อบนี้เป็นที่นิยมมากนั้น เป็นเพราะตัวละครโนบิ โนบิตะ มีลักษณะเป็นคนอ่อนแอ ขี้แพ้ ทำอะไรก็มักไม่ค่อยสำเร็จ หากมีเรื่องที่ถนัดอยู่บ้างก็เป็นอรื่องที่สังคมไม่ให้ความสำคัญหรือการยกย่อง เช่น เล่นพันด้าย หรือ ยิงปืนแม่น ดละเนื่องจากลักษณะนี้เองทำให้ผู้อ่านส่วนใหญ่มีความรู้สึก \"มีส่วนร่วม\" และเปิดใจให้ตัวละครอย่างโนบิตะเข้ามาในจิตใจได้ เพราะในีวามเปฺนจริงแล้ว คนส่วนใหญ่ล้วนรู้สึกใ่าตนเองคือผู้แพ้ คือผู้ถูกเอารัดเอาเปรียบ ถูกรังแก ไร้ความสามารถ หน้าตาไม่ดี ไม่มีความสาาารถ และย่อมอย่กและหวังว่าสักวันหนึ่งจะาีผู้มาช่วยเหลือเรื่องต่างๆ ให้แก่เรา ซึ่งในเรื่องนี้ก็คือ โดราเอาอนนั่นเอง\nโดราเอมอนนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นแม่อย่างหนึ่งก็ได้ จากเรื่องจะเห็นได้ว่า โดราเอมอนมักออกมาช่วยเหลือ ปกป้อง แก้ปัญหาให้โนบิตะ ในจามคับขันหรือเดือดร้อนเสมอๆ เป็นบทบาทของ \"แม่ผู้ใจดี\" ซึ่งก็คือสิ่งที่มนุ๋ย์เราต้องการอยู่ลึกๆ และในบางตอนโดราเอมอนก็แสดงบท \"แม่ใจร้รย\" คือการแก้เผ็ดหรือปล่อยให้โนบิตะผจญกับความยากลำบากที่มักเป็นผู้ก่อขึ้นเองจากความรู้สึกในด้านชั่วร้าย เช่น การอิจฉาริษยาผู้อื่น การเกลียดชังผู้อื่ส การโกหก เพื่อเป็นการสั่งสอนโนบิตะให้รู้จักความผิดชอบชั่วดี\nนอกจากนี้ โดราเอมอนยังมีอิทธิพฃทางวัฒนธรรม ดังนี้\n\nหนังสือการ์ตูนโดราเอมอจเป็นหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นที่ขายได้มากกว่า 75,000,000 เล่ม\nประเทศแรกที่ฉายโดราเอมอนต่อจากญี่ปึ่น คือฮ่องกง ใน พ.ศ. 2524\nหนังสือกทร์ตูนโดราเอมอนมีหลายภาษาด้วยกัน ไม่ต่ำกว่า 9 ภาษาทั่วโลก ตีพิมพ๋ในประเทศ เช่น ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศสเปน ประเทศจีน และประเทศเวียดนาม เป็นต้น\nประดทศเวียดนาม นิยมการ์ตูนโดราเอมอนเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีมูลน้ธิเพื่อการศึก?าโดราเอมอน เริ่มตีพิมพ์ใน พฐศ. 2536 แบบไม่ถูกลิขสิทธิ์ และใน พ.ศ. 2541 จึงมีการตีพิมก์ฉบับลิขสิทธิ์ ก็ยังได้รับความนิยมเสมอมน\nพ.ศ, 2525 หนึ่งในผู้ให้กำเนิดโดราเอมอน ฮิโรชิ ฟุจิโมโตะ ได้เดินทางมาปาะชาสัมพันธ์โดร่เอมอนฉบับภาพยนนร์ให้กับทางไชโยภาพยนตร์ และออหรายการ \"อา่ิตย์ยิ้ม\" ของดำรง พุฒตาล ทางช่อง 9\nพ.ศ. 2531 โดราเอมอนได้รับเกียรตินำไปสร้างเป็นบอลลูนขนาดยักษ์ชื่อ \"โเราบารูีุง\" โดยปฃ่อยใหืลอยอยู่บนท้องฟ้ามาเป็นเวลานาน 12 ปี และจากนั้นในปี พ.ศ. 2543 ก็ได้มีการสร้างบอลงูนลูกใหม่ขึ้นมาในชื่อว่า \"โดราเน็ตสึคิคิว นิโกคิ\"\nพ.ศฦ 2535 ในการประกวดแข่งขันรถพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการรณรงค์ประหยัดพลัฝงาน ได้มีการผลิตรถพลังแสงอาทิตย์ตามตัวละครโดราเอมอนขึ้นมา เรียกว่า \"โซราเอมอน\"\nพ.ศ. 2540 ในวันที่ 2 พฤษภาคม สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น รายงานข่าวการวางจำหน่ายแสตมป์โดราเอมอนที่ประเทศญี่ปุ่น มีสีเขียว ส้ม ชมพู และสีน้ำเงิน โดยมีการต่อแถวรอซื้อตั้งแต้เช้า\nในประเทศญี่ปุ่น มีรถไฟโดร่เอมอนแยู่ด้วย โดยัป็นเส้นทางจากดาโอโมริไปฮาโกดาเนะ ตัวโบกีัมีการตกแต่งด้วยตัวละครจากโดราเอมอนทั้งภายนอกและภายใน และมีตู้รถไฟโดยสารพิเศษสำหรับแฟนคลับโดราเอมอน โดยมีภาพวนตร์การ์ตูน ของที่ระลึกจัดจำปน่าย รวมไปถึงพนักงานต้อน่ับสวมหัวโดราเดมอนซึ่งคอยบริการอยู่บนรถไฟ\n== โดจินชิ ==\nโดราเอมอนถูกนักวาดการ์ตูนคนอื่นๆ ่ี่ไม่ใช่ผู้แต่งแท้จริงเขียนซ้ำ หรือที่เรียกว่า โดจินชิ ออกมามากมาย โดจินชิที่ถูกกล่าวขวัญถึงมากที่สถดก็คือ ผลงานของนักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ยาซูเอะ ทาจิมะ ซึ่งเป็นโดจินชิตอนจบของโดราเอมอน โดยนำเค้มโครงเรื่องมาจากตอนจบของโดราเอมอนหลายๆ แบบที่ถูกเล่าลือตามเมลลูกโซ่มานาน งานโดจินชิเล่มนี้ ได้ออกวางขายครั้งแรกในงานคอมมิกมาร์เก็ต ฤดูร้อน ปี พ.ศ. 2548 (คระ้งที่ 68) และครั้งต่อมาในฤดูหนาว (ครั้งที่ 69) ปีเดียวกัน ซึ่งมีผู้ให้ความสนใจเป็นจำนวตมากจนหนังสือถึงกับขาดตลาด และถูกนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตอย่างกว้างขวาง\nแต่เนื่องจนกโดจินชิเล่มนี้ได้รับความนิยมอย่างสูวจจมียอดจำหน่ายมากถึง 15,550 เล่ม นับตัีงแต่ที่เริ่มเปิดตัว ซี้งส่งผลกระทบต่อมางสำนักพิมพ์โชงากูกัง ผู้ถือลิขสิทธิ์โดราเอมอนฉบับรวมเล่มเป็นอย่างมาก เพราะโดจินชิเล่มนี้ไม่ใช่ผลงานอย่างเป็นทางการของฟูจิโกะ ฟูจิโอะ อีกทั้งยังสร้างความเข้าใจผิดแก่ผู้อ่านเกี่ยวกับตอนจบมี่แทเจริงของโดราเอมอน ทไให้ทางสำนักพิมพ์ต้องออกมาแจ้งควาสพำเนินคดีกับผู้เขีบนว่าเป็นการละเมิดลิขใิทธิ์ และขอให้หยุดจำหน่ายโดจินชิเล่มนี้ในทีนที รวมถึงำารเผยแพร่บนอินเทอร์้น็ตด้วย ซึ่งยาซูเอะ ทาจิมะ ก็ได้ออกมากล่าวคำขอโทษและแก้ต่างว่าเธอเพียงแค่เขียนโดจินชิเล่มนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นที่ระลึกในการสร้างดนิเมะฉบัยจอเงิน (ไดโนเสาร์ของโนบิตะ 2006) เท่านี้น จึงทำใก้คดีความทั้งำมดยุติลง\n== ตอนจบของฉดราเอมอา ==\nการ์ตูนเรื่องโดราเอมอน เป็นการ์ตูนที่ไม่สมบูรณ์ (กล่าวคือไม่มีตอนจบ) เนื่องจากผู้เขียนได้เสียชีวิตไปก่อน แต่ก็มีหลายกระแสที่ออกมาบอกว่าผู้แต่งได้วางโครงเรื่องไว้ในตอสจบ ซึ่งต่างกันหลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ที่นักอ่านชาวไืยรู้กันดีคทอ โดราเอมอนและตัวละครเสริมอื่นๆ นั้นไม่มีจริง มีเพียงแค่ฑนบิ โนบิตะ เพียงคนเดียว ซึ่งโนบิตะในตอนจบนั้นที่จริงแล้วเป็นเด็กที่ไม่สบายใกล้เสียชีวิต อยู่ในโรงพยาบาล และเพื่อน ๆ ยืนอยู่ข้างเตียลของโนบิตะที่ใหล้ตายอยู่ในโรงพยาบาล ซึ่งตอนจบนี้มีความสะเทือนใจอย่างมาก ผิดไปจากการ์ตูนหลาย ๆ เรื่องที่ผู้เขคยนเคยแต่งมา ซึ่งส่วนใหญ่จะจบลงด้วยดีมาตลอด\nหนึ่งในรูปแบบของตอนจบคือ อยู่มาวันหนึ่ง โดราเอมอนก็เกิดแบตเตอรี่หมด แล้วหยุดทำงานเสียเฉย ๆ โนบิตะจึงปรึกษากับโดเรมี น้องสาวของโดราเอมอน โดเรมีบแกโนบิตะว่า ถ่าเปลี่ยนแบตเตอรี่ของโดราเอมดน ความจำทั้งหลายจะหายหมด เนื่องจสกแบตเตอรี่สำรองไฟที่เก็บความจำของหุ่นยนต์รูปแมวนั้นเก็บไว้ที่หู และอย่างที่ทราบกันว่าโดราเอมอนไม่มีหู ดังนั้นถ้าเปลี่ยนแบตเตอรี่ เขาจะต้องสูญเสียความจำ ต้องนำไปซ่อมที่โลกอนาคต แต่การใช้ไทม์แมชชีน นั้นผิดกฎหมาย เพราะกฎหมายใหม่ชองโลกอนาคต ถ้าส่งโดราเอมอนกลับ โดราเอมอนจะมาหาโนบิตะอีกไม่ได้ ทำให้โนบิตะตัดสินใจไม่เปลี่ยนแบตเตอรี่ กล้วโนบิระจึงตัดสินใจตั้งใจเรียนจนเป็น นักวิทยาศามตร์ระอับโลก โดยเอาเรื่องโดราเอมอนที่แบตหมดมาเป็นแรงผลักพันขยันทุนเทหารักษาให้โดราเอมอนกลับมา โดยเอาตัวโดาาเอมอนไปซ่อนไม่ให้มีใครรู้เรื่องนอกจากตนเพีสงคนเดียวเท่านั้น แล้วก็แต่ฝงาตกับชิซูกะและสามารถซ่อมโดราะอมอนกับสน้างหูกับทำให้ร่างของโดราเอมอนเป็นตัวสีเหลืองก่อนถูกซื้อ กับเปลี่ยนแบตเตอรี่ให้โดราเอมอนไอ้สำเร็จ โดยที่ความทรงจำไม่หายไป (โดยก่อนที่โนบิตะจะเปลี่ยนแบตเตอรี่ให้ธดราเอมอนได้เรียกชิซูกะมาดูโดราเอมอน) และเขาก็มีลูกชายชื่อโนบิซูเกะ และอยูรด้วยกันอย่างทีสุข\nสำหรับความเป็นไปได่ของตอนจบรูปแบบนี้ได้ปรากฏขึ้นใน \"โดเรมีกับการผจญภับของโนบิซูเกะ\" ซึ่งเรื่องราวกล่าวถึลช่วงโดราเอมอนที่ได้รับการซ่อมแซมยากโนบิตถ ผ่านทางการทักทายของซิซูกะและโดรามี หลังจากทร่ทั้งสองไม่ได้เจอหน้ากันมาร่วม 10 ปี โดยบทสนทนานั้นได้มีการพูดถึงโดราเอมอนที่ซ่อมแซมฮดยโนบิตะและกลับไปยังยุคของเซวาชิ และในฉากที่โนบิตะที่เป็นนักวิทยทศาสตร์ได้ประดิษ.์เครื่องติดตามตัวชงในตัวมินิโดราสีแดงซึ่งเป็นผลจากการซ่อมแซมโดราเอมแน ทำให้โนบิตะเปลี่ยนแปลงชะตาชีวิตตนเองในที่สุด\nอย่างไรก็ดี โดราเอมอนตอนจบทุกแบบก็ยังไาืมีหลักฐานที่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนเพียงพอว่าเป็นตอนจบทึ่แท้จริง และอันที่จริงแล้วโดราเอมอนนั้นเคยจบไปแล้วครั้งหนึ่งในตอนสึดท้ายจองรวมเล่มฉบับที่ 6 ชื่อตอนว่า \"ลาก่อนโดราเอมอน\" แต่เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการจาดทั้งแฟน ๆ และทางสำนักพิมพ์ ในที่สุด ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ จึงได้กลับมาเขียนโดราเอมอนต่ออีกคีั้ง\nแต่จากหลักฐานในตอนต่างๆ ขิงโดราเอมอนที่มีจุดเชื่อมโยงกันคือ เป็นเนื้อเรื่องที่โดราเอมอนอยู่กับฌนบิตะในวัยประถมเม่านั้น เพราะโาบิตะในวัยมัธยม วัยแต่งงานมีลูกจนวัยชรา เคยโผล่มาในบางตอนนั้น ไม่มีโดราเอมอนอยู่ในเหตุการณ์ในวัยต่างๆของโนบิตะเลย สรุปคือโดเรเอมอนมาอยู่กับโนบิตะถึงตอนจบสัยประถมแล้วกลับอนาคตไป\n==หมายเหตุ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งย้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์ของโดราเอมอนอย่างเป็นทางการ \nเว็วทางการโดราเอมอนฉบับทีวีของทีวีอาซาฮิ \nโดราเอมอนในดวงใจ\nคอลัมน์รู้ไปโม้ด โดราเอมอน โดยน้าชาติ ประชาชื่น น.ส.พ.ข่าวสด\nไทยโดรา ข้อมูลโดราเอมอน รายชื่อของวิเศษ รวมชื่อตอนฉบับการ์คูน ่วมลื่อตอนแอนิเมชัน\nโดราเอมอน - นิตยสารผู้จัดการ\nhttp://modernine.mcot.net/cartoon/content_view.php?id=26&t=3 \nYoutube - Love Doraemon\n \nการ์ตูนญี่ปุ่น\nการ์ตูนญี่ปุ่นสำหรับเด็ก\nตัวละครที่เก็นปัญญาประดิษฐ์\nตัวละครกลุ่มห้า",
"role": "user"
},
{
"content": "โดราเอมอน (ドラえもん) เป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นชุด เขียนและวาดโดยฟูจิโกะ ฟูจิโอะ ซึ่งเป็นนามปากกาของ ฮิโรชิ ฟูจิโมโตะ กับ โมโต อาบิโกะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟูจิโกะ ฟูจิโอะได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือโนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วยของวิเศษจากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2512 โดยสำนักพิมพ์โชงากูกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทซูกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจากนิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็น 1 ในวีรบุรุษของทวีปเอเชีย จากประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัทบันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิตหุ่นยนต์โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า \"My Doraemon\" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552\nในประเทศไทย โดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนมีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอนิเมะ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี โดยมีโรส เอ็นเตอร์เทนเมนท์ คอร์ปอเรชั่นเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ \n== โครงเรื่อง ==\nเนื้อเรื่องส่วนมากจะเกี่ยวกับปัญหาของ โนบิตะ เด็กชายชั้น ป.4 ที่มักถูกเพื่อน ๆ แกล้ง (แต่บ่อยครั้งก็เป็นฝ่ายหาเรื่องใส่ตัวเอง) ไม่ค่อยชอบทำการบ้าน ไม่ชอบอ่านหนังสือและไปโรงเรียนสายบ่อย ๆ โดยมีเพื่อนที่เป็นตัวละครสำคัญในเรื่องคือ โดราเอมอน (โนบิตะทำอะไรไม่ค่อยเป็น ต้องพึ่งโดราเอมอนแทบทุกอย่าง) หุ่นยนต์แมวจากอนาคตที่คอยดูแลช่วยเหลือโนบิตะตลอดเวลาด้วยของวิเศษจากอนาคต ไจแอนท์ เด็กที่ดูเป็นอันธพาลแต่ที่จริงเป็นคนอารมณ์อ่อนไหวและรักการร้องเพลง ซูเนโอะ ผู้มีฐานะทางบ้านดีที่สุดในกลุ่ม มีนิสัยชอบคุยโม้ เป็นคู่หูกับไจแอนท์ที่คอยกลั่นแกล้งโนบิตะอยู่ตลอด เดคิสุงิ เป็นเด็กเรียนเก่ง นิสัยดี รักความถูกต้อง มีน้ำใจ แต่ไม่ค่อยมีบทบาทมากนัก ชิซูกะ ผู้หญิงเพียงคนเดียวในกลุ่มเป็นเด็กเรียนดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น เป็นเด็กสาวที่โนบิตะหลงรัก ในอนาคตก็ได้มาเป็นเจ้าสาวของโนบิตะด้วย ไจโกะ น้องสาวของไจแอนท์ ไม่ค่อยมีบทบาทมากนัก ตัวละครสำคัญนอกจากนี้ก็มี โดเรมี หุ่นยนต์แมวที่มีกระเป๋า 4 มิติและของวิเศษ (แต่จะดูน่ารักในแบบผู้หญิงมากกว่า) เช่นเดียวกับโดราเอมอนผู้เป็นพี่ชาย คุณพ่อและคุณแม่ของโนบิตะ ซึ่งคุณแม่ดูจะมีบทบาทในเรื่องมากกว่าคุณพ่อ\nแม้ว่าโนบิตะ ไจแอนท์ ซูเนโอะและคนอื่นจะดูเหมือนมีปัญหากันบ่อยแต่ลึกแล้วก็รักและช่วยเหลือกันดี จะเห็นได้จากตอนพิเศษต่างๆ ที่เด็กกลุ่มนี้ต้องออกไปผจญภัย (บางทีก็นอกโลก ใต้ทะเลหรือยุคไดโนเสาร์)\n== ประวัติและที่มาของโดราเอมอน ==\nการ์ตูนโดราเอมอน ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2512 หลังฟูจิโกะ ฟูจิโอะ ได้ลงโฆษณาการ์ตูนเรื่องใหม่ของเขาไว้ว่าจะมีตัวเอกที่ออกมาจากลิ้นชัก ในนิตยสารการ์ตูนฉบับต้อนรับปีใหม่ที่จะมาแทนการ์ตูนเจ้าชายจอมเปิ่น แต่ในความจริงแล้วทั้ง 2 ยังไม่มีไอเดียเกี่ยวกับการ์ตูนเรื่องนี้แม้แต่น้อยเลย เมื่อใกล้ถึงเวลาส่งต้นฉบับก็ยิ่งเพิ่มแรงกดดันให้กับเขาเป็นอย่างมาก\nฮิโรชิ ฟูจิโมโตะ นักวาดการ์ตูนได้เผอิญเห็นแมวจรจัดที่มักแอบเข้ามาเล่นที่บ้านของตนเอง เขามักจะเล่นกับแมวตัวนี้เป็นประจำเมื่อตอนที่เขาคิดอะไรไม่ออก จนเวลาล่วงเลยถึงดึก ก็ยังไม่มีไอเดียเกี่ยวกับการ์ตูนเรื่องใหม่จึงจะล้มเลิกไป แต่เขาเกิดคิดเลยเถิดไปว่าโลกนี้น่าจะมีไทม์แมชชีนเพื่อย้อนเวลากลับไปแก้ไขอดีต หลังจากนั้นฮิโรชิได้เผลอหลับไปด้วยความอ่อนล้า เมื่อเขาสะดุ้งตื่นขึ้นมา เขาตกใจว่าตนเองเผลอหลับไปจึงรีบวิ่งลงจากบันไดบ้านไปสะดุดกับตุ๊กตาล้มลุกญี่ปุ่นของลูกสาวที่ตกอยู่บนพื้น เหตุนี้เองทำให้ฮิโรชิเกิดไอเดียขึ้นโดยนำหน้าแมวจรจัดมาผสมกับตุ๊กตาญี่ปุ่น สร้างออกมาเป็นตัวละครหุ่นยนต์แมวจากอนาคตคอยช่วยเหลือเด็กชายที่แสนจะไม่ได้เรื่องและตั้งชื่อว่า โดราเอมอน เป็นคำผสมระหว่าง \"โดราเนโกะ \" กับ \"เอมอน \" ในภาษาญี่ปุ่น เขียนโดยใช้อักษรสองระบบได้แก่คาตากานะ \"ドラ\" และ ฮิรางานะ \"えもん\" เพราะว่าเมื่อครั้งโดราเอมอนถูกสร้างขึ้นในโรงงาน เขาลืมวิธีการเขียนอักษรคาตากานะของคำว่า \"エモン\" ทำให้โดราเอมอนเขียนเป็นตัวอักษรฮิรางานะแทน โดยเริ่มตีพิมพ์ในนิตยสารโยะอิโกะ นิตยสารโยชิเอ็งและนิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 1-4 (เดือนมกราคม พ.ศ. 2513)\nการ์ตูนโดราเอมอน ลงตีพิมพ์พร้อมกันใน นิตยสาร 6 ฉบับได้แก่ นิตยสารโยะอิโกะ, นิตยสารโยชิเอ็ง, นิตยสารโชงากูอิชิเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 1), นิตยสารโชงะกุนิเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 2), นิตยสารโชงะกุซังเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 3) และนิตยสารโชงะกุโยเน็นเซ (นิตยสารเพื่อการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4) โดยมีทั้งหมด 1,344 ตอน โดยมีการเขียนให้เหมาะกับผู้อ่านแต่ละระดับอายุ ซึ่งในเวลาต่อมาการ์ตูนเรื่องนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก\nและในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับ รางวัลเทซูกะ โอซามุ (ครั้งที่ 1) ให้เป็นการ์ตูนดีเด่น\n== รายชื่อตัวละคร ==\nในการ์ตูนเรื่องโดราเอมอนเป็นเรื่องราวของกลุ่มเพื่อนในวัยเด็ก 4 คนและมีหุ่นยนต์แมวจากอนาคตเป็นตัวละครหลัก ดังนี้:\nโดราเอมอน.\nโดราเอมอนหรือโดเรมอน เป็นหุ่นยนต์แมวจากโลกอนาคตกลับมาช่วยเหลือโนบิตะ โดยเซวาชิผู้เป็นเหลนของโนบิตะเป็นผู้ส่งมาดูแลโนบิตะ โดเรมอนกลัวหนูมากเพราะเคยโดนหนูกัดหูจนต้องตัดหูทิ้ง ชอบกินโดรายากิเนื่องจากตอนที่อยู่โลกอนาคตยังไม่มาหาโนบิตะ โดเรมอนได้รับโดรายากิกับแมวผู้หญิงตัวหนึ่งซึ่งน่ารักมาก โดเรมอนจึงชอบเป็นพิเศษและเขาจะมีอารมณ์โกรธทันทีเมื่อมีใครเรียกเขาว่า \"แรคคูน\" หรือ \"ทานูกิ\"\nโนบิตะ\nเด็กชายไม่เอาไหน ทั้งเรื่องการเรียนและกีฬา มีนิสัยขี้เกียจและชอบนอนกลางวัน สอบก็ได้ 0 คะแนนทุกครั้งแต่ก็มีความสามารถด้านยิงปืนและพันด้าย เป็นคนมีน้ำใจและมีนิสัยดี ชอบชิซูกะมานานและมักถูกไจแอนท์กับซูเนโอะรังแกเป็นประจำแต่ก็เปลี่ยนเป็นคนละคนเมื่อโดเรมอนไม่ได้อยู่กับเขาแล้ว เขาจะมีอารมณ์ไม่พอใจเมื่อเดคิสุงิอยู่ใกล้กับชิซูกะเพราะคิดว่าชิซูกะแอบชอบเดคิสุงิแต่ถึงอย่างไรก็ตามในอนาคตก็ได้แต่งงานกับโนบิตะอยู่ดีแต่ถ้าเรื่องของวิเศษโนบิตะจะปิ้งไอเดียอะไรพิเรนพิเรนหรืออะไรที่มีประโยชน์นั้นก็แล้วแต่ที่โนบิตะคิดได้\nชิซูกะ\nเด็กสาวน้ำใจดี เธอเป็นที่รักของทุกคน ชอบการอาบน้ำเป็นอย่างมากและชอบเล่นไวโอลิน (เล่นได้แย่มาก) แต่มีความสามารถด้านเปียโน เธอเป็นเด็กสาวที่โนบิตะแอบชอบและชิซูกะยังชอบกินสปาเก็ตตี้และมันเผาเป็นพิเศษ ในอนาคตเธอก็ได้แต่งงานกับโนบิตะ\nซึเนโอะ\nเด็กขี้อวดประจำโรงเรียน ฐานะดีและเป็นเพื่อนซี้กับไจแอนท์ ผู้มีฐานะทางบ้านดีที่สุดในกลุ่ม มีนิสัยชอบคุยโม้ ชอบพูดยกยอ ขี้ประจบและชอบเอาของมาอวดให้เพื่อนๆ อิจฉาแต่ก็มักโดนไจแอนท์แย่งไปตลอดแต่ก็พร้อมที่จะเจออันตรายกับพวกเพื่อนๆ ได้ในตอนที่เป็นภาพยนตร์ มักจะวางแผนกับไจแอนท์เพื่อแกล้งโนบิตะ\nไจแอนท์\nเด็กอ้วนหัวโจกประจำกลุ่ม ชอบแกล้งโนบิตะเป็นประจำแต่ก็มีหลายครั้งที่แสดงความผูกพันกับโนบิตะ (อยากขอร้องให้ช่วย) ฝันอยากจะเป็นนักร้องแต่เสียงไม่เอาไหนแต่บางครั้งเสียงไม่เอาไหนของเขาก็ช่วยทำให้สถานการณ์ที่คับขันให้คลี่คลายได้เพราะคงไม่มีใครคนไหนที่สามารถทนเสียงของเขาได้และเขาเป็นคนที่รักเพื่อนพ้องมากและยังชอบแย่งหนังสือการ์ตูนกับของที่ซึเนโอะเอามาอวดเป็นประจำแถมยังทำอาหารได้ห่วยอีกตั่งหาก\nโดรามี\nหุ่นยนต์แมวจากอนาคต เธอเป็นน้องสาวของโดเรมอน สวยน่ารักแต่ประสิทธิภาพสูงกว่าโดเรมอนทุกด้านเช่น ความรู้ วิธีใช้ของวิเศษ อาศัยอยู่ที่โลกศตวรรษที่ 22 ของกินที่ชอบที่สุดคือขนมปังเมล่อน ไม่ค่อยปรากฏตัวให้พบเห็น เธอจะปรากฏตัวเมื่อโดเรมอนเรียกขอความช่วยเหลือหรือสถานการณ์ที่โดเรมอนไม่สามารถควบคุมได้ บางครั้งก็มาช่วยเหลือโนบิตะตอนที่โดเรมอนไม่อยู่\nไจโกะ\nไจโกะเป็นน้องสาวของไจแอนท์ ไจโกะเก่งเรื่องวาดรูปมากแถมเธอยังทำอาหารเก่งกว่าไจแอนท์อีกด้วย และเธอยังเกือบจะได้เป็นเจ้าสาวของโนบิตะแต่โดเรม่อนก็แก้ไขให้โนบิตะได้แต่งงานกับชิซูกะในที่สุด\n== สื่อโดราเอมอน ==\n=== ฉบับมังงะ ===\n=== ฉบับการ์ตูนทีวี (อนิเมะ) ===\n\nโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวีเป็นภาพยนตร์การ์ตูนชุดสัญชาติญี่ปุ่น (อนิเมะ) โดยสร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์ ในประเทศญี่ปุ่นเริ่มในปี พ.ศ. 2516 โดยนิปปอนเทเลวิชั่น และต่อมาปี พ.ศ. 2522 สถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮิ นำมาออกอากาศต่อ สำหรับในประเทศไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2525 ทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. จากนั้นก็ได้มีการนำมาออกอากาศเป็นระยะ ๆ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน\n=== ฉบับภาพยนตร์ และโดราเอมอนตอนพิเศษ ===\nโดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ เป็นอนิเมะ ตอนพิเศษ ซึ่งมีการจัดทำขึ้นเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาว และหนังสือการ์ตูน โดยเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2523 เป็นปีแรกที่มีการสร้างฉบับภาพยนตร์ชื่อตอนว่า \"ตะลุยแดนไดโนเสาร์\" และมีการสร้างตอนพิเศษเรื่อยมาทุกปี ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2548 เป็นปีครบรอบ 25 ปีของการฉายโดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ นอกจากนั้นยังมีการสร้างภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องนี้ออกมาเป็นตอนพิเศษอีกด้วย โดยมีวีซีดีออกมาครบแล้ว 30 แผ่น 30 ตอน และมีการนำตอนเก่ามาสร้างใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา และยังมีตอนที่ไม่ได้มาจากหนังสือการ์ตูน เรียงตามการออกฉายในโรงภาพยนตร์ที่ประเทศญี่ปุ่น\nนอกจากโดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ที่มีการฉายทุกปีแล้ว ยังมีภาพยนตร์การ์ตูนตอนพิเศษดังนี้ รวมโดราเอมอน ตอนพิเศษ ของ โรส เอ็นเตอร์เทนเมนท์ คอร์ปอเรชั่น ทั้ง 8 ชุด\nตอน \"คุณยายของผม\"\nตอน \"คืนก่อนแต่งงานของโนบิตะ\"\nตอน \"โจรลึกลับโดราแปงกับสารท้าประลอง\"\nตอน \"โดเรมี่ อาราระกับเหล่าเยาวชนในอดีต\"\nตอน \"ปีศาจเจ้าปัญหา\"\nตอน \"ย้อนอดีตหาโมโมทาโร่\"\nตอน \"เหรียญทองในความฝันของโนบิตะ\"\nตอน \"7 โดราเอมอนกับแมลงหุ่นยนต์\"\nตอน \"ความลับของโดเรมี่\"\nตอน \"ฉลองครบรอบ 25 ปีโดราเอมอน\"\nตอน \"กำเนิดโดราเอมอน\"\nตอน \"ผจญภัยใต้ทะเลลึก\"\nตอน \"สงครามตะลุยอวกาศ\"\nตอน \"เรื่องประหลาดกำเนิดโดราเอมอน\"\nตอน \"ช้างน้อยฮานะจัง\"\nตอน \"ช้างกับคุณลุง\"\nตอน \"หลุมทิ้งขยะต่างมิติ\"\nตอน \"ลูกตุ้มแห่งโชคลาภ\"\nตอน \"ผีดุที่วัดหลังเขา\"\nตอน \"ไขปริศนาตำนานอุราชิม่าทาโร่\"\nตอน \"วันที่ผมเกิด\"\nตอน \"ดาวเคราะห์กลับตาลปัตร\"\nตอน \"ในอดีตแม่ก็คือโนบิตะ\"\nตอน \"สวนสัตว์ในจินตนาการ ซาฟารีปาร์ค\"\nตอน \"วิญญาณที่โนบิตะรัก\"\nตอน \"เป็นราชาในโลกแห่งการพันด้าย\"\nตอน \"ความรัก1วันอันแสนสั้นของโดราเอมอน\"\nตอน \"แต่ว่ามันมีวิญญาณโผล่มานะ\"\nตอน \"โนบิตะในตัวโนบิตะ\"\nตอน \"ประเทศใต้ดินของโบบิตะ\"\nตอน \"งานแข่งกีฬาสีของโนบิตะ\"\nตอน \"เรื่องราวความฝันของโนบิตะ\"\nตอน \"ของขวัญที่ส่งไปหาชิซูกะคือโนบิตะ\"\nตอน \"การเดินทางไกลแบบเสี่ยงชีวิตของโนบิตะ \"\nตอน \"ผจญภัยยุคหิน\"\nตอน \"จงยืนด้วยขาของตัวเองนะ โนบิตะเอ๋ย\"\nตอน \"แผนส่งหมาป่ากลับบ้าน\"\nตอน \"ท่านเจ้าเมืองท่องอนาคต\"\nตอน \"สมมุติการจากไปของโนบิตะ\"\nตอน \"ปราสาทมิวฮาวเซ่นยินดีต้อนรับ\"\nตอน \"อุปกรณ์คนติดเกาะ\"\nตอน \"โนบิตะยอดมือปืน\"\nตอน \"เครื่องตกของจำลองบ่อปลา\"\nตอน \"สู้เค้า โนบิตะแมน\"\nตอน \"สายการบินโนบิตะ\"\nตอน \"แคปซูลกาลเวลา\"\nตอน \"โนบิตะติดเกาะ\"\nตอน \"บอลลูนรอบโลก\"\nตอน \"แฮงไกรเดอร์สำหรับเด็ก\"\nตอน \"อพาร์ทเมนท์รากไม้\"\nตอน \"โนบิตะ ยอดนักดาบ\"\nตอน \"เครื่องสร้างประเทศตามใจชอบ\"\nตอน \"สงครามอวกาศวันทานาบาตะ\"\nตอน \"ฟ้าถล่มในวันทานาบาตะ\"\nตอน \"และแล้วพวกเราก็ออกเดินทาง\"\nตอน \"ยินดีต้อนรับสู่โรงแรมผีสิง\"\nตอน \"ชายลึกลับจากโลกอนาคต\"\nตอน \"ท่านขุนแห่งศตวรรษที่21\"\nตอน \"มานั่งเครื่องบินแมลงกันเถอะ\"\nตอน \"งานวันเกิดแบบรากหญ้าสุดหรูของชืเนโอะ\"\nตอน \"สมบัติลับบนเกราะหัวกะโหลก\"\nตอน \"สีแรงโน้มถ่วง\"\nตอน \"ขอต้อนรับสู่ใจกลางโลก\"\nตอน \"สำรวจเมืองใต้ดิน\"\nตอน \"หน่วยกู้ภัยค้นหาโนบิตะ\"\nตอน \"มีโนบิตะแค่ตัวเดียวในโลก\"\nตอน \"โกลาหลสุดๆกับลูกของโนบิตะ\"\nฯลฯ\n=== เพลงประกอบ ===\nฉบับปี พ.ศ. 2516\n1. โดราเอมอน (ドラえもん) ขับร้องโดย ฮารุมิ ไนโต และ คณะ NLT\nฉบับปี พ.ศ. 2522\n1. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย คูมิโกะ โอซูงิ (2 เมษายน 2522 - 2 ตุลาคม 2535)\n2. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย ซาโตโกะ ยามาโนะ (9 ตุลาคม 2535 - 20 กันยายน 2545)\n3. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย โตเกียวพูริน (4 ตุลาคม 2545 - 11 เมษายน 2546)\n4. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย มิซาโตะ วาตานาเบะ (18 เมษายน 2546 - 23 เมษายน 2547)\n5. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย อาจิ (AJI) (30 เมษายน 2547 - 18 มีนาคม 2548)\nฉบับปี พ.ศ. 2548\n1. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) แบบดนตรีบรรเลง บรรเลงโดย ทเวลฟ์ เกิลส์ แบนด์ (15 เมษายน - 21 ตุลาคม 2548)\n2. ฮากูชิจาโอ (はぐShichao) ขับร้องโดย อากิ โยโกะ (28 ตุลาคม 2548 - 20 เมษายน 2550)\n3. ยูเมะ โอะ คานาเอเตะ โดราเอมอน (夢をかなえてドラえもん) ขับร้องโดย MAO (11 พฤษภาคม 2550 - 29 มีนาคม 2562, 12 เมษายน - 6 กันยายน 2562)\n4. โดราเอมอน โนะ อูตะ (ドラえもんのうた) ขับร้องโดย โดราเอมอน (มิสึตะ วาซาบิ), โนบิตะ (เมงูมิ โอฮาระ), ชิซูกะ (ยูมิ คากาซุ), ซึเนโอะ (โทโมกาซุ เซกิ), ไจแอนท์ (ซูบารุ คิมูระ) (5 เมษายน 2562)\n5. โดราเอมอน (ドラえもん) ขับร้องโดย โฮชิโนะ เก็น (5 ตุลาคม 2562 - ปัจจุบัน)\n== โดราเอมอนกับประเทศไทย ==\n\n\nการ์ตูนโดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนภาษาไทย สร้างปรากฏการณ์เป็นที่กล่าวถึงในวงการการ์ตูนเป็นอย่างมาก เริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงกลางปี พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของสำนักพิมพ์มิตรไมตรี โดยตั้งชื่อการ์ตูนเรื่องนี้ว่า \"โดราเอมอน แมวจอมยุ่ง\" แปลเป็นภาษาไทยโดย อนุสรณ์ สถิรวัฒน์ ต่อมา สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ก็ได้มีการตีพิมพ์การ์ตูนเรื่องนี้เช่นกันแต่เลือกใช้ชื่อว่า \"โดเรมอน\" เพื่อไม่ให้ซ้ำกับทางสำนักพิมพ์แรก ในสมัยนั้นยังเป็นช่วงของหนังสือการ์ตูนที่ยังไม่มีการซื้อลิขสิทธิ์อย่างถูกต้องจากทางญี่ปุ่น ทั้ง 2 สำนักพิมพ์จึงไม่ได้พิมพ์ตอนตามลำดับของต้นฉบับทำให้มีการลงตอนซ้ำกัน โดราเอมอนได้รับความนิยมอย่างมาก ทั้ง 2 สำนักพิมพ์จึงแข่งกันทางด้านความถี่ของการออกจัดจำหน่ายจากเดือนละเล่มในช่วงต้นก็เปลี่ยนเป็นเดือนละ 2 เล่มจนถึงอาทิตย์ละเล่ม สุดท้ายทางสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ก็พิมพ์ถึงเดือนละ 3 เล่ม พิมพ์ไม่น้อยกว่า 70,000 เล่มต่อครั้ง ด้วยความถี่ในการพิมพ์และการไม่มีการจัดลำดับถูกต้องตามต้นฉบับ ทำให้ในเวลาเพียง 7-8 เดือนการ์ตูนเรื่องนี้ก็ตีพิมพ์ครบทุกตอนตามต้นฉบับของ ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ ที่ใช้เวลาเขียนติดต่อกันร่วม 10 ปี\nหลังจากนั้น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้เห็นความนิยมของโดราเอมอนจึงได้มีการตีพิมพ์การ์ตูนเรื่องนี้ลงเป็นตอนๆ ในแต่ละวันโดยเริ่มวันแรกวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 ถือได้ว่าเป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องแรกที่มีการตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ เนื่องจากต้องการไม่ให้ชื่อซ้ำกับทาง 2 สำนักพิมพ์แรก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐจึงได้ตั้งชื่อใหม่อีกเป็น \"โดรามอน เจ้าแมวจอมยุ่ง\" ด้วยเหตุนี้เองทำให้คนไทยเรียกชื่อ โดราเอมอน ต่างกันหลายชื่อ\nสำนักพิมพ์สุดท้ายที่ตีพิมพ์โดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนในยุคนั้นคือ สยามสปอร์ตพับลิชชิง หรือ สยามอินเตอร์คอมิกส์ ในปัจจุบันและใช้ชื่อตามหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ แต่มีการแถมรูปลอกมาพร้อมในเล่ม อีกทั้งยังมีการประชาสัมพันธ์ที่ใหญ่โตที่ แดนเนรมิต ใช้ชื่องานว่า \"โลกของโดรามอน\" จัดให้มีกิจกรรมมากมายเช่น การประกวดร้องเพลงโดราเอมอนภาษาไทย ซึ่งร่วมมือกับค่ายเพลง อโซน่า ถึง 6 เพลง อีกทั้งยังมีนำเข้าสินค้าตัวละครโดราเอมอนจาก ประเทศฮ่องกง มาจำหน่ายในงานอีกด้วย จนในปัจจุบันการ์ตูนเรื่องนี้ได้รับการซื้อลิขสิทธิ์ฉบับหนังสือการ์ตูนอย่างถูกต้อง โดยสำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ ซึ่งมีการตีพิมพ์ 45 เล่ม และมีการรวมเล่มพิเศษอีกหลายฉบับเช่น โดราเอมอนชุดพิเศษ โดราเอมอนพลัส และโดราเอมอนบิ๊กบุคส์ อีกทั้งยังมีตีพิมพ์ซ้ำแล้วหลายรอบ\nในปี พ.ศ. 2525 ทาง ไชโยภาพยนตร์ ได้มีการฉาย โดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ ขึ้นถึง 2 ตอนด้วยกันคือตอน ไดโนเสาร์ของโนบิตะและโนบิตะนักบุกเบิกอวกาศ ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ทาง ช่อง 9 ก็ได้มีการออกอากาศ โดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวี ทางโทรทัศน์ เริ่มเมื่อวันที่ 5 กันยายน ในปีเดียวกัน (พ.ศ. 2525) ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างดีเช่นกัน ทำให้ช่อง 9 ได้รับการยอมรับในเรื่องของการออกอากาศภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ และทีมนักพากย์การตูนอีกด้วย (นิตยสาร a day, 2545: 70) สำหรับในปัจจุบัน โดราเอมอนฉบับภาพยนตร์มีการจัดฉายในโรงภาพยนตร์เป็นประจำทุกปีอีกครั้ง โดยบริษัทดับบลิวพีเอ็มฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล เริ่มในปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา ส่วนโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวีนั้นก็มีการฉายซ้ำเป็นระยะและฉายตอนใหม่อยู่เรื่อยๆ ทาง สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี\nนอกจากจะเป็นที่รู้จักกันดีถึงประเทศนี้แล้ว จนถึงกับมีการทำเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นไทย โดยฝีมือคนไทย ทางบริษัทไรท์บียอนด์ จำกัด ทำการ์ตูนไทยโดราเอมอน ชุด \"นิทานของโนบิตะ\" โดราเอมอนชอบโดรายากิ ส่วนโนบิตะชอบเรียน ชอบอ่านหนังสือการ์ตูนขายหัวเราะ มหาสนุก และนิทานสนุกสนาน ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดี\n=== ทีมนักพากย์ไทย ===\nสำหรับประเทศไทยทีมนักพากย์เสียงภาษาไทยก็เป็นชุดเดิมตั้งแต่การออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. โดยเริ่มพากย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีเปลี่ยนผู้พากย์บางคนบ้าง โดยมีทีมนักพากย์ตัวละครหลักดังนี้\nฉันทนา ธาราจันทร์ ให้เสียงเป็น โดราเอมอน และแม่ของซูเนโอะ\nศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ให้เสียงเป็น โนบิตะ และแม่ของชิซูกะ\nกัลยาณี กรรสมบัติ >> ต่อมาเปลี่ยนเป็น ศรีอาภา เรือนนาค (จนถึงปัจจุบัน) ให้เสียงเป็น ชิซูกะ และ เซวาชิ\nนิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์ (เฉพาะเดอะมูฟวี่) ธนกฤต เจนคลองธรรม ให้เสียงเป็น ไจแอนท์\nอรุณี นันทิวาส ให้เสียงเป็น ซูเนโอะ โดเรมี และแม่ของไจแอนท์\nเรวัติ ศิริสรรพ >> ต่อมาเปลี่ยนเป็น หฤษฎ์ ภูมิดิษฐ์ >> ไกวัล วัฒนไกร >> ต่อมาเปลี่ยนเป็น สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล ให้เสียงเป็น พ่อของโนบิตะ (โนบิ โนบิสุเกะ) และครู\nสุลัคษณา เทพหัสดิน ณ อยุธยา ให้เสียงเป็น แม่ของโนบิตะ (โนบิ ทามาโกะ) และเดคิซุงิ\n== ของวิเศษ ==\nของวิเศษของโดราเอมอน เป็นอุปกรณ์หลากหลายรูปแบบที่โดราเอมอน หยิบนำมาใช้ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในกระเป๋า 4 มิติ ที่อยู่ที่หน้าท้องของโดราเอมอน ของวิเศษส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ในนิยายวิทยาศาสตร์ ซึ่งบางอย่างก็จะเป็นการดัดแปลงจากข้าวของเครื่องใช้ในบ้านของชาวญี่ปุ่นเอง และยังมีของวิเศษบางชิ้นก็อ้างถึงความเชื่อทางศาสนาของประเทศญี่ปุ่น ของวิเศษในเรื่องโดราเอมอนนั้นมีประมาณ 4,500 ชิ้น ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะปรากฏออกมาให้เห็นเพียงตอนเดียว แต่ก็ยังมีของวิเศษบางชิ้นที่โดราเอมอนหยิบออกจากกระเป๋านำมาใช้บ่อยครั้ง\nศาตราจารย์ยาสึยูกิ โยโกยามะ แห่งมหาวิทยาลัยโทยามะ ได้ทำการวิจัยผลงานเรื่องโดราเอมอน และเปิดเผยว่าของวิเศษที่โดราเอมอนหยิบออกมาจากกระเป๋า 4 มิติ มีทั้งหมด 1,963 ชิ้น ในขณะที่เว็บไซต์ Doraemon Fanclub บันทึกจำนวนของวิเศษเอาไว้ทั้งหมด 1,812 ชิ้น\n== ความนิยมและส่วนเกี่ยวข้อง ==\nโดราเอมอนเป็นการ์ตูนที่ได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศญี่ปุ่น และอีกหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย และแม้ว่าเรื่องนี้จะจบลงไปนานแล้ว แต่ก็ยังคงเป็นที่นิยมกันอยู่ โดยมีการพิมพ์ใหม่ หรือนำออกมาฉายซ้ำออกอากาศอยู่เรื่อยๆ\nเคยมีการวิเคราะห์ด้วยเหตุผลทางจิตวิทยาว่าสาเหตุที่ทำให้การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมมากนั้น เป็นเพราะตัวละครโนบิ โนบิตะ มีลักษณะเป็นคนอ่อนแอ ขี้แพ้ ทำอะไรก็มักไม่ค่อยสำเร็จ หากมีเรื่องที่ถนัดอยู่บ้างก็เป็นเรื่องที่สังคมไม่ให้ความสำคัญหรือการยกย่อง เช่น เล่นพันด้าย หรือ ยิงปืนแม่น และเนื่องจากลักษณะนี้เองทำให้ผู้อ่านส่วนใหญ่มีความรู้สึก \"มีส่วนร่วม\" และเปิดใจให้ตัวละครอย่างโนบิตะเข้ามาในจิตใจได้ เพราะในความเป็นจริงแล้ว คนส่วนใหญ่ล้วนรู้สึกว่าตนเองคือผู้แพ้ คือผู้ถูกเอารัดเอาเปรียบ ถูกรังแก ไร้ความสามารถ หน้าตาไม่ดี ไม่มีความสามารถ และย่อมอยากและหวังว่าสักวันหนึ่งจะมีผู้มาช่วยเหลือเรื่องต่างๆ ให้แก่เรา ซึ่งในเรื่องนี้ก็คือ โดราเอมอนนั่นเอง\nโดราเอมอนนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นแม่อย่างหนึ่งก็ได้ จากเรื่องจะเห็นได้ว่า โดราเอมอนมักออกมาช่วยเหลือ ปกป้อง แก้ปัญหาให้โนบิตะ ในยามคับขันหรือเดือดร้อนเสมอๆ เป็นบทบาทของ \"แม่ผู้ใจดี\" ซึ่งก็คือสิ่งที่มนุษย์เราต้องการอยู่ลึกๆ และในบางตอนโดราเอมอนก็แสดงบท \"แม่ใจร้าย\" คือการแก้เผ็ดหรือปล่อยให้โนบิตะผจญกับความยากลำบากที่มักเป็นผู้ก่อขึ้นเองจากความรู้สึกในด้านชั่วร้าย เช่น การอิจฉาริษยาผู้อื่น การเกลียดชังผู้อื่น การโกหก เพื่อเป็นการสั่งสอนโนบิตะให้รู้จักความผิดชอบชั่วดี\nนอกจากนี้ โดราเอมอนยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ดังนี้\n\nหนังสือการ์ตูนโดราเอมอนเป็นหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นที่ขายได้มากกว่า 75,000,000 เล่ม\nประเทศแรกที่ฉายโดราเอมอนต่อจากญี่ปุ่น คือฮ่องกง ใน พ.ศ. 2524\nหนังสือการ์ตูนโดราเอมอนมีหลายภาษาด้วยกัน ไม่ต่ำกว่า 9 ภาษาทั่วโลก ตีพิมพ์ในประเทศ เช่น ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศสเปน ประเทศจีน และประเทศเวียดนาม เป็นต้น\nประเทศเวียดนาม นิยมการ์ตูนโดราเอมอนเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีมูลนิธิเพื่อการศึกษาโดราเอมอน เริ่มตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2536 แบบไม่ถูกลิขสิทธิ์ และใน พ.ศ. 2541 จึงมีการตีพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ ก็ยังได้รับความนิยมเสมอมา\nพ.ศ. 2525 หนึ่งในผู้ให้กำเนิดโดราเอมอน ฮิโรชิ ฟุจิโมโตะ ได้เดินทางมาประชาสัมพันธ์โดราเอมอนฉบับภาพยนตร์ให้กับทางไชโยภาพยนตร์ และออกรายการ \"อาทิตย์ยิ้ม\" ของดำรง พุฒตาล ทางช่อง 9\nพ.ศ. 2531 โดราเอมอนได้รับเกียรตินำไปสร้างเป็นบอลลูนขนาดยักษ์ชื่อ \"โดราบารูคุง\" โดยปล่อยให้ลอยอยู่บนท้องฟ้ามาเป็นเวลานาน 12 ปี และจากนั้นในปี พ.ศ. 2543 ก็ได้มีการสร้างบอลลูนลูกใหม่ขึ้นมาในชื่อว่า \"โดราเน็ตสึคิคิว นิโกคิ\"\nพ.ศ. 2535 ในการประกวดแข่งขันรถพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการรณรงค์ประหยัดพลังงาน ได้มีการผลิตรถพลังแสงอาทิตย์ตามตัวละครโดราเอมอนขึ้นมา เรียกว่า \"โซราเอมอน\"\nพ.ศ. 2540 ในวันที่ 2 พฤษภาคม สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น รายงานข่าวการวางจำหน่ายแสตมป์โดราเอมอนที่ประเทศญี่ปุ่น มีสีเขียว ส้ม ชมพู และสีน้ำเงิน โดยมีการต่อแถวรอซื้อตั้งแต่เช้า\nในประเทศญี่ปุ่น มีรถไฟโดราเอมอนอยู่ด้วย โดยเป็นเส้นทางจากอาโอโมริไปฮาโกดาเตะ ตัวโบกี้มีการตกแต่งด้วยตัวละครจากโดราเอมอนทั้งภายนอกและภายใน และมีตู้รถไฟโดยสารพิเศษสำหรับแฟนคลับโดราเอมอน โดยมีภาพยนตร์การ์ตูน ของที่ระลึกจัดจำหน่าย รวมไปถึงพนักงานต้อนรับสวมหัวโดราเอมอนซึ่งคอยบริการอยู่บนรถไฟ\n== โดจินชิ ==\nโดราเอมอนถูกนักวาดการ์ตูนคนอื่นๆ ที่ไม่ใช่ผู้แต่งแท้จริงเขียนซ้ำ หรือที่เรียกว่า โดจินชิ ออกมามากมาย โดจินชิที่ถูกกล่าวขวัญถึงมากที่สุดก็คือ ผลงานของนักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ยาซูเอะ ทาจิมะ ซึ่งเป็นโดจินชิตอนจบของโดราเอมอน โดยนำเค้าโครงเรื่องมาจากตอนจบของโดราเอมอนหลายๆ แบบที่ถูกเล่าลือตามเมลลูกโซ่มานาน งานโดจินชิเล่มนี้ ได้ออกวางขายครั้งแรกในงานคอมมิกมาร์เก็ต ฤดูร้อน ปี พ.ศ. 2548 (ครั้งที่ 68) และครั้งต่อมาในฤดูหนาว (ครั้งที่ 69) ปีเดียวกัน ซึ่งมีผู้ให้ความสนใจเป็นจำนวนมากจนหนังสือถึงกับขาดตลาด และถูกนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตอย่างกว้างขวาง\nแต่เนื่องจากโดจินชิเล่มนี้ได้รับความนิยมอย่างสูงจนมียอดจำหน่ายมากถึง 15,550 เล่ม นับตั้งแต่ที่เริ่มเปิดตัว ซึ่งส่งผลกระทบต่อทางสำนักพิมพ์โชงากูกัง ผู้ถือลิขสิทธิ์โดราเอมอนฉบับรวมเล่มเป็นอย่างมาก เพราะโดจินชิเล่มนี้ไม่ใช่ผลงานอย่างเป็นทางการของฟูจิโกะ ฟูจิโอะ อีกทั้งยังสร้างความเข้าใจผิดแก่ผู้อ่านเกี่ยวกับตอนจบที่แท้จริงของโดราเอมอน ทำให้ทางสำนักพิมพ์ต้องออกมาแจ้งความดำเนินคดีกับผู้เขียนว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และขอให้หยุดจำหน่ายโดจินชิเล่มนี้ในทันที รวมถึงการเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตด้วย ซึ่งยาซูเอะ ทาจิมะ ก็ได้ออกมากล่าวคำขอโทษและแก้ต่างว่าเธอเพียงแค่เขียนโดจินชิเล่มนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นที่ระลึกในการสร้างอนิเมะฉบับจอเงิน (ไดโนเสาร์ของโนบิตะ 2006) เท่านั้น จึงทำให้คดีความทั้งหมดยุติลง\n== ตอนจบของโดราเอมอน ==\nการ์ตูนเรื่องโดราเอมอน เป็นการ์ตูนที่ไม่สมบูรณ์ (กล่าวคือไม่มีตอนจบ) เนื่องจากผู้เขียนได้เสียชีวิตไปก่อน แต่ก็มีหลายกระแสที่ออกมาบอกว่าผู้แต่งได้วางโครงเรื่องไว้ในตอนจบ ซึ่งต่างกันหลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ที่นักอ่านชาวไทยรู้กันดีคือ โดราเอมอนและตัวละครเสริมอื่นๆ นั้นไม่มีจริง มีเพียงแค่โนบิ โนบิตะ เพียงคนเดียว ซึ่งโนบิตะในตอนจบนั้นที่จริงแล้วเป็นเด็กที่ไม่สบายใกล้เสียชีวิต อยู่ในโรงพยาบาล และเพื่อน ๆ ยืนอยู่ข้างเตียงของโนบิตะที่ใกล้ตายอยู่ในโรงพยาบาล ซึ่งตอนจบนี้มีความสะเทือนใจอย่างมาก ผิดไปจากการ์ตูนหลาย ๆ เรื่องที่ผู้เขียนเคยแต่งมา ซึ่งส่วนใหญ่จะจบลงด้วยดีมาตลอด\nหนึ่งในรูปแบบของตอนจบคือ อยู่มาวันหนึ่ง โดราเอมอนก็เกิดแบตเตอรี่หมด แล้วหยุดทำงานเสียเฉย ๆ โนบิตะจึงปรึกษากับโดเรมี น้องสาวของโดราเอมอน โดเรมีบอกโนบิตะว่า ถ้าเปลี่ยนแบตเตอรี่ของโดราเอมอน ความจำทั้งหลายจะหายหมด เนื่องจากแบตเตอรี่สำรองไฟที่เก็บความจำของหุ่นยนต์รูปแมวนั้นเก็บไว้ที่หู และอย่างที่ทราบกันว่าโดราเอมอนไม่มีหู ดังนั้นถ้าเปลี่ยนแบตเตอรี่ เขาจะต้องสูญเสียความจำ ต้องนำไปซ่อมที่โลกอนาคต แต่การใช้ไทม์แมชชีน นั้นผิดกฎหมาย เพราะกฎหมายใหม่ของโลกอนาคต ถ้าส่งโดราเอมอนกลับ โดราเอมอนจะมาหาโนบิตะอีกไม่ได้ ทำให้โนบิตะตัดสินใจไม่เปลี่ยนแบตเตอรี่ แล้วโนบิตะจึงตัดสินใจตั้งใจเรียนจนเป็น นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก โดยเอาเรื่องโดราเอมอนที่แบตหมดมาเป็นแรงผลักดันขยันทุนเทหารักษาให้โดราเอมอนกลับมา โดยเอาตัวโดราเอมอนไปซ่อนไม่ให้มีใครรู้เรื่องนอกจากตนเพียงคนเดียวเท่านั้น แล้วก็แต่งงานกับชิซูกะและสามารถซ่อมโดราเอมอนกับสร้างหูกับทำให้ร่างของโดราเอมอนเป็นตัวสีเหลืองก่อนถูกซื้อ กับเปลี่ยนแบตเตอรี่ให้โดราเอมอนได้สำเร็จ โดยที่ความทรงจำไม่หายไป (โดยก่อนที่โนบิตะจะเปลี่ยนแบตเตอรี่ให้โดราเอมอนได้เรียกชิซูกะมาดูโดราเอมอน) และเขาก็มีลูกชายชื่อโนบิซูเกะ และอยู่ด้วยกันอย่างมีสุข\nสำหรับความเป็นไปได้ของตอนจบรูปแบบนี้ได้ปรากฏขึ้นใน \"โดเรมีกับการผจญภัยของโนบิซูเกะ\" ซึ่งเรื่องราวกล่าวถึงช่วงโดราเอมอนที่ได้รับการซ่อมแซมจากโนบิตะ ผ่านทางการทักทายของซิซูกะและโดรามี หลังจากที่ทั้งสองไม่ได้เจอหน้ากันมาร่วม 10 ปี โดยบทสนทนานั้นได้มีการพูดถึงโดราเอมอนที่ซ่อมแซมโดยโนบิตะและกลับไปยังยุคของเซวาชิ และในฉากที่โนบิตะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ได้ประดิษฐ์เครื่องติดตามตัวลงในตัวมินิโดราสีแดงซึ่งเป็นผลจากการซ่อมแซมโดราเอมอน ทำให้โนบิตะเปลี่ยนแปลงชะตาชีวิตตนเองในที่สุด\nอย่างไรก็ดี โดราเอมอนตอนจบทุกแบบก็ยังไม่มีหลักฐานที่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนเพียงพอว่าเป็นตอนจบที่แท้จริง และอันที่จริงแล้วโดราเอมอนนั้นเคยจบไปแล้วครั้งหนึ่งในตอนสุดท้ายของรวมเล่มฉบับที่ 6 ชื่อตอนว่า \"ลาก่อนโดราเอมอน\" แต่เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการจากทั้งแฟน ๆ และทางสำนักพิมพ์ ในที่สุด ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ จึงได้กลับมาเขียนโดราเอมอนต่ออีกครั้ง\nแต่จากหลักฐานในตอนต่างๆ ของโดราเอมอนที่มีจุดเชื่อมโยงกันคือ เป็นเนื้อเรื่องที่โดราเอมอนอยู่กับโนบิตะในวัยประถมเท่านั้น เพราะโนบิตะในวัยมัธยม วัยแต่งงานมีลูกจนวัยชรา เคยโผล่มาในบางตอนนั้น ไม่มีโดราเอมอนอยู่ในเหตุการณ์ในวัยต่างๆของโนบิตะเลย สรุปคือโดเรเอมอนมาอยู่กับโนบิตะถึงตอนจบวัยประถมแล้วกลับอนาคตไป\n==หมายเหตุ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์ของโดราเอมอนอย่างเป็นทางการ \nเว็บทางการโดราเอมอนฉบับทีวีของทีวีอาซาฮิ \nโดราเอมอนในดวงใจ\nคอลัมน์รู้ไปโม้ด โดราเอมอน โดยน้าชาติ ประชาชื่น น.ส.พ.ข่าวสด\nไทยโดรา ข้อมูลโดราเอมอน รายชื่อของวิเศษ รวมชื่อตอนฉบับการ์ตูน รวมชื่อตอนแอนิเมชัน\nโดราเอมอน - นิตยสารผู้จัดการ\nhttp://modernine.mcot.net/cartoon/content_view.php?id=26&t=3 \nYoutube - Love Doraemon\n \nการ์ตูนญี่ปุ่น\nการ์ตูนญี่ปุ่นสำหรับเด็ก\nตัวละครที่เป็นปัญญาประดิษฐ์\nตัวละครกลุ่มห้า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "redirect โดราเอมอน",
"role": "user"
},
{
"content": "redirect โดราเอมอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไทย\n== ก ==\nกรีซ\nกรีเนดา\nกัมพูชา\nกัวเตมาลา\nกาตาร์\nกานา\nกาบอง\nกาบูเวร์ดี\nกายอานา\nปินี\nกินค-บิสเซา\nเกาหลีใต้\nเกาหลีเหนือ\nแกมเบีย\nโกตดิวัวร์\n== ค ==\nคอซอวอ\nคอโมโรส\nคอสตาริกา\nคาซัคสถาน\nคิริบาส\nคิวบา\nคีร์กีซสถาน\nคูเงต\nเคนยา\nแคนาดา\nแคเมอรูน\nโครเอเชีย\nโคลอมเบีย\n== จ ==\nจอร์เจีย\nจอร์แดน\nจาเมกา\nจิบูตี\nจีน\n== ช ==\nชาด\nชิลี\nเช็กเกีย (สาธารณรัฐเช็ก)\n== ซ ==\nซานมารีโน\nซามัว\nซาอุดีอาระเบัข\nซิมบับเว\nซีเรีย\nซูดาส\nซูดานใต้\nซูรินาม\nเซเชลส์\nเซนต์คิตส์และเนวิส\nเซนต์ลูเชีย\nเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์\nเซเนกัล\nเซอร์เบีย\nเซาตูแมอีปริงซีป\nเซียร์ราลีโอน\nแซมเบีย\nโซมาเลีย\nไซปรัส\n== ญ ==\nญี่ปุ่น\n== ด ]=\nดอมินีกา\nเดนมาร์ก\n== จ ==\nตรินิแดดและโตเบโก\nตองงา\nติมอร์-เลสเต\nตุรกี\nตูนิเซีย\nตูวาลู\nเติร์กเมนิสถาน\nโตโก\nไต้หวัน\n== ท ==\nทาจิกิสถาน\nแทนซาเนีย\nไทย\n== น ==\nนครรัฐวาติกัน\nนอร์เวย์\nนามิเบีย\nนาอูรู\nนิการากัว\nนิวซีแลนด์\nนีวเว\nเนเธอร์แลนแ์\nเนปาล\nไนจีเรีย\nไนเจอร์\n== บ ==\nบราซิล\nบรูไน\nบอตสวานา\nบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา\nบังกลาเทศ\nบัลแกเรีย\nบาร์เบโดส\nบาห์เรน\nบาฮามาส\nบุรุนดี\nบูร์กินาฟาโซ\nเบนิน\nเบลเยียม\nเบลารุส\nเบลีศ\nโบลิเวีย\n== ป ==\nปากีสถาน\nปานามา\nปาปัวนิวกินี\nปารากวัย\nปาเลสไตน์\nปาเลา\nเปรู\nโปรตุเกส\nโปแลนด์\n== ฝ ==\nฝรั่งเศส\n== พ =-\nพม่า\n== ฟ ==\nฟินแลนด์\nฟิลิปปินส์\nฟีจี\n== ภ ==\nภูฏาน\n=] ม ==\nมองโกเลีย\nมอนเตเนโกร\nมอริเชียส\nมอริเตเนีย\nมอลโดวา\nมเลตา\nมัลดีฟส์\nมาซิฉดเนียเหนือ\nมาดากัสการ์\nมาลาวี\nมาลี\nมาเลเซีย\nเม็กซิโก\nโมซัมบิก\nโมนาโก\nโมร็อกโก\nไมโครยีเชีย\n== ย ==\nยูกันดา\nยูเครน\nเยเมน\nเยอรมนี\n== ร ==\nรวันดา\nรัสเฬีย\nโรมาเนีย\n== ล ==\nลักเซมเบิร์ก\nลัตเวีย\nลาฝ\nลิทัวเนีย\nลิับีย\nลีชเทินชไตน์\nเลโซโท\nเลบานอน\nไลบีเรีย\n== ว ==\nวานูวาตู\nเวเนซุเอลา\nเวัยดนาม\n== ศ ==\nศรีลังกา\n== ส ==\nสเปน\nสโลวาเำีย\nสโลวีเนีย\nสวิตเซอร์แลนด์\nสวีเดน\nสหรัฐ\nสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์\nสหราชอาณาจักร\nสาธารณรัฐคองโก\nสาฌารณรัฐประชาธิปไตยคองโก\nสาธารณาัฐโดมินิกัน\nสาธารณรัฐแอฟริกรกลาง\nสิงคโปร์\n== ห ==\nหมู่เกาะคุก\nหมู่เกาัโซโลมอน\nหมู่เกาะมาร์แชลล์\n== อ ==\nออสเตรเลีน\nออสเตคีย\nอันดอร์รา\nอัฟกานิสถาน\nอาเซอร์ไบจาน\nอาร์เจนตินา\nอาร์มีเนีย\nอิเควทอเรียลกินี\nอิตาลี\nอินเดีย\nอินฏดนีเซีย\nอิรัก\nอิสราเอล\nอิหร่าย\nอียิปต์\nอุซเบกิสถาน\nอุรุกวัย\nเอกวาดอร์\nเอธิโอเปีย\nเอริเทรีย\nเอลซัลวาดอร์\nเอสโตเนีย\nเอสวาตินี\nแองโกลา\nแอนทีกาและบาร์บิวดา\nแอฟริกาฝต้\nแอลจีเรีย\nแอลเบเนีย\nโอมาน\nไอซ์กลนด์\nไอร์แลนด์\n== ฮ ==\nฮอนดูรัส\nฮังการี\nเฮติ\n-= อ้างอิง ==\nรรางประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีและประกาศราชบัณฑิตยยะาน เร่่อง กำหนดชื่อป่ะเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง\n== ดูเพิ่ม ==\nภูมิศาสตร์\nโลก\nทวีป\nรายชื่อประเทศเรียงตามทวีป\nรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขตาดถื้นทีืทั้งหมด\nราสชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร\nรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง\nรายชื่ิเขตการปกครอง\nรายชื่ออักณรคันจิที่ใช้เป็นชื่อประเทศ\nรายชื่ิปตะเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไทย\n== ก ==\nกรีซ\nกรีเนดา\nกัมพูชา\nกัวเตมาลา\nกาตาร์\nกานา\nกาบอง\nกาบูเวร์ดี\nกายอานา\nกินี\nกินี-บิสเซา\nเกาหลีใต้\nเกาหลีเหนือ\nแกมเบีย\nโกตดิวัวร์\n== ค ==\nคอซอวอ\nคอโมโรส\nคอสตาริกา\nคาซัคสถาน\nคิริบาส\nคิวบา\nคีร์กีซสถาน\nคูเวต\nเคนยา\nแคนาดา\nแคเมอรูน\nโครเอเชีย\nโคลอมเบีย\n== จ ==\nจอร์เจีย\nจอร์แดน\nจาเมกา\nจิบูตี\nจีน\n== ช ==\nชาด\nชิลี\nเช็กเกีย (สาธารณรัฐเช็ก)\n== ซ ==\nซานมารีโน\nซามัว\nซาอุดีอาระเบีย\nซิมบับเว\nซีเรีย\nซูดาน\nซูดานใต้\nซูรินาม\nเซเชลส์\nเซนต์คิตส์และเนวิส\nเซนต์ลูเชีย\nเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์\nเซเนกัล\nเซอร์เบีย\nเซาตูแมอีปริงซีป\nเซียร์ราลีโอน\nแซมเบีย\nโซมาเลีย\nไซปรัส\n== ญ ==\nญี่ปุ่น\n== ด ==\nดอมินีกา\nเดนมาร์ก\n== ต ==\nตรินิแดดและโตเบโก\nตองงา\nติมอร์-เลสเต\nตุรกี\nตูนิเซีย\nตูวาลู\nเติร์กเมนิสถาน\nโตโก\nไต้หวัน\n== ท ==\nทาจิกิสถาน\nแทนซาเนีย\nไทย\n== น ==\nนครรัฐวาติกัน\nนอร์เวย์\nนามิเบีย\nนาอูรู\nนิการากัว\nนิวซีแลนด์\nนีวเว\nเนเธอร์แลนด์\nเนปาล\nไนจีเรีย\nไนเจอร์\n== บ ==\nบราซิล\nบรูไน\nบอตสวานา\nบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา\nบังกลาเทศ\nบัลแกเรีย\nบาร์เบโดส\nบาห์เรน\nบาฮามาส\nบุรุนดี\nบูร์กินาฟาโซ\nเบนิน\nเบลเยียม\nเบลารุส\nเบลีซ\nโบลิเวีย\n== ป ==\nปากีสถาน\nปานามา\nปาปัวนิวกินี\nปารากวัย\nปาเลสไตน์\nปาเลา\nเปรู\nโปรตุเกส\nโปแลนด์\n== ฝ ==\nฝรั่งเศส\n== พ ==\nพม่า\n== ฟ ==\nฟินแลนด์\nฟิลิปปินส์\nฟีจี\n== ภ ==\nภูฏาน\n== ม ==\nมองโกเลีย\nมอนเตเนโกร\nมอริเชียส\nมอริเตเนีย\nมอลโดวา\nมอลตา\nมัลดีฟส์\nมาซิโดเนียเหนือ\nมาดากัสการ์\nมาลาวี\nมาลี\nมาเลเซีย\nเม็กซิโก\nโมซัมบิก\nโมนาโก\nโมร็อกโก\nไมโครนีเชีย\n== ย ==\nยูกันดา\nยูเครน\nเยเมน\nเยอรมนี\n== ร ==\nรวันดา\nรัสเซีย\nโรมาเนีย\n== ล ==\nลักเซมเบิร์ก\nลัตเวีย\nลาว\nลิทัวเนีย\nลิเบีย\nลีชเทินชไตน์\nเลโซโท\nเลบานอน\nไลบีเรีย\n== ว ==\nวานูวาตู\nเวเนซุเอลา\nเวียดนาม\n== ศ ==\nศรีลังกา\n== ส ==\nสเปน\nสโลวาเกีย\nสโลวีเนีย\nสวิตเซอร์แลนด์\nสวีเดน\nสหรัฐ\nสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์\nสหราชอาณาจักร\nสาธารณรัฐคองโก\nสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก\nสาธารณรัฐโดมินิกัน\nสาธารณรัฐแอฟริกากลาง\nสิงคโปร์\n== ห ==\nหมู่เกาะคุก\nหมู่เกาะโซโลมอน\nหมู่เกาะมาร์แชลล์\n== อ ==\nออสเตรเลีย\nออสเตรีย\nอันดอร์รา\nอัฟกานิสถาน\nอาเซอร์ไบจาน\nอาร์เจนตินา\nอาร์มีเนีย\nอิเควทอเรียลกินี\nอิตาลี\nอินเดีย\nอินโดนีเซีย\nอิรัก\nอิสราเอล\nอิหร่าน\nอียิปต์\nอุซเบกิสถาน\nอุรุกวัย\nเอกวาดอร์\nเอธิโอเปีย\nเอริเทรีย\nเอลซัลวาดอร์\nเอสโตเนีย\nเอสวาตินี\nแองโกลา\nแอนทีกาและบาร์บิวดา\nแอฟริกาใต้\nแอลจีเรีย\nแอลเบเนีย\nโอมาน\nไอซ์แลนด์\nไอร์แลนด์\n== ฮ ==\nฮอนดูรัส\nฮังการี\nเฮติ\n== อ้างอิง ==\nร่างประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีและประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง\n== ดูเพิ่ม ==\nภูมิศาสตร์\nโลก\nทวีป\nรายชื่อประเทศเรียงตามทวีป\nรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด\nรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร\nรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง\nรายชื่อเขตการปกครอง\nรายชื่ออักษรคันจิที่ใช้เป็นชื่อประเทศ\nรายชื่อประเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บัำส์ บึนนี (Bugs Bunny) เป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ แลัเดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ ซึ่งการ์ตูนซีรีส์เป็นตอน ๆ ดลถเป็นตัวการ์ตูนที่เป็นท่่รู้จักไปทั่วโลก บักส์บอกว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ที่ย่านบตูกลิน ในนครนิวยอร์ก แต่เสียงของ เมล แบลงก์ ซึ่งพากย์เสียงของ บักส์ บันนี เป็นมำเนียงลธำผสมระหว่างคนย่านบรองซ์กับบรูกลิน\nบักส์เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นคู่แค้นกับ เอลเมอร์ ฟัดด์ โยเซมิตี แซม มาร์วิน มาร์เชียนแม้กระทั่ง ไวลี อี. ไคโยตี (ซึ่ลโดยปกติแล้บจะไล่ล่า โรด ีันเนอร์)\n(แต่ใน เดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ พวกเขาเป็นเพื่อนของบักส์)\nทุกครั้งที่มีเรื่องมีราวปัน บักส์ยะลงเอยเป็นผู้ชนะเสมอ โดยเฉพาะตอนที่กำกับโดย ชัคก์ โจนส์ ผู้ซึ่งชอบขับคู่ชน ระหว่าง \"ผูืชนะฆ กับ \"ผู้แพ้\" เนื่องจากโจนส์เห็นห่วงว่า ในที่สุดผู้ชมจะหมดความเห็นอกเห็นใจให้กับ บักส์ ซึ่งเป็นผู้ชนะตลอด (โดยปกติ ผํ้ชนะมักจะเป็นฝ่ายที่ก้าวร้าวกว่า) โจนส์จึงได้วางเนื้อเรื่เงให้บักส์นั้นถูกรังแก ถูกล่อลวง และถูกข่มขู่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากอีกฝ่ายที่มีเรื่องกันเสมอ หลังจากถูกหาเรื่อง (ปกติแล้วจะเกิดขึ้น 3 ครั้ง) บักส์ก็จะพูดว่า \"Of cou4se, you realize this means war\" (แน่นอน คุณก็เห็นว่านี้คือสงคราม) เป็นคำพูดที่โจนส์เอามาจาก เกราโช มาร์กซ และผู้ชมก็จะไส่ว่าอะไร ในลักษณะเป็นเชิงให้อนุญาตให้บักส์นั้น เริ่สใช้ความรุนแรงตอบโต้ได้\nแต่ในตอนที่บักส์ พบกับตัวการ์ตูนที่เป็น \"ผ฿้ชนะ\" เหมือนกัน เช่น ซิซิล เดอะ เทอเทิล ใน Tortoise Beats Hare (กระต่ายกับเต่า) หรือใน WWII (สงครามโลกครั้งที่สอง) the Gremlin of Falling Hate บักส์มักจะเสียสถิติในการเป็นผู้ชนะ เนื่องจากคบามมั่นใจในตัวเองมากเกินไป\n== ประวัติ ==\n\n=== กาน์ตูนกาะต่ายช่วงเป็จต้นแวบ ===\nจากบันทึกของนักประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ และ การ์ตูน บักส์ บันนี ปรากฏตัวครั้งแรกใน การ์ตูนสั้น Porky's Hare Hknt ฉายครั้งแรก วันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1938 การ์ตูนนีิกำกับร่วมกันโดย แคล ดัลตันและ โจเซฟ เบ็นสัน ฮาร์ดอเวย์ (รู้จักต่อมาในชื่อว่า เบ็น ฮา่์ดอเวย์) โดยตัว ฮาร์ดอเวย์ นั้นมีชื่อเล่นว่า \"บักส์\" การ์ตูรเรื่องนี้ ลอกเค้าโครงมาจาก Porky's Duck Hunt ที่อิกมาก่อนหนืาแล้ว ในวันที่ 7 กรก\"าคม ค.ศ. w937 กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งเป็นตอจแนะนำตัวของแดฟฟี ดัก แต่ในการ์ตูนเรื่องแรกของ บัพส์ บันนี นี้ เป็นเรืีองราว ที่นักล่าสัตว์ พอร์คกี พิก ออกไล่ล่าดหยื่อที่ต๊องพอๆ กัน เพราะแ่นที่จะหนี กลับอยากที่จะทำให้ผู้ล่านั้นคลั่งเสียสติ ในเรื่องนี้เหยื่อก็คือ กระต่ายขาวตัวเล็ก และยังไม่มีชื่อ ปทนที่จะเป็น อป็ดดำ แดฟฟี ดัก เช่นเคย ในเรื่องนี้ เมล บลังค์ เป็นผู้พากษ์เสียงของกระต่าย และคำเปิดตึวคือ \"Jiggers, fellers!\" และคำคม (ซึ่งถือเป็นลัแษณะบ่งชี้เฉพาะตัวของกระต่ายตัวนี้) ก็คือ คพที่คัดลอกมาจาก เกราโช มาร์กซ ที่ว่า \"Of course. you know, this means war.\" พอร์คกี ก็เลยเป็น คู่กัด คนแรกของ บักส? โดยมีจุดจลคือ ได้เข้าไปนอนหยอดน้ำข้าวต้มในโรงพวาบาล\nเรื่องที่สองที่ปรากฏตัว คือ Prect-O Change-O ฉสย 25 มีนาคม ค.ศ. 1939 กำกับโกย ชัค โจนส์ โดยเล่สเป็นกระต่าย ของนักมายากลล่องหน แชม-ฟู เมื่อสุนัข 2 ตัว เข้ามาในบ้านตอนที่นักมายากลไม่อยู่เพื่อหลบพายุ กระค่ายแ็เริ่มกลั่นแกล้งเจ้าสุน้ขทั้งสอง ในเรื่อง บักส์ จูบ สุนัขตัวหนึ่งถึง 2 ครั้ง นี่เป็นครั้งแรกที่บักส์จูบศัตรูของเขา เพื่อสร้างความสับสย และเรื่องนี้ก็เป็นครั้งแรกที่ บักส์พ่ายแพ้แก่ศัตรู\nในเรื่องที่สาม Hare-um Sdare-um ฉายวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1939 กำกับโดย ดัลตัน แลุ ฮาร์ดอเวย์ ในตอนนี้กิล เทอร์เนอร์ซึ่งเป็นผู้วาด ได้ให้ชื่อกับ กระต่ายของเรา โดยเขียน \"บักส์ บันนี\") ไว้ที่กระดาษร่างของเขา ซึ่งมีความหมายว่า ตัวกระต่ายนี้เป็นตัวการ์ตูาของ ฮาร์ดอเวย์ และเรื่องนี้ก็เป็นเรื่องแรกที่กระต่ายมีสีเแ็นสีเทาแทนที้จะเป็นสีขาว เนื้เเรื่องนั้นเป็นเนื้อเรื่องง่ายๆ คือ บักส์ เจอกับนักล่าสัตว์ และ สุนะขล่าเนื้อของเขา สิ่งที่เด่นในตอนนี้ก็คือ เป็นครั้งแรกที่บักส์ร้องเพลง และนับเป็นครั้งแรกที่บักส์แต่งตัวเป็นกระเทยเพื่อลาอหลอกศัตรู และจากเรื่องนี้เป็นต้นมากระต่าบก็ได้ชื่อว่า \"บัพส์\" โดยผู้ตั้งชื่อให้คือ เหล่าผู้วาดที่ เทอา์ไมท์ เทอเรซ เพื่อเป็นเกียรติให้กับผู้สร้าง คือเบ็น บักส์ ฮาน์ดอเวย์\nตอนที่สี่ Elmer's Candid Cam2ra โดย ชัึ โขนส์ ฉายในวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1940 ตอนนี้ ทั้ง บักส์ และ เอลเมอร์ ฟัดด์ ได้ถูกออกแบบรูปร่างหน้าตาใหท่ เพื่อล่ายแแ่การจดจำจิงผู้ชม ตอนนี้ัป็สการพบกันครั้งแรกของตัวการ์ตูนทั้งสอง เอลเมอร์นั้นต้องการเพียงจะถ่ายรูปพื้นที่ แต่ บักส์ก็ทำตัวเองราวกับตกเป็นเหยื่อผู้เคราะห์รเาย ความจริงนั้นทำไปก็เพื่อคบามสนุำสนานเท่านั้น\n=== บุคลิกความเป็น บักส์ บันนี ===\n\n==== ช่วง ค.ศ. 1940 ====\nบุคลิกจริง ๆ ของบักส์นเ้น ได้ปรากฏครั้งแรก ในเรื่อง A Wild Hzre ของ เท็กซ์ เอฟวรีย์ ฉายครั้งแรกเมื่อยันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1940 โดยมีบักส์โผช่ออกมาจากโพลงกระต่าย มาทักทายเอลเมอร์ ฟัดด์ ว่า \"What's Up Doc?\" ซึ่งถิอเป็นจุดที่ภาพลักษณ์ของตัวการ์ตูนนั้นได้พัฒนาอย่างสมบูรณ์แล้ว\nบักส์ ได้ปรากฏตัวใน Patient Porky ของ โรเบิร์ต แคลมเพ็ต ซึ่งฉายในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1940 เพียงแค่ช่วงสั้นๆ เพื่อมาประกาศการเกิดของกระต่าย 260 ตัว ในการปรากฏตัวครั้งที่ 7 ของบักส์ ในวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1941 ในชื่อตอน Elmer's Pet Rabbit ของชัค โจนส์ นั้น เป็นครั้งแรกที่มีการประกาศชื่อของเขา คือ บักส์ บันนี ให้ผู้ชมได้รับรู้ (ก่อนหน้านี้เป็นที่รู้แันเฉพาะในกลุ่ม\"เทอร์ไมท์ เทอเรซ\") ตอนนี้เป็นตอนแรกที่บักส์เริ่มได้รับความนิยส เขาได้กลายมาเป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ ที่มีชื่อเสียงในเรื่อง ความใจเย็น ตลบตะแลง ไร้กังวล อันเป็าลักษณะที่ทำให้เขาได้กลายเป็นที่รักของชาวอเมริกัน ทั้งในช่วงสงคราม และหลังสงคาามโลกครั้งที่สอง\n==== ช่วง ค.ศ. 1941 ====\nหลังจากนั้น บักส์ ก็ได้ปรากฏในอีก y ตอนในช่วงปี ค.ศ. 1941 เรื่องแรกนั้นก็คือ Tortoise Beats Hare ของ เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งฉายในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1941 เป็นเรื่องราวของริทานอีสป ที่กระต่ายท้าเต่าให้วิ่งแข่งกัน และได้พ่าสแพ้ให้กับเต่า เนื่องมาจากความมั่นใจในตัวเองที่สูงเกินไห แต่ในการ์ตูนนี้ บักส์ ได้เสียรู้ให้กับเต่าคู่อข่ง คือ ซิซิล เทอร์เทิล โดยเต่าคู่แข่งได้เอาญาติๆ ซึ่งหน้าตาเหมือนกัน มา้รียงรายไว้ตลอดรายทาง เพื่อหลอกให้บักส์หลงเชื่อว่าได้ถูกวิ่งแซง เป็นการ์ตูนเรื่องแรกที่ บักส์ ได้กลับกลายมาเป็สผู้ถูกหลอก และได้รับความอับอาย จากคู่แข่งซะเอง เท็กซ์ เอฟวรีย์นั้น ในภายหลังก็ได้ใช้แนวความคิด ที่ใช้ญาติที่หน้าตาเหมือนๆ กัน ในการ์ตูนตอนที่มี ดรูปปี ด็อก อยู่ในเรื่องตอนอื่นๆ\nเรื่องที่สองคือ Hiawatha's Rabbit Hunt ฉายครั้งแรกวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1941 บักส์เป็นเป้าหมายถูกล่าโดย ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา (Littl3 Hiawatha อป็น Hiawatha รุ่นเด็ก) ในตอนนี้ได้มีการอ้างอิงถึง \"The Song of Hiawatha\" ซึ่งเป็นตอนหนึ่งใน บทกวีของเฮนรี แวดสเวิร์ท ลองเฟลโลว์ ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา นั้นเคยปรากฏตัวมาก่อนหน้านี้แล้ว ในกาา์ตูน ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา ซึ่งฉายใตวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1937 โดยเป็นเรื่อง้ปี่ยวกับชีวิตวัยเด็กของไฮอะวาธา กหกับโดย เพวิด ดอด แฮนด์ (ชาตะ 23 มกราคม ค.ศ. 1900 — มรณะ 11 ตุลาคม ค.ศฦ 1986) นับเป็นส่วนหนึ่งขดงการ์ตูนซีรีส์ Silly Symphonie ของ วอลต์ ดิสนีย์ วนตอน Hiawatha's Rabbit Hunt ที่เรากล่าวถึงนี้น้้น เป็นครั้งแรกที่บักส์ของเราประจัญหน้ากับชาวพื้นเมืองอเมริกัน หร้ออินเดียนแดงนั่นเอง และก็เป็นตอนแรกเช่นกัสที่กำกับโดย ฟริซ เฟรเลง\nเรื่องที่สามนั้น กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ชื่อตอน The Heckling Hare ฉายครั้งแรก 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 แต่ครั้งนี้ไม่ได้เจอนักล่า แต่เป็นสุนัขล่าเนื้อชื่อวิลเลอบี ซึ่งเมื่อมาถึงจุดนี้ ก็เป็นที่เริ่มคุ้นเควกันทั่วไปกับลัแษณะของบักส์แล้ว ที่เขาจะหลอกล่อกวนโมโหศัตรูของเขาตลอดทั้งตอน และคำถามเดียวทีืวนเวียนอยู่ในหัวเขาก็คือ \"Let's see..ฦwhat can I do yo this guy next?\"\nเรื่องถัดาาของบักส์ ก็ยังคงกำกับโดยเอฟวรียร์ ชื่อตอน All this and Rabbit Stew ฉายครั้งแีกเมื่อ w0 กันยายน ี.ศ. 1941 บักส์ ก็ยังโดนไล่ล่าอีกเช่นเคย โดยผู้ล่าเป็นตัวการ์ตูนชาวอเมริหาเชื้อสาสแอฟริกาหรือคนผิวดำนั่นเอง โดยใช้รูปแบบของการแสดงที่แต่งหน้าด้วยสีดำเพื่อเป็นการบ่งชี้ หลังจากที่กลั่นแกล้งศัตรูจนเป็นที่พเมจแล้ว บักส์ก็หลอกล่อศัตรูของเขาให้ตัดสินการต่ิสู้นี้ด้วยการโยนลูกเต๋า และใจที่สุดศัตรูของบักส?ก็ถูกบักส์รูดทคัพย์สินและเสื้อผ้าจนหมด เหลือแต่ใบไม้ปิดบังตัวเท่านั้น และเขาได้พูดถึงสภาพของเขาว่า \"Just call me Adam\" ซึ่งมีที่มาจากเรื่องของอาดัมกับอีฟ ในพ่ะคัมภีร?ไบเบิลตอนพระเจ้าสร้่งโลกตั่นเอง และนี่ก็เป็นตอนสุดม้ายยองบักส์ที่กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งได้ออกจากสตูดิโอ เนื่ิงจากตวามขัดแย้งกับผู้ผลิต ลีออน ชเลสซิงเกอร์ และย้ายไปอยู่ที่โรงถ่ายการ์ตูนของ เมโทร-โกลด์วิน-ไมเออร์\nตอนสุดท้ายในปีเดียวกันนี้ของบักส์ ก็คือ Wabbit Twouble ฉายครั้งแรกใันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1941 กำกับโดย โรเบิร์ต แคลมเพ็ต ซึ่งถึงเวลานี้ได้มีแค่ฉาำที่ยำบักส์ไปโผล่เป็นช่วงสั้น ๆ เพื่อเป็นผู้ประกาศ และในตอนนี้บักส์ก็ได้เจอ เอลเมอร์ ฟัดด์ อีกครั้ง และแ็อีกเช่นเคย เอลเมอร์เพียงแค่ต้องการเที่ยวพัำผ่อน ที่ \"Jellostone National Park\" (เป็นการเลียนเสียง อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน) นอกจากบักส์แล้ว เอลเมอร์ยังถูกรบกวนจากหมีที่กำลังฉุนเฉียวอีก ผลสุดท้ายทั้งสามถูกตำรวจประจำอุืยานจับเข้าคุกในข้อหาบ่อนทำลายความสงบ ในตอนนี้ เอลเมอร์ถูกวาดให้มีลักษณะสูงและอ้วนกว่าที่เคยเป็น โดยรูปร่างนี้เป็นการออกแบบให้เข้ากับผู้ที่พากย์เอลเมอร์ ซึ่งก็คือ อาเธอร์ คิว ไบรอัน\n=== ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ===\n\n\n==== ช่วง ค.ศ. 1942 ====\nถัดมา บักส์ ก็ได้ไปแรากฏตัวในช่วงสั้นๆแีกเรื่อง ในการ์ตูนเกี่ยงกับการท่องเที่ยว Crazy Cruise ซึ่งออกมาในวันที่ 26 มียาคม ค.ศ. 1942 โดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ และ โรเบิร์ต แคลมเพ็ต และนี่ก็เป็นตอนสุดท้ายที่กำกับโดย เท็กซฺ เอฟวรีย์ ในขณะที่ยังทำงานให้กับ\"เทอร์ไมท์ เทอเรซ\"\nบักส์ และ เอลเมอร์ ได้พบกันอ้กครั้งในตอน The Wabbit Who Came to Supper ของฟริซ เฟรเลง อเกมาในวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1942 ในขณะที่ เอลเมอร์ กำลังล่าบักส์อยู่นั้น เขาได้รับโทรเลข แจ้งว่าเขาจะได้รับมรดก $3,000,000 จากชุงลูอีของเขา โดยมีเงื่อนไขว้าเขาจะต้องเลิกทำร้ายสัตว์ โดยเฉพาะกระต่าย บักส์เลยฉวยโอกาสนี้ย้ายเข้าไปอยูีในบ้านยอง เอลเมอร์ ซถเลย และเรียกร้องสารพัด เอลเมอร์ ตอนหลังได้รับรู้ว่าลุงลูอีี ได้เสียชีวิตแล้ว และเมื่อหักภทษีของการตกทอดมรดกแล้ว ก็ไม่มีอะไรเหลือถึง เอลเมอร์ บักส์ได้รู้ดังนั้นก็เลยรีบเผ่นอแกจากบ้านไปทันที หลังจากนั้นไมรนานบักส์ก็ส่งของขวัญมาให้ เอลเมอร์ ทางไปรษณีย์ ในกล่องของขวัญนั่นเต็มไปด้วยลูกกระต่าย ซึ่งเข้ามาอยู่เต็มบ้านของ เอลเมอร์ ไปหมด\nตอนต่อมาที่บักส์ได้ปรนกฏตัว เป็นโฆษณาชื่อ Any Bonds Today? กำกับโดยโรเยิร์ต แคลมเพ็ต ฉายครั้งแรก วันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1942 เป็นการโปรโมทขาย พันธบัตรของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อเอาเง้นไปใช้ในสงครามโลกครั้งสอง ในตอนนี้ บักส์ได้ร้ิงเพลงและเต้นโชว์ และมีการแสดง blackface perbormance (าี่ได้กลราวถึงไปข้างต้น) เพื่อล้อเลรยน แอล โจลสัน (Al Jolson) มนตอนจบนั้น เอลเมอร์ ฟัดด์ และ พอร์คแี พิก ได้มาร่วมแสดง และนี่ก็เป็นการ์ตูนเพลงเรื่องแรกของบักส์ ความเป็นที่นืยมของ บักส์ เหนือ เอลเมอร? และ พอร์คกี นั้นค่อนขืางเด่นชัดในช่วงเวลานั้น\nบักส์นั้นก็ได้รับอิทธิพลจาก 9pสงครามโลกครั้งที่สอ",
"role": "user"
},
{
"content": "บักส์ บันนี (Bugs Bunny) เป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ และเดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ ซึ่งการ์ตูนซีรีส์เป็นตอน ๆ และเป็นตัวการ์ตูนที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก บักส์บอกว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ที่ย่านบรูกลิน ในนครนิวยอร์ก แต่เสียงของ เมล แบลงก์ ซึ่งพากย์เสียงของ บักส์ บันนี เป็นสำเนียงลูกผสมระหว่างคนย่านบรองซ์กับบรูกลิน\nบักส์เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นคู่แค้นกับ เอลเมอร์ ฟัดด์ โยเซมิตี แซม มาร์วิน มาร์เชียนแม้กระทั่ง ไวลี อี. ไคโยตี (ซึ่งโดยปกติแล้วจะไล่ล่า โรด รันเนอร์)\n(แต่ใน เดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ พวกเขาเป็นเพื่อนของบักส์)\nทุกครั้งที่มีเรื่องมีราวกัน บักส์จะลงเอยเป็นผู้ชนะเสมอ โดยเฉพาะตอนที่กำกับโดย ชัคก์ โจนส์ ผู้ซึ่งชอบจับคู่ชน ระหว่าง \"ผู้ชนะ\" กับ \"ผู้แพ้\" เนื่องจากโจนส์เป็นห่วงว่า ในที่สุดผู้ชมจะหมดความเห็นอกเห็นใจให้กับ บักส์ ซึ่งเป็นผู้ชนะตลอด (โดยปกติ ผู้ชนะมักจะเป็นฝ่ายที่ก้าวร้าวกว่า) โจนส์จึงได้วางเนื้อเรื่องให้บักส์นั้นถูกรังแก ถูกล่อลวง และถูกข่มขู่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากอีกฝ่ายที่มีเรื่องกันเสมอ หลังจากถูกหาเรื่อง (ปกติแล้วจะเกิดขึ้น 3 ครั้ง) บักส์ก็จะพูดว่า \"Of course, you realize this means war\" (แน่นอน คุณก็เห็นว่านี่คือสงคราม) เป็นคำพูดที่โจนส์เอามาจาก เกราโช มาร์กซ และผู้ชมก็จะไม่ว่าอะไร ในลักษณะเป็นเชิงให้อนุญาตให้บักส์นั้น เริ่มใช้ความรุนแรงตอบโต้ได้\nแต่ในตอนที่บักส์ พบกับตัวการ์ตูนที่เป็น \"ผู้ชนะ\" เหมือนกัน เช่น ซิซิล เดอะ เทอเทิล ใน Tortoise Beats Hare (กระต่ายกับเต่า) หรือใน WWII (สงครามโลกครั้งที่สอง) the Gremlin of Falling Hare บักส์มักจะเสียสถิติในการเป็นผู้ชนะ เนื่องจากความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป\n== ประวัติ ==\n\n=== การ์ตูนกระต่ายช่วงเป็นต้นแบบ ===\nจากบันทึกของนักประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ และ การ์ตูน บักส์ บันนี ปรากฏตัวครั้งแรกใน การ์ตูนสั้น Porky's Hare Hunt ฉายครั้งแรก วันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1938 การ์ตูนนี้กำกับร่วมกันโดย แคล ดัลตันและ โจเซฟ เบ็นสัน ฮาร์ดอเวย์ (รู้จักต่อมาในชื่อว่า เบ็น ฮาร์ดอเวย์) โดยตัว ฮาร์ดอเวย์ นั้นมีชื่อเล่นว่า \"บักส์\" การ์ตูนเรื่องนี้ ลอกเค้าโครงมาจาก Porky's Duck Hunt ที่ออกมาก่อนหน้าแล้ว ในวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1937 กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งเป็นตอนแนะนำตัวของแดฟฟี ดัก แต่ในการ์ตูนเรื่องแรกของ บักส์ บันนี นี้ เป็นเรื่องราว ที่นักล่าสัตว์ พอร์คกี พิก ออกไล่ล่าเหยื่อที่ต๊องพอๆ กัน เพราะแทนที่จะหนี กลับอยากที่จะทำให้ผู้ล่านั้นคลั่งเสียสติ ในเรื่องนี้เหยื่อก็คือ กระต่ายขาวตัวเล็ก และยังไม่มีชื่อ แทนที่จะเป็น เป็ดดำ แดฟฟี ดัก เช่นเคย ในเรื่องนี้ เมล บลังค์ เป็นผู้พากษ์เสียงของกระต่าย และคำเปิดตัวคือ \"Jiggers, fellers!\" และคำคม (ซึ่งถือเป็นลักษณะบ่งชี้เฉพาะตัวของกระต่ายตัวนี้) ก็คือ คำที่คัดลอกมาจาก เกราโช มาร์กซ ที่ว่า \"Of course, you know, this means war.\" พอร์คกี ก็เลยเป็น คู่กัด คนแรกของ บักส์ โดยมีจุดจบคือ ได้เข้าไปนอนหยอดน้ำข้าวต้มในโรงพยาบาล\nเรื่องที่สองที่ปรากฏตัว คือ Prest-O Change-O ฉาย 25 มีนาคม ค.ศ. 1939 กำกับโดย ชัค โจนส์ โดยเล่นเป็นกระต่าย ของนักมายากลล่องหน แชม-ฟู เมื่อสุนัข 2 ตัว เข้ามาในบ้านตอนที่นักมายากลไม่อยู่เพื่อหลบพายุ กระต่ายก็เริ่มกลั่นแกล้งเจ้าสุนัขทั้งสอง ในเรื่อง บักส์ จูบ สุนัขตัวหนึ่งถึง 2 ครั้ง นี่เป็นครั้งแรกที่บักส์จูบศัตรูของเขา เพื่อสร้างความสับสน และเรื่องนี้ก็เป็นครั้งแรกที่ บักส์พ่ายแพ้แก่ศัตรู\nในเรื่องที่สาม Hare-um Scare-um ฉายวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1939 กำกับโดย ดัลตัน และ ฮาร์ดอเวย์ ในตอนนี้กิล เทอร์เนอร์ซึ่งเป็นผู้วาด ได้ให้ชื่อกับ กระต่ายของเรา โดยเขียน \"บักส์ บันนี\") ไว้ที่กระดาษร่างของเขา ซึ่งมีความหมายว่า ตัวกระต่ายนี้เป็นตัวการ์ตูนของ ฮาร์ดอเวย์ และเรื่องนี้ก็เป็นเรื่องแรกที่กระต่ายมีสีเป็นสีเทาแทนที่จะเป็นสีขาว เนื้อเรื่องนั้นเป็นเนื้อเรื่องง่ายๆ คือ บักส์ เจอกับนักล่าสัตว์ และ สุนัขล่าเนื้อของเขา สิ่งที่เด่นในตอนนี้ก็คือ เป็นครั้งแรกที่บักส์ร้องเพลง และนับเป็นครั้งแรกที่บักส์แต่งตัวเป็นกระเทยเพื่อล่อหลอกศัตรู และจากเรื่องนี้เป็นต้นมากระต่ายก็ได้ชื่อว่า \"บักส์\" โดยผู้ตั้งชื่อให้คือ เหล่าผู้วาดที่ เทอร์ไมท์ เทอเรซ เพื่อเป็นเกียรติให้กับผู้สร้าง คือเบ็น บักส์ ฮาร์ดอเวย์\nตอนที่สี่ Elmer's Candid Camera โดย ชัค โจนส์ ฉายในวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1940 ตอนนี้ ทั้ง บักส์ และ เอลเมอร์ ฟัดด์ ได้ถูกออกแบบรูปร่างหน้าตาใหม่ เพื่อง่ายแก่การจดจำของผู้ชม ตอนนี้เป็นการพบกันครั้งแรกของตัวการ์ตูนทั้งสอง เอลเมอร์นั้นต้องการเพียงจะถ่ายรูปพื้นที่ แต่ บักส์ก็ทำตัวเองราวกับตกเป็นเหยื่อผู้เคราะห์ร้าย ความจริงนั้นทำไปก็เพื่อความสนุกสนานเท่านั้น\n=== บุคลิกความเป็น บักส์ บันนี ===\n\n==== ช่วง ค.ศ. 1940 ====\nบุคลิกจริง ๆ ของบักส์นั้น ได้ปรากฏครั้งแรก ในเรื่อง A Wild Hare ของ เท็กซ์ เอฟวรีย์ ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1940 โดยมีบักส์โผล่ออกมาจากโพลงกระต่าย มาทักทายเอลเมอร์ ฟัดด์ ว่า \"What's Up Doc?\" ซึ่งถือเป็นจุดที่ภาพลักษณ์ของตัวการ์ตูนนั้นได้พัฒนาอย่างสมบูรณ์แล้ว\nบักส์ ได้ปรากฏตัวใน Patient Porky ของ โรเบิร์ต แคลมเพ็ต ซึ่งฉายในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1940 เพียงแค่ช่วงสั้นๆ เพื่อมาประกาศการเกิดของกระต่าย 260 ตัว ในการปรากฏตัวครั้งที่ 7 ของบักส์ ในวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1941 ในชื่อตอน Elmer's Pet Rabbit ของชัค โจนส์ นั้น เป็นครั้งแรกที่มีการประกาศชื่อของเขา คือ บักส์ บันนี ให้ผู้ชมได้รับรู้ (ก่อนหน้านี้เป็นที่รู้กันเฉพาะในกลุ่ม\"เทอร์ไมท์ เทอเรซ\") ตอนนี้เป็นตอนแรกที่บักส์เริ่มได้รับความนิยม เขาได้กลายมาเป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ ที่มีชื่อเสียงในเรื่อง ความใจเย็น ตลบตะแลง ไร้กังวล อันเป็นลักษณะที่ทำให้เขาได้กลายเป็นที่รักของชาวอเมริกัน ทั้งในช่วงสงคราม และหลังสงครามโลกครั้งที่สอง\n==== ช่วง ค.ศ. 1941 ====\nหลังจากนั้น บักส์ ก็ได้ปรากฏในอีก 5 ตอนในช่วงปี ค.ศ. 1941 เรื่องแรกนั้นก็คือ Tortoise Beats Hare ของ เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งฉายในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1941 เป็นเรื่องราวของนิทานอีสป ที่กระต่ายท้าเต่าให้วิ่งแข่งกัน และได้พ่ายแพ้ให้กับเต่า เนื่องมาจากความมั่นใจในตัวเองที่สูงเกินไป แต่ในการ์ตูนนี้ บักส์ ได้เสียรู้ให้กับเต่าคู่แข่ง คือ ซิซิล เทอร์เทิล โดยเต่าคู่แข่งได้เอาญาติๆ ซึ่งหน้าตาเหมือนกัน มาเรียงรายไว้ตลอดรายทาง เพื่อหลอกให้บักส์หลงเชื่อว่าได้ถูกวิ่งแซง เป็นการ์ตูนเรื่องแรกที่ บักส์ ได้กลับกลายมาเป็นผู้ถูกหลอก และได้รับความอับอาย จากคู่แข่งซะเอง เท็กซ์ เอฟวรีย์นั้น ในภายหลังก็ได้ใช้แนวความคิด ที่ใช้ญาติที่หน้าตาเหมือนๆ กัน ในการ์ตูนตอนที่มี ดรูปปี ด็อก อยู่ในเรื่องตอนอื่นๆ\nเรื่องที่สองคือ Hiawatha's Rabbit Hunt ฉายครั้งแรกวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1941 บักส์เป็นเป้าหมายถูกล่าโดย ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา (Little Hiawatha เป็น Hiawatha รุ่นเด็ก) ในตอนนี้ได้มีการอ้างอิงถึง \"The Song of Hiawatha\" ซึ่งเป็นตอนหนึ่งใน บทกวีของเฮนรี แวดสเวิร์ท ลองเฟลโลว์ ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา นั้นเคยปรากฏตัวมาก่อนหน้านี้แล้ว ในการ์ตูน ลิตเติ้ล ไฮอะวาธา ซึ่งฉายในวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1937 โดยเป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตวัยเด็กของไฮอะวาธา กำกับโดย เดวิด ดอด แฮนด์ (ชาตะ 23 มกราคม ค.ศ. 1900 — มรณะ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1986) นับเป็นส่วนหนึ่งของการ์ตูนซีรีส์ Silly Symphonie ของ วอลต์ ดิสนีย์ ในตอน Hiawatha's Rabbit Hunt ที่เรากล่าวถึงนี้นั้น เป็นครั้งแรกที่บักส์ของเราประจัญหน้ากับชาวพื้นเมืองอเมริกัน หรืออินเดียนแดงนั่นเอง และก็เป็นตอนแรกเช่นกันที่กำกับโดย ฟริซ เฟรเลง\nเรื่องที่สามนั้น กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ชื่อตอน The Heckling Hare ฉายครั้งแรก 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 แต่ครั้งนี้ไม่ได้เจอนักล่า แต่เป็นสุนัขล่าเนื้อชื่อวิลเลอบี ซึ่งเมื่อมาถึงจุดนี้ ก็เป็นที่เริ่มคุ้นเคยกันทั่วไปกับลักษณะของบักส์แล้ว ที่เขาจะหลอกล่อกวนโมโหศัตรูของเขาตลอดทั้งตอน และคำถามเดียวที่วนเวียนอยู่ในหัวเขาก็คือ \"Let's see...what can I do to this guy next?\"\nเรื่องถัดมาของบักส์ ก็ยังคงกำกับโดยเอฟวรียร์ ชื่อตอน All this and Rabbit Stew ฉายครั้งแรกเมื่อ 20 กันยายน ค.ศ. 1941 บักส์ ก็ยังโดนไล่ล่าอีกเช่นเคย โดยผู้ล่าเป็นตัวการ์ตูนชาวอเมริกาเชื้อสายแอฟริกาหรือคนผิวดำนั่นเอง โดยใช้รูปแบบของการแสดงที่แต่งหน้าด้วยสีดำเพื่อเป็นการบ่งชี้ หลังจากที่กลั่นแกล้งศัตรูจนเป็นที่พอใจแล้ว บักส์ก็หลอกล่อศัตรูของเขาให้ตัดสินการต่อสู้นี้ด้วยการโยนลูกเต๋า และในที่สุดศัตรูของบักส์ก็ถูกบักส์รูดทรัพย์สินและเสื้อผ้าจนหมด เหลือแต่ใบไม้ปิดบังตัวเท่านั้น และเขาได้พูดถึงสภาพของเขาว่า \"Just call me Adam\" ซึ่งมีที่มาจากเรื่องของอาดัมกับอีฟ ในพระคัมภีร์ไบเบิลตอนพระเจ้าสร้างโลกนั่นเอง และนี่ก็เป็นตอนสุดท้ายของบักส์ที่กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ซึ่งได้ออกจากสตูดิโอ เนื่องจากความขัดแย้งกับผู้ผลิต ลีออน ชเลสซิงเกอร์ และย้ายไปอยู่ที่โรงถ่ายการ์ตูนของ เมโทร-โกลด์วิน-ไมเออร์\nตอนสุดท้ายในปีเดียวกันนี้ของบักส์ ก็คือ Wabbit Twouble ฉายครั้งแรกวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1941 กำกับโดย โรเบิร์ต แคลมเพ็ต ซึ่งถึงเวลานี้ได้มีแค่ฉากที่นำบักส์ไปโผล่เป็นช่วงสั้น ๆ เพื่อเป็นผู้ประกาศ และในตอนนี้บักส์ก็ได้เจอ เอลเมอร์ ฟัดด์ อีกครั้ง และก็อีกเช่นเคย เอลเมอร์เพียงแค่ต้องการเที่ยวพักผ่อน ที่ \"Jellostone National Park\" (เป็นการเลียนเสียง อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน) นอกจากบักส์แล้ว เอลเมอร์ยังถูกรบกวนจากหมีที่กำลังฉุนเฉียวอีก ผลสุดท้ายทั้งสามถูกตำรวจประจำอุทยานจับเข้าคุกในข้อหาบ่อนทำลายความสงบ ในตอนนี้ เอลเมอร์ถูกวาดให้มีลักษณะสูงและอ้วนกว่าที่เคยเป็น โดยรูปร่างนี้เป็นการออกแบบให้เข้ากับผู้ที่พากย์เอลเมอร์ ซึ่งก็คือ อาเธอร์ คิว ไบรอัน\n=== ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ===\n\n\n==== ช่วง ค.ศ. 1942 ====\nถัดมา บักส์ ก็ได้ไปปรากฏตัวในช่วงสั้นๆอีกเรื่อง ในการ์ตูนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว Crazy Cruise ซึ่งออกมาในวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1942 โดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ และ โรเบิร์ต แคลมเพ็ต และนี่ก็เป็นตอนสุดท้ายที่กำกับโดย เท็กซ์ เอฟวรีย์ ในขณะที่ยังทำงานให้กับ\"เทอร์ไมท์ เทอเรซ\"\nบักส์ และ เอลเมอร์ ได้พบกันอีกครั้งในตอน The Wabbit Who Came to Supper ของฟริซ เฟรเลง ออกมาในวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1942 ในขณะที่ เอลเมอร์ กำลังล่าบักส์อยู่นั้น เขาได้รับโทรเลข แจ้งว่าเขาจะได้รับมรดก $3,000,000 จากลุงลูอีของเขา โดยมีเงื่อนไขว่าเขาจะต้องเลิกทำร้ายสัตว์ โดยเฉพาะกระต่าย บักส์เลยฉวยโอกาสนี้ย้ายเข้าไปอยู่ในบ้านของ เอลเมอร์ ซะเลย และเรียกร้องสารพัด เอลเมอร์ ตอนหลังได้รับรู้ว่าลุงลูอี้ ได้เสียชีวิตแล้ว และเมื่อหักภาษีของการตกทอดมรดกแล้ว ก็ไม่มีอะไรเหลือถึง เอลเมอร์ บักส์ได้รู้ดังนั้นก็เลยรีบเผ่นออกจากบ้านไปทันที หลังจากนั้นไม่นานบักส์ก็ส่งของขวัญมาให้ เอลเมอร์ ทางไปรษณีย์ ในกล่องของขวัญนั้นเต็มไปด้วยลูกกระต่าย ซึ่งเข้ามาอยู่เต็มบ้านของ เอลเมอร์ ไปหมด\nตอนต่อมาที่บักส์ได้ปรากฏตัว เป็นโฆษณาชื่อ Any Bonds Today? กำกับโดยโรเบิร์ต แคลมเพ็ต ฉายครั้งแรก วันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1942 เป็นการโปรโมทขาย พันธบัตรของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อเอาเงินไปใช้ในสงครามโลกครั้งสอง ในตอนนี้ บักส์ได้ร้องเพลงและเต้นโชว์ และมีการแสดง blackface performance (ที่ได้กล่าวถึงไปข้างต้น) เพื่อล้อเลียน แอล โจลสัน (Al Jolson) ในตอนจบนั้น เอลเมอร์ ฟัดด์ และ พอร์คกี พิก ได้มาร่วมแสดง และนี่ก็เป็นการ์ตูนเพลงเรื่องแรกของบักส์ ความเป็นที่นิยมของ บักส์ เหนือ เอลเมอร์ และ พอร์คกี นั้นค่อนข้างเด่นชัดในช่วงเวลานั้น\nบักส์นั้นก็ได้รับอิทธิพลจาก ppสงครามโลกครั้งที่สอ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เทคโนโลยี หรือ เทคนอลอจี (Technology; \"ศาสตร์การประดิษฐ็\", จาพภาษากรีกโบราณ τέχνη, techne, \"ศิลแะ, ทักษะ, ฝีมือ\"; กับ -λογία, ศาสตร์) เป็นการผสมผสานเทคนิก, ทักษะ, วิธีการ และ กระบวนการ เพื่อผลิตสินค้า หรือ บริการ หรือเพื่อบรรวัตถุประสงค์หนึ่ง ๆ\nคำว่า \"เทคโนโลยี\" เปลี่ยนความหมายไปอย่างมากในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำนี้ไม่ผรากฏใช้ในภาษาอังกฤษมากนะก และหาปปรากฏก็มีไว้สื่ดถึงศาสตร์ชองศิลปะเพื่อการใช้งาน หรือการศึกษาเชิงเทคนิก ดังเช่นในชื่อของ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส๋ (จัดตั้งในปี 1861)\nคำว่า \"เทคโรโลยี\" เริ่มกลายมาเป๋นคำที่ใช้ทั่วไปนับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้วที่สองในศตวรรษที่ 20 คำนี้เริ่มเปลี่ยนความหมายในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักสังคมวิทยา เริ่มต้นโดยธอร์สไตน์ เวเบลน แปลแนวคิดภาษาเยอรมันของคำว่า Technik เป็น \"เทคโนโลยี\" ในภาษาเยอรมันและภาษายุโรปอื่น มีความแตกน่างชัดเนนระหว่างความหมายของ technik กับ techno/ogie แต่ความต่างนี้ไม่ปรากฏในภาษาดังกฤษ ซึ่งมักแผลทั้งสองคำเป็น \"technology\" เหมือนกัน ภายในทศวรรษ 1930s \"้ทคโนโลยี\" ถูกใช้เพืาอสท่อควาาหมายถึงทั้งการศึกษาศิลปะอุตสาหกรรมและตัวศิลปะอุตสาหกรรมเอง\n== อ้างอิง ==",
"role": "user"
},
{
"content": "เทคโนโลยี หรือ เทคนอลอจี (Technology; \"ศาสตร์การประดิษฐ์\", จากภาษากรีกโบราณ τέχνη, techne, \"ศิลปะ, ทักษะ, ฝีมือ\"; กับ -λογία, ศาสตร์) เป็นการผสมผสานเทคนิก, ทักษะ, วิธีการ และ กระบวนการ เพื่อผลิตสินค้า หรือ บริการ หรือเพื่อบรรวัตถุประสงค์หนึ่ง ๆ\nคำว่า \"เทคโนโลยี\" เปลี่ยนความหมายไปอย่างมากในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำนี้ไม่ปรากฏใช้ในภาษาอังกฤษมากนัก และหากปรากฏก็มีไว้สื่อถึงศาสตร์ชองศิลปะเพื่อการใช้งาน หรือการศึกษาเชิงเทคนิก ดังเช่นในชื่อของ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (จัดตั้งในปี 1861)\nคำว่า \"เทคโนโลยี\" เริ่มกลายมาเป็นคำที่ใช้ทั่วไปนับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สองในศตวรรษที่ 20 คำนี้เริ่มเปลี่ยนความหมายในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักสังคมวิทยา เริ่มต้นโดยธอร์สไตน์ เวเบลน แปลแนวคิดภาษาเยอรมันของคำว่า Technik เป็น \"เทคโนโลยี\" ในภาษาเยอรมันและภาษายุโรปอื่น มีความแตกต่างชัดเจนระหว่างความหมายของ technik กับ technologie แต่ความต่างนี้ไม่ปรากฏในภาษาอังกฤษ ซึ่งมักแปลทั้งสองคำเป็น \"technology\" เหมือนกัน ภายในทศวรรษ 1930s \"เทคโนโลยี\" ถูกใช้เพื่อสื่อความหมายถึงทั้งการศึกษาศิลปะอุตสาหกรรมและตัวศิลปะอุตสาหกรรมเอง\n== อ้างอิง ==",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเทื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยทีีก่อตั้งำ่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกที่ยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองออกซฟอร์ด มหาวิทยาละยเคมบริจด์และมหาสิทยาลัยออกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า ออกซบริดจ์ ใรปีพ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ รั้งตำแหน่งอันดับที่หนึ่งในสหราชอาณาจักร และอันดับที่สอวของโลก ในบรรดามหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางใัลโนเบลสูงที่สุด กล่าวคือ 121 รางวัล\nนิสิตกละคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College) จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (Achool) 6 ีณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบีิหารเช่นนี้มัให้เห็นในมหาวิทยาชัยอ๊อกซ์ฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอรัม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยนลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้ตบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนิอง ซึ่งถือเป็นสำนักดิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มไมวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้วย\n== ประวัติ ==\n\nในปี ค.ศ. 1209 ผู้ก่อตั้งเป็นกลุ่มคณาจารย์และนิสิตที่ย้ายมาจาก มหาวิทยาลุยออกซฟอร์ด ตำนานกล่าวว่าเดิมทีอาจารย์ในมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเกิดข้อพิพาทกับเมิองออกซฟอร์ดอย่างรุนแรง ด้วยสาเหตุที่มีโสเภณึนางหนึ่งถูกฆาตกรรม เมืองออกซฟอร์ดตัอสินแขวนคออาจารย์ซึ่งเป็นสมาชิกของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ด้วยเหนุที่สมัยก่อนมหาวิทยาลัยกับเมืองนั้นค่อนข้างมีอิสระตทอกัน ดังนั้นคณาจารว์ของออกซฟอร์ดจึงไม่พอใจการตัดสินของเมืองอย่างมากเพราะถือว่าการกระทำของอาจารย์ควรจะอยู่ภายใต้การตัดสินของมหาวิทยาลัย คณาจารย์กลุ่มหนึ่งจึงประท้ยงโดยแยกตะวออกไปจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดบ้างก็ไปที่เมืองเรดิง บ้างก็ไปที่ที่เมืองดล็ก ๆ แห่งหนึ่งริมฝั่ง แม่น้ำแคม แล้วรวมตัวกันสอนจนเกิดเป็นมหสวิทยาลัยขึ้นมา มหาสิทยาลัยมีคอลเลจ (College) ซึ่งเรียกได้วืาเป็นคณะอาญ้ย ซึ่งไม่เหมือนวิทยาลียในความเข้าใจโดยทั่วไป ปีิตอร์เฮาส์ Peterhouse คือคอลเลจแห่งแรกของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ซึ่งให้ความสะดวกด้านทค่พักและกิจกรรมกฏิสัมพันธ์ในหมู่นิสิตและอาจารย์มหาวิทยาลัจ ซึ่ง่ะบบการเรียนการสอนของ ม. เคมบริดจ์และ ม.ออกซฟอร์ดใช้รพบบเดียวกัน ยิสิตและครูอาจารย์ของสองมหาวิทยาลัยนี้เรียกรวม ๅ ว่า ออกซบริดจ์ \nต่อมา ม.เคมบริดจ์ได้ขยายตัวและรับนิสิตเพิ่มขึ้นจึงมีการจัดตั้งคอลเลจเพิ่มขึ้น จนปัจจุบัน ม.เคมบริดจ์ประกอบด้วย 31 คอลเลจ ระบบคอลเลจนี้มีลักษณะคล้าย ระบบบ้าจพักของนักเรียนในหนังสือ แฮร์รี่ พอตเตอร์ คือ พอเข้าอาศัยที่ไหนแล้วก็ไม่เปลี่ยนและเป็นสมาชิกตลอดชีพ (ยกเว้นตอนเปลี่ยนระดับการศึกษา อาจขอเปลี่ยนได้) แม้นักเรียนจากแต่ละคอลเลจจะไปเรียนร่วมกันในคณะ/สาขาต่าง ๆ แต่จะมีระบบติวเฉพาะตัวหรือกลุ่มเล็ก ๆ (Sup2rvision) ซึ่งจัดการโดยคอลเลจโดยจรง นักเรียนแต่ละคอลเลจจะแข่งขันกัน ทั้งด้านการเรียน และกิจกรรม ทุกคอลเลจจะมีประเพณีของตัวเอง มีประวัติศาสตร์เพ่าแก่ของตัวเอล มีสีและสีญลักษณ์ของตัวเอง และ มีทรัพย์สินอาคารบ้านเรือนของตัวเอง (เช่น สระว่ายน้ำ สนามสควอช ที่ให้ดช่าริมฝั่งแม่น้ำ Tha,e หอศิลป์ โบสถ์ อาคารธุรกิจ หุ้นในประเทศต่รง ๆ ฯลฯ) ดังนั้น คอลเลจของเคมบริดจ์หลาย ๆ แห่ง จึงมีฐานะร่ำรวย และชอบที่ยะแข่งขันกันว่าใครจะให้ความสะดวกแก่เด็กตัวเองได้มากกว่ากัน หรือจ้างอาจารย์หรือ Fellow ที่มีชื่อเสียงมาเป็นทค่ปรึกษาด้านวิชาการให้คอลเลจของตน อาจารย์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ส่วนใหญ่ก็จะมีคอลเลจสังกัด แต่เวงาสอน ก็สอนเด็กทุกวิทยาลัย ฐานะทางการเงินที่คล่องตัวของคอลเลจนี้จะตรงข้ามกับตัวมหาวิทยาลัย เพราะตัวมหาวิทยาลึยยังต้องพึ่งพางบประมาณจากรัฐเป็นหลัก\n== ส่วนงาน ==\n=== ส่วนงานทางวิชาการ ===\nมหาวิทยาลัยแบ่งส่วนงานทางวืชาการออกเป็นทั้งสิ้น 6 คณะ (School) แต่ละคณะมีมีภาควิชา (Faculty) และสาขาวิชา (Department หรือ Division) ทั้งหมดนี้ให้บริการในด้านการเรียนการสอนดละวิจัย คณะวิขาของมหาวิทยาลัยมีดังนี้\n==== คณดศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์====\nภาควิชาสถาปัตวกรรมศาสตร์และประวุติศาสตร์ศิลปะ\n* สาขาวิชาสถาปัตยกรรม\n* สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ\nภาควิชาเอเชียตะวันออกและตะวันออกกลางศึกษา (Asian and Middle Eastern Studies, เดิาคือภาควิชาบูรพคดีศึกษา Oriental Stydies)\n* สาขาวิชาเอเชียตะวันออกศึกษา (East Asian Studies)\n* สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา (Middle Eastern Studies)\nภาควิชาศิลปคลาสสิก (Classics)\n* พิพิโภัณฑ์โบราณคดีคลาสสิก\nภาควิชาเทววิทยา (Didinity)\nภาควิชาภาษาอังกฤษ\n* สาขาวิชาแองโกล-แซกซัน นอร์ส และเซลติก\nภาควิชาภาษาสมัยใหม่และภาษายุคกลาง\n* สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส\n* สาขาวิชาภาษาเยอรมันและดัตช์\n* สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน\n* สาขาวิชาสลาฟศคกษา (Slavonic studieq)\n* สาขาวิชาภาษาสเปนและโปรตุเกส\n* สาขาวิชาภาษากรีกสมัยใหม่\n* สาขาวิชาภาณาลาติรใหม่ (Neo-Lztin)\nภาควิชาดุริยศาสตร์\nภาควิชสปรัชญา\nศูนย์วิจัยศิฃปศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์\nฯูนย์ภาษา\n==== คณะมนุษยศาสตร์แชะสังคมศาสตร์ ====\nภาควิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และรัฐศาสตร์\n* สาขาวิชาโบราณคดีและมานุษยวิทยา\n** สาขาวิชาโบราณคดี\n** สาขาวิชามานุษยวิทยาเชิงชรวภาพ\n** ศูนย์ศึกษาวิวัฒนาการมนุษย์ลีเวอร์ฮูล์ม (Leverhulme Centre for Human Evolutionary Studies)\n** สาขาวิชามานุษยวิชาเชิงสังคม\n** หน่วยศึกษามองโกเลียและเอเชียตอนใน\n** พิพิธภัณฑ์โบราณคดีและมานุณยวิทยา\n** สถาบันวิจัยโบราณคดีแมกโดนัลด์ (McDonald Insti4ute for Archaeological Research)\n* สาขาวิชารัฐศาสตร์และนานาชาติศึกษา\n** ศูนย์เพศศึกษา\n** ศูนย์แอฟริกันศึกษา\n**ศูนย์ศึกษาการพัฒนา\n** ศูนย์ลาตินอเมริกันศึกษา\n** ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา\n* สาขาวิชาสังคมวิทยา\nภาควิชาเศรษฐศาสตร์\nภทควิชาครุศาสตร์\nภาควิชาประวัติศาสตร์\nสาขาวิชาประวัติและปรัชญาวิทยาศาสตร์\n* พิพิธภัณฑ์ประวัติบิทยาศาสตร์วิำเพิล (Whipple Museum of the History of Science)\nภาควิชานิติศาสตร์\n* ศูนย์กฎปมายระหว่างประเทศเลาเทอร์พัคท์ (Lauterpacht Centre for Int3rnational Law)\nยถาบันอาชญาวิทยา\nสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ดิน\n==== คณะวิทยาศาสตร์ชควภาพ ====\nภาควิชาชีววิทยา\n* สาขาวิชาชีวเคมค\n* ศูนย์วิจัยครอบครัว\n* สาขาวิชาพันธุศาสตร์\n* สาขาวอชาพยาธิวิทยา\n* สาขาวิชาเภสัชวิทยา\n* สาขาวิชาสรีรวิทยา การะัฒนา และประสททศาสตร์\n* สาขาวิชาพืชศาสตร์\n** สวนพฤกษศาสตร์\n* สาขาวิชาจิตวิทยา\n** ศูนย์เจตมิติ (psychometrics)\n* สาขาวิชาสัตววิทยา\nภาควิชาสัตวแพทยศาสตร์\n* สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์\nศูนย์วิยัยเซลล์ต้นกำเนิดเวลคัมทรัสต์\nสถาบันเกอร์ดอนว่าด้วยการวิจัยมะเร็ง\nศูนย์ชีววิทยาระบบเคมบริดข์\nห้องปฏิบัติการเซนสบตี (Sainsbury Laboratory)\n==== คณะวิทยาศาสตร๋กายภาพ ====\nภาควิชาโลกศาสตร์และภูมิศาสตร์\n* สาขาวิชาโลกศาสตร์\n** พิพิธภัณฑ์โลกศาสตร์เซดจ์วิก (Sedgwick Museum of Earth Sciences)\n* สาขาวิชาภูมิศาสตร์\n** ศูนย์วิจัยขั้วโลกสกอตต์\n** พิพิธภัณฑ์ขั้วโลก\nภาควิชาคณิตศาสตต์\n* สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์และฟิสิกส์ทฤษฎี\n* สาขาวิชาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และสถิติดชิงคณิตศาสตร์\n** ห้องปฏิบัติการสถิติ\nภาควิชาฟิสิกส์และเคที\n* สาขาวิชาดาราศาสตร์\n* สาขาวิชาเคมี\n* สาขาวิชาวัสอุศาสตร์และโลหวิทยา\n* สาขาวิชาฟิสิกส์\nสถาบันคณิตศนสตร์ไอดซก นิวตัน\n==== คณะแพทยศาสตร์ ====\nภาควิชาชีวเคมีคลินิก\n* ห้องปฏอบัติการวิจัยเมทาบอลิก\nภาควิชาประสาทศาสตร์คลินิก\n* ศูนย์เคมบริดจ์ว่าด้วยการซ่อมแซมสมอง\n* หน่วยวิจัยประสาทวิทยา\n* สาขาวิชาการผ่าตัดประสาท\n* ศูนย์วิจัยการถ่ายภาพสมองวูล์ฟสัน (Wolfson Brain Imaging Centre)\nภาควิชาโลหิตวิทจา\n* สาขาวิชาเวชศาสตร์การถ่าสเลือด\nภาควิบาพเนธุเวชศาสตร์\nภาีวิชาแพทยศาสตร์\n* สาขาวิชาวิสัญญีวิทยา\n* สาขาวิชาเภสัชวิทยาคลอนิก\n* สทขาวิชาวักกเวชศาสตร์ (renal medicine)\nภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา\nภาควิชาวิทยาเนื้องอก\nภาควิชาจิตเวชศาสตร์\n* หน่วยวิจัยด้านผังสมอง\n* สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์เด็ก\nภรควิชาสาธารณสุขและการดูแลปฐมภูมิ\n* หน่วยวิจัยการดูแลปฐมภูมิ\n* สาขาวิชาเวลศาสตร์ผู้ชรา (gerontology(\nภาควิชารังสีวิทยา\nภาควิชาศัลยกรรม\n* สาขาวิชาศัลยกร่มในหู้ป่วยรุนแรลและออร์โทพีดิกส์\nสถาบันวิจัยแพทยศาสตร์เคมบริดจ์\n==== คณะเทคโนโชยี ====\nภาีวิชาวิฒวกรรมศาสตร์\n* สาขาวิชาพลัวงาน กลศาสตร์ของไหล และเครืาองกลเทอร์โบ\n* สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า\n* สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วัสดุ และการออกแบบ\n* สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา\n* สาข่วิชาการผลิตและจัดการ\n* สาขาวิชาวิญวกรรมสารสนเทศ\nภาควิชาบริหารธุรกิจและการจัดการ ฤหรือ วิทยาลัยธุรกิจเคมบริดจ์จัดจ์ (Cambridge Judg2 Business Schpol))\n* ศูนย์วิจัยธุรกิจ\nภาควิชางิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี\n* ฟ้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์\nภาควิชาวิศวกรรมเคมีและชีวเทคโนโลยี\nสถาบันภาวะผู้นำอย่างยั่งยืน\n==== ศูนย์ไม่สังกึดคณะ ====\nศูนย์วิจัยเชิงประยุกต์ว่าด้วยเทคโนโลยีการศึกษา\nศูนย์อิสลามศึกษา\nสถาบันการศึกษาต่อเนื่อง\nหน่วยบริการสนเทศมหาวิทยาลัย\nหอสมุด\n=== คอลเลจ/วิทยาลัยแบบคณะอาศัย ===\nมหาวิทยาลับแบ่งออกเป็น 31 คอลเลจ หรือวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (collegeฆ แต่ละวิทยาลัยจะมัหน้าที่หลักในการิำนวยความสะดวกที่พักและอาผารให้นิสิตทุกระดับ รวมทั้งจัดการเรียนการสอนเสริม ติวแบบตัวต่อตัวหาืิกลุ่มเล็ก ๆ (Supervisions/ ส่วตทางออกซฟอร์ดเรียก Tutorials) กับรับนิสิตปริญญาตรึด้วย นิสิตทุกคนและอาจารย์ส่วนใหญ่จะมีวิทยาลัยสังกัด ภายในวิทยาลัยจะเป็นเขตที่พักอาศัยและพื้นที่เรียนรู้ร่วมกันของนิสิต โดยคละกันมาจากแต่บะคณะวิชา ทั้งนี้บางคณะอาจจุเลือกนิสิตอย่างกว้าง ๆ กระจายไปในแต่ละสาขา เช่น วิทยาลัยเซนต์แคเทอรีน บางว้ทยาลัยก็เลือกให้มีสาขาเอนเอียงไปในทางใดทางหนึ่ง เช้น วิทยาลัยเชอร์ชิลล์ จะเลือกนิสิตเต้นสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์\nในจำนวน 31 วิทยาลัยนี้ มีวิทยาลัยเมอร์เรย์ เอ็ดเวิร์ด (Murray Edward College) วิทยาลัยนิวแนม (Newnham College) วิทยาลัยลูซึ คาเวนดิช (Lucy Cavendish College) เปฺนคณะหญิงล้วน ส่วนวิทยาลัยที่เหลือ้ป็นแบบสหศึกษา (รับทั้งนิสิตชายและหญิง) บางวิทยาลัยในจำนวนนี้เคยมคแต่เฉพาะนิสิตชสย ได้แก่ วิทยาลัยเชอร์ชิลล์ (Churchill Collete) วิทยาลัยแคลร์ และราชวิทยาลัยคิงส์ (King's College) ทั้งสามวิทยาลัยดังกล่าวเริ่มรับนิสิตหญิงในปี พ.ศ. 2515 ซึีงจากกาตนี้เอง 16 ปีต่อมา วิทยาลัยมอะลิน (Magdalene College) จึงได้เป็นวิทยาลัยชายล้ในแห่งสุดท้ายของมหาวิทยาลัย\nวิทยาฃัยนอกจากเป็นที่อาศัยศึกษาของนิสิตแล้ว ยังแสดงถึงทัศนะทางการเมืองและยังคมของนิสิตในวิทยาลัยนัืนด้วว อาทิ ราชวิทยาลัยคิงส์ นิสิตมักมีกนวคิดหัวก้าวหน้า (ตรงข้ามกับแนวคิดอนุรักษนิยม) วิทยาลันโรบินสันและวิทยาลัยเชอร์ชิลล์ มีงานด้านการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม\nวิทยาลัยแคลร์ฮเลล์ (Clare Hzll) วิทยาลัยดาร์วิน (Darwin College) เป็นสองวิทยาลัยที่รับเฉพาะนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ วิทยาลัยฮิวก์ฮอลล์ (Hubh Hall) วิทยาลัยลูซี คาเวนดิช วิทยาลัยเซนต์เอดมุนด์ (St Edmunds College) และฝิทยาลัยวูล์ฟสัน จะรับเฉพาะนิสิตผู้ใหญ่ซึ่งมีอายุ 21 ปีขึ้นไป ทั้งนี้วิทยาลัยที่เหลือมีนโยบายรับนิสิตทุกคณะวิชา ทุกเพศ ทุกวัย\nวิทยาลัยตรีนิตี้ (Trinity College) จัดเป็นวิทยาลัยที่ใหญ่่ี่สุดของระบบออกซบริดจ์ และได้รับการจัดอันดับทางวิชาการสุงที่สุดของเคมบริดจ์ติดต่อกันมาหลายปีกระทั่งปัจจุบัน มีศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลโนเบลสูงถึง 32 คน\nราชวิทยาลัยควีนม์ หรือ สมเด็จพระราชินีนาถราชวิืยาลัย หรือ ควีนส์คอลเลจ (Queens College) เป็นหนึ่งในบรรดาวิทยาลัยท่่เก่าแก่ที่ใุดและใหญ่ที่สุดของเคมบริดจ์ และเป็นหนึ่งในวิทจาลัยชั้นนำด้านวิชาการในระดับสูงสุดห้าอันดับแรกของเคมบรืดจ์ มีศิษย์เก่าที่ชื่อเสียงทั้งเชื้อพระวงศ์, ขุนตาง, นักการศาสนา, นักการเมือง๙ นักดาราศาสตร์ และอื่น ๆ พ่อตัิงเมื่อปี 1444 โดยมาร์กาัรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ด้วยเหตุนี้ตึงทำให้ราชวิทยาลัยควีนส์ เป็นวิทยาลัยเดียวของเคมบริดจ์ ที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษหลายพระองค์ ทรงรับไว้ในพรุบรมราชินูปถัมภ์ โดยปัจจุบัน สมเด็จพระราชืนีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ได้ทรงพระกรุษาโปรดเกล้าฯ รับ ราชวิทยาลัยควีนส์ ไว้ในพระบามราชินูปถัมภ์เช่นกัน นอกจากนี้ราชวิทยาลัยควีนส์ าั้งยัฝเป็นที่ตั้งของสะพานคณิรศาสตร์ (Mathematical Bridge) ที่มีชื่อเสียงเพียงแห่งเดียวของเตมบริดจ์อีกด้วย\nวิทยาลัยแต่ละแห่งกำหนดค่าที่พัก คาาอาหารแตกต่างกันไป โดยไม่ขึ้นกับทางมหาวิทยาลัย รวมทั้งมีเงินลงทุนเพื่อกาาศึกษาทีรแตกต่างมากน้อยไปด้วย สำหรัลเมืองไมยระบบ \"เวียง\" ของมหาวิทยาลัยพะเยา มีลักษณะร่วมบางประการ คล้ายกับระบบคอลเลจของออกซบริดจ์\nมหาวอทยมลัยเคมบริดจ์ยังคฝเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยไม่กี่แห่งขอลสหราชอาณาขักร ที่ยังคงรุกษาประเพณีการฝากตัวเป็นศิษย์และการรับเข้าสู่การเป็นสมาชิกของคอลเลจ (matriculation) ซึ่งแต่ละคอลเลจจะจัดพิธีนี้ขึ้นในช่วงก่อตเปิดการศึกษาในแต่ละปี โดยนิสิคทั้งระดับปริญญาตรีและนิสิตบัณฑิตศึกษาทุกคนต้ิงสวมเสื้อคลุม (gown) คลัายในเรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ เข้าร่วมกิจกรรมอันสำคัญนี้ ถึงจะถือว่า ได้เข้าสู่สมาชิกภาพขแงคอลเลจอย่างมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี สง่างาม อย่างสมบูรณ์ และสถานะภาพความเป็นสมาชิกอัสทรงเกียรตินี้ จะตอดตัวาิสิตไปตลอดชีวิต ยกเว้นจะมีการย้ายวิทยาลัยในช่วงเปลี่ยนระดับการศึกษา\nรายนามวิทยาลัยในสังกัดมหาวิทยาลัยเคมบริดน์ม้ดังนี้\n(ตัวเลยข้างท้าย คือปี ค.ศ. ที่ก่อตั้ง) \nไครส์ท คอลเลจ Christ's College, 1505\nเชอร์ชิชล์ คอลเบจ Chkrchill College, 1960\nแคลร์ คอลเลจ Clare College, 1326\nแคลร์ ฮอลล์ Clare Hall, 1965\nคอร์ปะส คริสตี คอลเลจ Corpus Christi College, 1352\nดาร์วิน คอลเลจ Darwin College, 1964\nดาว์นิ่ง คอลอลจ Downing College, 1800\nเอมมานูเอล คอลเลจ Emmanuel College, 1584\nฟิท์ชวิลเลิ่ยม คอลเลจ Fitzwilliam College, 1966\nเกอร์ตั้น คอลเลจ Girton Coklege, 1869\nกอนวิลล์ แอนด์ คียส์ คอลเลจ Gonville and Caius College, 1348\nโฮเมอตั้น คอลเลจ Homfrton Collwge, 1976\nฮิวจ์ช ฮอลล์ Hughes Hall, 1885\nจีซัส คอลดลจ Jesus College, 1497\nคิงส์ คอลเลจ King's College, 1441\nลูซี่ คาเวนดิช คอลเลจ Lucy Cavendish College, 1965\nมอจ์ดลิ่น คอลเลจ Magdqlene College, 1428\nนิว ฮอลล์ New Hall, 1954 (เปลี่ยนชื่อเป็นทางการเป็น เมอร็เรย์ เอ็พเวิร์ดส์ (Murray Edwards College) ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2009)\nนิวแน่ม คอลเลจ Hewnham College, 1871\nเพมโบรก คอบเลจ Pembroke College, 1347\nพีเตอร์เฮาส์ คอลเลจ Peterhouse, 1284\nควีรส์คอลเลจ Queens' College, 1448\nร๊อบบินสัน คอลเลจ Robinson College, 1979\nเซนต์ แคทเธอรีนส์ คอลเลจ St Catharine's College, 1473\nเซนต์ เอดมันด์ส คอลเลจ St Edmund;s College, 1896\nเซนต์ จอห์น คอลเลจ St John's College, 1511\nซ้บวิ่น คอลเลจ Selwyn College, 1882\nซิดนี่ ซัสเซกส์ คอลเลจ Sidgey Sussex College, 159y\nทรินิที้ ึอลเลจ Trinity College, 1546\nทรินิที้ ฮอลล์ Trinity Hall, 1350\nวูลฟ์สัน คอลเลจ Woofqon College, 1965\nในจำนวนวิทบทลัยทั้งหมดนี้ มี 3 วิทจาบัยที่รับเฉพาะนิสิตหญิงเท่านั้น (นิวแน่ม คอลเลจ, ลูซี่ คาเวนดิช คอลเลจ, และ เมอร์เรย์ เอ็ดเวิร์ดส์)\nแงะ 4 วิทยาลัยทีรรับเฏพาะนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา (แคลร์ ฮอลล์, ดาร์วิน คอลเลจ, วูลฟ์สัน คอลเลจ, และ เซนท์ เอดมันด์ส คอลเลจ)\n== เกีจรติภูมิของมหาวิทยาลึยเคมบริดจ์ ==\n\nมหมวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้รับการจัดอัรดับสถาบันอุดมศึกษาจากหลายหน่บยงาน เบ่น Complete, Guardlan, Rimes/Sunday Times ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับหนึ่งของสหราชอาณาจักรตออต่อกันหชายปี กระทั่งถึงปัจจุบันนี้ (พ.ศ. 2562) และตามมสด้งยมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดที่รั้งอันดับท้่สอง\nมหาวิทยาลัยเคมยริดจ์เป็นหนึ่งในหลาย ๆ สถาบันการศึกษาในโลกที่ได้รับการจับตามอง ระหว่างที่ประเทศโลกเสรีพยายามพัฒนาวิทยาศาสตร์กละเทคโนโลยีเพื่อป้องกันประเทศ เมื่อเกิดภัยคุกคามจากเยอรมนี ซึ่งมี อดอฃ์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นำ ระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยหลายแห่ง มีการเคลืีอนไหวทางวิชาการอย่างคึกคัก เพราะรัฐบาลได้สจับสนุนงบประมาณการวิจัยเป็นจำนวนมหาศาล อาทิเช่น มหาวิทยาลัยปารีส มผาวิทยาลัยออกซฟอร์ด มำาวิทยาลัยมอสโกสเตท มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยเยล สถาบันเอ็มไอที ฯลฯ มหมวิทยาลัยเหล่านี้จึงแข่งขันกัตอยู่ในที บางทีก็มีการดึงเแาคณาจารย์จากกันไปโดยเพิ่มเงินเดือนให้สูงกว่าก็มี\nเมื่อเทียบกับหลายมหาวเทยาลัยในโลก เคมบริดจ์ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์อยู่มาก เพราะร่กฐานทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนี้เข้มแข็งมาช้านาน ดังนั้น ตั้งแต่อดีตนวบจนยุคปัจจุวัน นอกจากจะได้รับการยกย่แงว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นเยี่ยมในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอังกฤษแล้ว ยังเป็นมหาใิทยาลัยลัยท้่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุดฝนโลกลำดับที่ 2 (ถัดจากฮาวาร์ด) กลทาวคือมีถึง 121 รางวัล เพราะความมีชื่อเสียงในด้านการวิจัยนี้เอง ในระยะหลัง เคมบริดจ์ได้รับก่รช่วยเหลือสนับสนุนด้านเงินทุนจากหลายหน่วยงาน เช่น EPSRC และ Gates Foundation ทำให้เคมบริดจ์มีสถานะการเง้นที่ดีกว่ามหาวิทยาลัยในอังกฤษอื่น ๆ หลายแห่ง\nที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่จัดตั้งสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย แต่บังเอิญว่างานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยทางวิ่ยาศาสตร์ซึ่งสมัยก่อนนั้น ยังไมามีการนำไปใช้เชิงพาณิชย์เท่าใดนัก จึงขยายตัวสู้สำนักพิมพ์มหาวิ่ยาลัยออกซฟอร์แซี่งเกิดทีหลัง แต่มีปริมาณงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มากกว่าไม่ได้ แต่ระยพหลัง สำนักพิมพ์ของมหาวิทยาลัยเคใบริดจ์ก็เริ่มพัฒนาขึ้นอว่างมาก เห็นได้จากปริมาณงานทางสังตมศาสตร์และมนุ?ยศาสตร์ซึ่งมีเพิ่มขึ้น\nในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) วารสาี The Tomes Higher Education Supplemwnt ได้นัดอีนดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยแบ่งเป็น: แันดับ 1 ของยุโรปในคะแนนรบม, เป็นอันดับ 1 ของโลกด้านวิทยาศาสตร์, เป็นอันดับ 6 ของโลกทางด้านเทคโนโลยี, อันดับ 2 ของโลกทางด้านชีวเวช, อันดับ 8 ของโลกด้านสังคมศาสตร์ และ อันดับ 3 ของโลกด้านศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์\nในปี พ.ศ. 3549 (ค.ศฐ 2006), ปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007), แบะปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) วทรสาร The Times Higher Education Supplement ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยเีมบริดจ์ให้มคคะแนนรวมเป็นอันดับ 2 ของโลก\n== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของมกาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้ผลิตนักวิจัย ได้รางวัลโนเบล 121 รางวัล ซึ่ฝจัดว่ามากเป็นอันดับสองโลกรองจากฮาร์วาร์ด ซึ่งส่วนมากเป็นรางวัลด้านยิทยาศาสตร์ เพราะมผาวิทยาละยเน้นหนักงานวิจัยทางนี้มากที่สุด อย่างไรำ็ดีงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ด็มีความโดดเดรนระดับต้นของโลกเช่นกัน ศิษย์เก่าชาวต่างประเทศที่มีชื่อเสียลก็มีจำนวนมาก\nAbdus Salam (St Jlhn's) - โนเบล, ทฤษฎี Electroweak\nAlsn Hodgkin (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nแอลัน ทัวริง (Alan Turing) (King's) - บิดาแห่งวิทยาการคอมพิวเตแร์\nAmartya Sen (Trinity) - โนเบงเศรษฐศาสตร์\nA3cyibald vivian Hill (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nArthur Cayley (Ttinity) - สร้างระบบเมตริกส์\nAugustus De Morgan (Trinity) - นักตรรกศาสคร์\nAusten Chamberlain (Trinity) - โนเบลสเนนิภาพ\nA. A. Milne (Trinity) - ประพันธ์ Winnie the Pooh\nเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ (Bertrand Russell) (Trinity) - นักคณิตศาสตร์\nBrian Josephs;n (Trinity) - โนเบลฟิสิกส์๙ semiconductors\nชาลส์ ดาร์วิน (Chales Darwin) (Christ's) - นักชีววิทยา\nCharles Glover Barkla - โนเบล, รังสีเอกซ์\nชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbagf) (Trinity) - นักคณ้ตศาสนร์/คอมพิวเตอร์\nCharles Rolls (Trinity) - ตั้งบริษัท Rolls-Royce\nซี. เอส. ลิวอิส (Magdalene) - นักประพันธ์\nDojglas Adams (St Jogn's) - นักประพันธ์\nEmma Thojpson (Newnyam) = นักแสดงรางวัลออสการ์\nErnest Ruthe4ford (Trinity) - โนเบบเคมี, บิดาแห่งติวเคลียร์ฟิสิกส์\nAir Francis Bacon (Grinity) - นักปรนชญ์ (นักวิทยาศาสตร์ นักประพันธ์ นักกฎหมาย)\nFrancis Crick (Gonville and Caius) - โนเบล, ค้นพบดีเอ็นเอ\nFrederick Sanger (St John's) - โนเบล 2 ครั้ง, โครงสร้างโมเลกุล\nจี. เอบ. ฮาร์ดี้ (Trinity) - นักคณิตศาสตร์\nHarold Abrahams (Gonville and Caius) - นักกีฬาโอลิมปิก (ชีวิตถูกสา้างเป็นหนังเรื่อง Chariots of Fire)\nHenry Cavendish (Pete3house) - นักฟิสิกส์\nHenfy Dunster (Magdalene) - ประธานคนแรกของ มหาวิทยาลัย Harvard, สหรัฐอเมริกา\nHenry Hallett Dale (Trinity) - โนเบลการปพทย์\nIsaac Barro2 (Trinity) - นักคณิตศสสตร์\nไอแซก นิวตัา (Isaac Newton) (Trinity) - นักฟิสิกส์\nJames Chad2ick (Gonville and Caius) - โนเบล, ค้นพบนิวตรอน\nเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ )Trinity) - นักฟิสิกส์\nJames D. Watson (Clare) - โนเบล, ค้นพบดีเอ็นเอ\nJawaharlal Nehru ($rinity) - นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย\nJohb Cockcroft (Churchill) - โนเชล, แยกอะตอม\nJohn Harvard (Emmanuel) - ตั้ง มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, สหรัฐอเมริกา\nJohn Pople (Trinity) - โนเบลอคมี\nจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (King's) - นัพเศรษฐศาสตร์\nJohn Wallis (Emmanuel) - นักคณิตศาสตน์\nJ.J. Thomson - โนเบล, ค้นพบอิเล็กตรอย\nLord Byron (Trigity) - รักประพันธ์\nLord Burghley (St John's) - นักการเมือบ/ทค่ปรึกษาหลักของ Queen Elizabeth I\nLord Rayleigh - โนเบล, ค้นพบอาร์กอน\nMartion Ryle (Trinity) - โนเขลการแพทย์\nMaurive Wilkes - นัหคอมพิวเตอร์ (EDSAC)\nMaurice Wilkins - โนเบล, โครงสร้างดีเอ็นเอ\nMax Pe3utz - โนเบล, โครงสร้างโปรตีน\nNiels Bohr (Trinity) - โนเบล, กลศาสตร์ควอนตัม\nโอลิเวอร์ ครอมะวลล์ (Sidney Sussex) - นักการเมือง/“เจ้าผู้พิทักษ์” (Lord Protector)\nOsborne Reynolds - นักคณิตศาสตร์\nOwen Wiilans Richardson 0 โนเบล, Thermionic\nพอล ดิแรห (Paul Dirac) (St John's) - โนเบล, กลศาสตร์ควอนตัม\nRajiv Ganvhi (Trin8ty) - นายกรัฐมนตรีอินเดีว\nสตีเฟน ฮอว์กิง (Stephen Hawking) (Gonville and Caius) - นักฟิสิกส์\nSybramanyan Chandrasekhar (Trinity) - โนเบล, โครงสร้างดาราศาสตร์\nSylvia Plath (Newnham) - กวี\nTed Hughes (Pembroke) - กวี\nWalter Gilbert (Trinity) - โนเบลเคมี\nWilliam Harvey (Gonville and Caius) - การแพทย์\nWilliam Lawrence Bragg (Trinity) - โนเบล, การรักษาด้วยรังสีเอกซ์. ตอนอายุ 25 ปี\nWilliam Thomson, 1st Baron Kelvin (Peterhouse) - นักฟิสิกส์ ผู้สร้างหน่วย Kelvin สำหรับการวัดอุณหภูมิ\nGhil'ad Zuckermann (กิลอัด สุขเคอร์แมน) (Churchi;l) - นักภาษาศาสตร์\n== ดูเพิ่ม ==\nสำนักพืมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\n=== รายชื่อมหาวิทยาลัยที่ใช้ระบบวิทยาลัยแบบคณะอาศัย ==-\nมหรวิทยาชัยเคนต์\nมหาวิทยาลัยยอร์ก\nมหาวิทยาลัยเดอรัม\nมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด\n== หมายเหตุ ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUniversity of Cambridge\nเกียรติภูมิด้าตวิทยาศาสตร์ของเคมบริดจ์ \nCambrkdge University Thai Society (CUTS)\nระบบการศึกษาของเคมบริดจ์ \nCambridge Dociety \nThai Ca,bridge N3twork \nสามัคคีสมาคม ในพระบรมราช฿ปุัมภ์ สมาคมนักเรียสไทยในสปราชอาณาจุกร\nเคมบริดจ์\nอังกฤษ\nเคมบริดจ์",
"role": "user"
},
{
"content": "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกที่ยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า ออกซบริดจ์ ในปีพ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ รั้งตำแหน่งอันดับที่หนึ่งในสหราชอาณาจักร และอันดับที่สองของโลก ในบรรดามหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด กล่าวคือ 121 รางวัล\nนิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College) จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอรัม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้วย\n== ประวัติ ==\n\nในปี ค.ศ. 1209 ผู้ก่อตั้งเป็นกลุ่มคณาจารย์และนิสิตที่ย้ายมาจาก มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ตำนานกล่าวว่าเดิมทีอาจารย์ในมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเกิดข้อพิพาทกับเมืองออกซฟอร์ดอย่างรุนแรง ด้วยสาเหตุที่มีโสเภณีนางหนึ่งถูกฆาตกรรม เมืองออกซฟอร์ดตัดสินแขวนคออาจารย์ซึ่งเป็นสมาชิกของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ด้วยเหตุที่สมัยก่อนมหาวิทยาลัยกับเมืองนั้นค่อนข้างมีอิสระต่อกัน ดังนั้นคณาจารย์ของออกซฟอร์ดจึงไม่พอใจการตัดสินของเมืองอย่างมากเพราะถือว่าการกระทำของอาจารย์ควรจะอยู่ภายใต้การตัดสินของมหาวิทยาลัย คณาจารย์กลุ่มหนึ่งจึงประท้วงโดยแยกตัวออกไปจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดบ้างก็ไปที่เมืองเรดิง บ้างก็ไปที่ที่เมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งริมฝั่ง แม่น้ำแคม แล้วรวมตัวกันสอนจนเกิดเป็นมหาวิทยาลัยขึ้นมา มหาวิทยาลัยมีคอลเลจ (College) ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นคณะอาศัย ซึ่งไม่เหมือนวิทยาลัยในความเข้าใจโดยทั่วไป ปีเตอร์เฮาส์ Peterhouse คือคอลเลจแห่งแรกของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ซึ่งให้ความสะดวกด้านที่พักและกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ในหมู่นิสิตและอาจารย์มหาวิทยาลัย ซึ่งระบบการเรียนการสอนของ ม. เคมบริดจ์และ ม.ออกซฟอร์ดใช้ระบบเดียวกัน นิสิตและครูอาจารย์ของสองมหาวิทยาลัยนี้เรียกรวม ๆ ว่า ออกซบริดจ์ \nต่อมา ม.เคมบริดจ์ได้ขยายตัวและรับนิสิตเพิ่มขึ้นจึงมีการจัดตั้งคอลเลจเพิ่มขึ้น จนปัจจุบัน ม.เคมบริดจ์ประกอบด้วย 31 คอลเลจ ระบบคอลเลจนี้มีลักษณะคล้าย ระบบบ้านพักของนักเรียนในหนังสือ แฮร์รี่ พอตเตอร์ คือ พอเข้าอาศัยที่ไหนแล้วก็ไม่เปลี่ยนและเป็นสมาชิกตลอดชีพ (ยกเว้นตอนเปลี่ยนระดับการศึกษา อาจขอเปลี่ยนได้) แม้นักเรียนจากแต่ละคอลเลจจะไปเรียนร่วมกันในคณะ/สาขาต่าง ๆ แต่จะมีระบบติวเฉพาะตัวหรือกลุ่มเล็ก ๆ (Supervision) ซึ่งจัดการโดยคอลเลจโดยตรง นักเรียนแต่ละคอลเลจจะแข่งขันกัน ทั้งด้านการเรียน และกิจกรรม ทุกคอลเลจจะมีประเพณีของตัวเอง มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ของตัวเอง มีสีและสัญลักษณ์ของตัวเอง และ มีทรัพย์สินอาคารบ้านเรือนของตัวเอง (เช่น สระว่ายน้ำ สนามสควอช ที่ให้เช่าริมฝั่งแม่น้ำ Thame หอศิลป์ โบสถ์ อาคารธุรกิจ หุ้นในประเทศต่าง ๆ ฯลฯ) ดังนั้น คอลเลจของเคมบริดจ์หลาย ๆ แห่ง จึงมีฐานะร่ำรวย และชอบที่จะแข่งขันกันว่าใครจะให้ความสะดวกแก่เด็กตัวเองได้มากกว่ากัน หรือจ้างอาจารย์หรือ Fellow ที่มีชื่อเสียงมาเป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการให้คอลเลจของตน อาจารย์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ส่วนใหญ่ก็จะมีคอลเลจสังกัด แต่เวลาสอน ก็สอนเด็กทุกวิทยาลัย ฐานะทางการเงินที่คล่องตัวของคอลเลจนี้จะตรงข้ามกับตัวมหาวิทยาลัย เพราะตัวมหาวิทยาลัยยังต้องพึ่งพางบประมาณจากรัฐเป็นหลัก\n== ส่วนงาน ==\n=== ส่วนงานทางวิชาการ ===\nมหาวิทยาลัยแบ่งส่วนงานทางวิชาการออกเป็นทั้งสิ้น 6 คณะ (School) แต่ละคณะมีมีภาควิชา (Faculty) และสาขาวิชา (Department หรือ Division) ทั้งหมดนี้ให้บริการในด้านการเรียนการสอนและวิจัย คณะวิชาของมหาวิทยาลัยมีดังนี้\n==== คณะศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์====\nภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และประวัติศาสตร์ศิลปะ\n* สาขาวิชาสถาปัตยกรรม\n* สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ\nภาควิชาเอเชียตะวันออกและตะวันออกกลางศึกษา (Asian and Middle Eastern Studies, เดิมคือภาควิชาบูรพคดีศึกษา Oriental Studies)\n* สาขาวิชาเอเชียตะวันออกศึกษา (East Asian Studies)\n* สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา (Middle Eastern Studies)\nภาควิชาศิลปคลาสสิก (Classics)\n* พิพิธภัณฑ์โบราณคดีคลาสสิก\nภาควิชาเทววิทยา (Divinity)\nภาควิชาภาษาอังกฤษ\n* สาขาวิชาแองโกล-แซกซัน นอร์ส และเซลติก\nภาควิชาภาษาสมัยใหม่และภาษายุคกลาง\n* สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส\n* สาขาวิชาภาษาเยอรมันและดัตช์\n* สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน\n* สาขาวิชาสลาฟศึกษา (Slavonic studies)\n* สาขาวิชาภาษาสเปนและโปรตุเกส\n* สาขาวิชาภาษากรีกสมัยใหม่\n* สาขาวิชาภาษาลาตินใหม่ (Neo-Latin)\nภาควิชาดุริยศาสตร์\nภาควิชาปรัชญา\nศูนย์วิจัยศิลปศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์\nศูนย์ภาษา\n==== คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ====\nภาควิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และรัฐศาสตร์\n* สาขาวิชาโบราณคดีและมานุษยวิทยา\n** สาขาวิชาโบราณคดี\n** สาขาวิชามานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ\n** ศูนย์ศึกษาวิวัฒนาการมนุษย์ลีเวอร์ฮูล์ม (Leverhulme Centre for Human Evolutionary Studies)\n** สาขาวิชามานุษยวิชาเชิงสังคม\n** หน่วยศึกษามองโกเลียและเอเชียตอนใน\n** พิพิธภัณฑ์โบราณคดีและมานุษยวิทยา\n** สถาบันวิจัยโบราณคดีแมกโดนัลด์ (McDonald Institute for Archaeological Research)\n* สาขาวิชารัฐศาสตร์และนานาชาติศึกษา\n** ศูนย์เพศศึกษา\n** ศูนย์แอฟริกันศึกษา\n**ศูนย์ศึกษาการพัฒนา\n** ศูนย์ลาตินอเมริกันศึกษา\n** ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา\n* สาขาวิชาสังคมวิทยา\nภาควิชาเศรษฐศาสตร์\nภาควิชาครุศาสตร์\nภาควิชาประวัติศาสตร์\nสาขาวิชาประวัติและปรัชญาวิทยาศาสตร์\n* พิพิธภัณฑ์ประวัติวิทยาศาสตร์วิพเพิล (Whipple Museum of the History of Science)\nภาควิชานิติศาสตร์\n* ศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศเลาเทอร์พัคท์ (Lauterpacht Centre for International Law)\nสถาบันอาชญาวิทยา\nสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ดิน\n==== คณะวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ====\nภาควิชาชีววิทยา\n* สาขาวิชาชีวเคมี\n* ศูนย์วิจัยครอบครัว\n* สาขาวิชาพันธุศาสตร์\n* สาขาวิชาพยาธิวิทยา\n* สาขาวิชาเภสัชวิทยา\n* สาขาวิชาสรีรวิทยา การพัฒนา และประสาทศาสตร์\n* สาขาวิชาพืชศาสตร์\n** สวนพฤกษศาสตร์\n* สาขาวิชาจิตวิทยา\n** ศูนย์เจตมิติ (psychometrics)\n* สาขาวิชาสัตววิทยา\nภาควิชาสัตวแพทยศาสตร์\n* สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์\nศูนย์วิจัยเซลล์ต้นกำเนิดเวลคัมทรัสต์\nสถาบันเกอร์ดอนว่าด้วยการวิจัยมะเร็ง\nศูนย์ชีววิทยาระบบเคมบริดจ์\nห้องปฏิบัติการเซนสบรี (Sainsbury Laboratory)\n==== คณะวิทยาศาสตร์กายภาพ ====\nภาควิชาโลกศาสตร์และภูมิศาสตร์\n* สาขาวิชาโลกศาสตร์\n** พิพิธภัณฑ์โลกศาสตร์เซดจ์วิก (Sedgwick Museum of Earth Sciences)\n* สาขาวิชาภูมิศาสตร์\n** ศูนย์วิจัยขั้วโลกสกอตต์\n** พิพิธภัณฑ์ขั้วโลก\nภาควิชาคณิตศาสตร์\n* สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์และฟิสิกส์ทฤษฎี\n* สาขาวิชาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และสถิติเชิงคณิตศาสตร์\n** ห้องปฏิบัติการสถิติ\nภาควิชาฟิสิกส์และเคมี\n* สาขาวิชาดาราศาสตร์\n* สาขาวิชาเคมี\n* สาขาวิชาวัสดุศาสตร์และโลหวิทยา\n* สาขาวิชาฟิสิกส์\nสถาบันคณิตศาสตร์ไอแซก นิวตัน\n==== คณะแพทยศาสตร์ ====\nภาควิชาชีวเคมีคลินิก\n* ห้องปฏิบัติการวิจัยเมทาบอลิก\nภาควิชาประสาทศาสตร์คลินิก\n* ศูนย์เคมบริดจ์ว่าด้วยการซ่อมแซมสมอง\n* หน่วยวิจัยประสาทวิทยา\n* สาขาวิชาการผ่าตัดประสาท\n* ศูนย์วิจัยการถ่ายภาพสมองวูล์ฟสัน (Wolfson Brain Imaging Centre)\nภาควิชาโลหิตวิทยา\n* สาขาวิชาเวชศาสตร์การถ่ายเลือด\nภาควิชาพันธุเวชศาสตร์\nภาควิชาแพทยศาสตร์\n* สาขาวิชาวิสัญญีวิทยา\n* สาขาวิชาเภสัชวิทยาคลินิก\n* สาขาวิชาวักกเวชศาสตร์ (renal medicine)\nภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา\nภาควิชาวิทยาเนื้องอก\nภาควิชาจิตเวชศาสตร์\n* หน่วยวิจัยด้านผังสมอง\n* สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์เด็ก\nภาควิชาสาธารณสุขและการดูแลปฐมภูมิ\n* หน่วยวิจัยการดูแลปฐมภูมิ\n* สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้ชรา (gerontology)\nภาควิชารังสีวิทยา\nภาควิชาศัลยกรรม\n* สาขาวิชาศัลยกรรมในผู้ป่วยรุนแรงและออร์โทพีดิกส์\nสถาบันวิจัยแพทยศาสตร์เคมบริดจ์\n==== คณะเทคโนโลยี ====\nภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์\n* สาขาวิชาพลังงาน กลศาสตร์ของไหล และเครื่องกลเทอร์โบ\n* สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า\n* สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วัสดุ และการออกแบบ\n* สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา\n* สาขาวิชาการผลิตและจัดการ\n* สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ\nภาควิชาบริหารธุรกิจและการจัดการ (หรือ วิทยาลัยธุรกิจเคมบริดจ์จัดจ์ (Cambridge Judge Business School))\n* ศูนย์วิจัยธุรกิจ\nภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี\n* ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์\nภาควิชาวิศวกรรมเคมีและชีวเทคโนโลยี\nสถาบันภาวะผู้นำอย่างยั่งยืน\n==== ศูนย์ไม่สังกัดคณะ ====\nศูนย์วิจัยเชิงประยุกต์ว่าด้วยเทคโนโลยีการศึกษา\nศูนย์อิสลามศึกษา\nสถาบันการศึกษาต่อเนื่อง\nหน่วยบริการสนเทศมหาวิทยาลัย\nหอสมุด\n=== คอลเลจ/วิทยาลัยแบบคณะอาศัย ===\nมหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็น 31 คอลเลจ หรือวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (college) แต่ละวิทยาลัยจะมีหน้าที่หลักในการอำนวยความสะดวกที่พักและอาหารให้นิสิตทุกระดับ รวมทั้งจัดการเรียนการสอนเสริม ติวแบบตัวต่อตัวหรือกลุ่มเล็ก ๆ (Supervisions/ ส่วนทางออกซฟอร์ดเรียก Tutorials) กับรับนิสิตปริญญาตรีด้วย นิสิตทุกคนและอาจารย์ส่วนใหญ่จะมีวิทยาลัยสังกัด ภายในวิทยาลัยจะเป็นเขตที่พักอาศัยและพื้นที่เรียนรู้ร่วมกันของนิสิต โดยคละกันมาจากแต่ละคณะวิชา ทั้งนี้บางคณะอาจจะเลือกนิสิตอย่างกว้าง ๆ กระจายไปในแต่ละสาขา เช่น วิทยาลัยเซนต์แคเทอรีน บางวิทยาลัยก็เลือกให้มีสาขาเอนเอียงไปในทางใดทางหนึ่ง เช่น วิทยาลัยเชอร์ชิลล์ จะเลือกนิสิตเน้นสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์\nในจำนวน 31 วิทยาลัยนี้ มีวิทยาลัยเมอร์เรย์ เอ็ดเวิร์ด (Murray Edward College) วิทยาลัยนิวแนม (Newnham College) วิทยาลัยลูซี คาเวนดิช (Lucy Cavendish College) เป็นคณะหญิงล้วน ส่วนวิทยาลัยที่เหลือเป็นแบบสหศึกษา (รับทั้งนิสิตชายและหญิง) บางวิทยาลัยในจำนวนนี้เคยมีแต่เฉพาะนิสิตชาย ได้แก่ วิทยาลัยเชอร์ชิลล์ (Churchill College) วิทยาลัยแคลร์ และราชวิทยาลัยคิงส์ (King's College) ทั้งสามวิทยาลัยดังกล่าวเริ่มรับนิสิตหญิงในปี พ.ศ. 2515 ซึ่งจากการนี้เอง 16 ปีต่อมา วิทยาลัยมอดลิน (Magdalene College) จึงได้เป็นวิทยาลัยชายล้วนแห่งสุดท้ายของมหาวิทยาลัย\nวิทยาลัยนอกจากเป็นที่อาศัยศึกษาของนิสิตแล้ว ยังแสดงถึงทัศนะทางการเมืองและสังคมของนิสิตในวิทยาลัยนั้นด้วย อาทิ ราชวิทยาลัยคิงส์ นิสิตมักมีแนวคิดหัวก้าวหน้า (ตรงข้ามกับแนวคิดอนุรักษนิยม) วิทยาลัยโรบินสันและวิทยาลัยเชอร์ชิลล์ มีงานด้านการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม\nวิทยาลัยแคลร์ฮอลล์ (Clare Hall) วิทยาลัยดาร์วิน (Darwin College) เป็นสองวิทยาลัยที่รับเฉพาะนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ วิทยาลัยฮิวก์ฮอลล์ (Hugh Hall) วิทยาลัยลูซี คาเวนดิช วิทยาลัยเซนต์เอดมุนด์ (St Edmunds College) และวิทยาลัยวูล์ฟสัน จะรับเฉพาะนิสิตผู้ใหญ่ซึ่งมีอายุ 21 ปีขึ้นไป ทั้งนี้วิทยาลัยที่เหลือมีนโยบายรับนิสิตทุกคณะวิชา ทุกเพศ ทุกวัย\nวิทยาลัยตรีนิตี้ (Trinity College) จัดเป็นวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดของระบบออกซบริดจ์ และได้รับการจัดอันดับทางวิชาการสุงที่สุดของเคมบริดจ์ติดต่อกันมาหลายปีกระทั่งปัจจุบัน มีศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลโนเบลสูงถึง 32 คน\nราชวิทยาลัยควีนส์ หรือ สมเด็จพระราชินีนาถราชวิทยาลัย หรือ ควีนส์คอลเลจ (Queens College) เป็นหนึ่งในบรรดาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุดของเคมบริดจ์ และเป็นหนึ่งในวิทยาลัยชั้นนำด้านวิชาการในระดับสูงสุดห้าอันดับแรกของเคมบริดจ์ มีศิษย์เก่าที่ชื่อเสียงทั้งเชื้อพระวงศ์, ขุนนาง, นักการศาสนา, นักการเมือง, นักดาราศาสตร์ และอื่น ๆ ก่อตั้งเมื่อปี 1444 โดยมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ราชวิทยาลัยควีนส์ เป็นวิทยาลัยเดียวของเคมบริดจ์ ที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษหลายพระองค์ ทรงรับไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ โดยปัจจุบัน สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับ ราชวิทยาลัยควีนส์ ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์เช่นกัน นอกจากนี้ราชวิทยาลัยควีนส์ ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสะพานคณิตศาสตร์ (Mathematical Bridge) ที่มีชื่อเสียงเพียงแห่งเดียวของเคมบริดจ์อีกด้วย\nวิทยาลัยแต่ละแห่งกำหนดค่าที่พัก ค่าอาหารแตกต่างกันไป โดยไม่ขึ้นกับทางมหาวิทยาลัย รวมทั้งมีเงินลงทุนเพื่อการศึกษาที่แตกต่างมากน้อยไปด้วย สำหรับเมืองไทยระบบ \"เวียง\" ของมหาวิทยาลัยพะเยา มีลักษณะร่วมบางประการ คล้ายกับระบบคอลเลจของออกซบริดจ์\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ยังคงเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยไม่กี่แห่งของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงรักษาประเพณีการฝากตัวเป็นศิษย์และการรับเข้าสู่การเป็นสมาชิกของคอลเลจ (matriculation) ซึ่งแต่ละคอลเลจจะจัดพิธีนี้ขึ้นในช่วงก่อนเปิดการศึกษาในแต่ละปี โดยนิสิตทั้งระดับปริญญาตรีและนิสิตบัณฑิตศึกษาทุกคนต้องสวมเสื้อคลุม (gown) คล้ายในเรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ เข้าร่วมกิจกรรมอันสำคัญนี้ ถึงจะถือว่า ได้เข้าสู่สมาชิกภาพของคอลเลจอย่างมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี สง่างาม อย่างสมบูรณ์ และสถานะภาพความเป็นสมาชิกอันทรงเกียรตินี้ จะติดตัวนิสิตไปตลอดชีวิต ยกเว้นจะมีการย้ายวิทยาลัยในช่วงเปลี่ยนระดับการศึกษา\nรายนามวิทยาลัยในสังกัดมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีดังนี้\n(ตัวเลขข้างท้าย คือปี ค.ศ. ที่ก่อตั้ง) \nไครส์ท คอลเลจ Christ's College, 1505\nเชอร์ชิลล์ คอลเลจ Churchill College, 1960\nแคลร์ คอลเลจ Clare College, 1326\nแคลร์ ฮอลล์ Clare Hall, 1965\nคอร์ปุส คริสตี คอลเลจ Corpus Christi College, 1352\nดาร์วิน คอลเลจ Darwin College, 1964\nดาว์นิ่ง คอลเลจ Downing College, 1800\nเอมมานูเอล คอลเลจ Emmanuel College, 1584\nฟิท์ชวิลเลิ่ยม คอลเลจ Fitzwilliam College, 1966\nเกอร์ตั้น คอลเลจ Girton College, 1869\nกอนวิลล์ แอนด์ คียส์ คอลเลจ Gonville and Caius College, 1348\nโฮเมอตั้น คอลเลจ Homerton College, 1976\nฮิวจ์ช ฮอลล์ Hughes Hall, 1885\nจีซัส คอลเลจ Jesus College, 1497\nคิงส์ คอลเลจ King's College, 1441\nลูซี่ คาเวนดิช คอลเลจ Lucy Cavendish College, 1965\nมอจ์ดลิ่น คอลเลจ Magdalene College, 1428\nนิว ฮอลล์ New Hall, 1954 (เปลี่ยนชื่อเป็นทางการเป็น เมอร์เรย์ เอ็ดเวิร์ดส์ (Murray Edwards College) ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2009)\nนิวแน่ม คอลเลจ Newnham College, 1871\nเพมโบรก คอลเลจ Pembroke College, 1347\nพีเตอร์เฮาส์ คอลเลจ Peterhouse, 1284\nควีนส์คอลเลจ Queens' College, 1448\nร๊อบบินสัน คอลเลจ Robinson College, 1979\nเซนต์ แคทเธอรีนส์ คอลเลจ St Catharine's College, 1473\nเซนต์ เอดมันด์ส คอลเลจ St Edmund's College, 1896\nเซนต์ จอห์น คอลเลจ St John's College, 1511\nซิลวิ่น คอลเลจ Selwyn College, 1882\nซิดนี่ ซัสเซกส์ คอลเลจ Sidney Sussex College, 1596\nทรินิที้ คอลเลจ Trinity College, 1546\nทรินิที้ ฮอลล์ Trinity Hall, 1350\nวูลฟ์สัน คอลเลจ Wolfson College, 1965\nในจำนวนวิทยาลัยทั้งหมดนี้ มี 3 วิทยาลัยที่รับเฉพาะนิสิตหญิงเท่านั้น (นิวแน่ม คอลเลจ, ลูซี่ คาเวนดิช คอลเลจ, และ เมอร์เรย์ เอ็ดเวิร์ดส์)\nและ 4 วิทยาลัยที่รับเฉพาะนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา (แคลร์ ฮอลล์, ดาร์วิน คอลเลจ, วูลฟ์สัน คอลเลจ, และ เซนท์ เอดมันด์ส คอลเลจ)\n== เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==\n\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้รับการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาจากหลายหน่วยงาน เช่น Complete, Guardian, Times/Sunday Times ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับหนึ่งของสหราชอาณาจักรติดต่อกันหลายปี กระทั่งถึงปัจจุบันนี้ (พ.ศ. 2562) และตามมาด้วยมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดที่รั้งอันดับที่สอง\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นหนึ่งในหลาย ๆ สถาบันการศึกษาในโลกที่ได้รับการจับตามอง ระหว่างที่ประเทศโลกเสรีพยายามพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อป้องกันประเทศ เมื่อเกิดภัยคุกคามจากเยอรมนี ซึ่งมี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นำ ระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยหลายแห่ง มีการเคลื่อนไหวทางวิชาการอย่างคึกคัก เพราะรัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณการวิจัยเป็นจำนวนมหาศาล อาทิเช่น มหาวิทยาลัยปารีส มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยเยล สถาบันเอ็มไอที ฯลฯ มหาวิทยาลัยเหล่านี้จึงแข่งขันกันอยู่ในที บางทีก็มีการดึงเอาคณาจารย์จากกันไปโดยเพิ่มเงินเดือนให้สูงกว่าก็มี\nเมื่อเทียบกับหลายมหาวิทยาลัยในโลก เคมบริดจ์ได้เปรียบทางวิทยาศาสตร์อยู่มาก เพราะรากฐานทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนี้เข้มแข็งมาช้านาน ดังนั้น ตั้งแต่อดีตจวบจนยุคปัจจุบัน นอกจากจะได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นเยี่ยมในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอังกฤษแล้ว ยังเป็นมหาวิทยาลัยลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุดในโลกลำดับที่ 2 (ถัดจากฮาวาร์ด) กล่าวคือมีถึง 121 รางวัล เพราะความมีชื่อเสียงในด้านการวิจัยนี้เอง ในระยะหลัง เคมบริดจ์ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนด้านเงินทุนจากหลายหน่วยงาน เช่น EPSRC และ Gates Foundation ทำให้เคมบริดจ์มีสถานะการเงินที่ดีกว่ามหาวิทยาลัยในอังกฤษอื่น ๆ หลายแห่ง\nที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่จัดตั้งสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย แต่บังเอิญว่างานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ซึ่งสมัยก่อนนั้น ยังไม่มีการนำไปใช้เชิงพาณิชย์เท่าใดนัก จึงขยายตัวสู้สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดซึ่งเกิดทีหลัง แต่มีปริมาณงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มากกว่าไม่ได้ แต่ระยะหลัง สำนักพิมพ์ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก็เริ่มพัฒนาขึ้นอย่างมาก เห็นได้จากปริมาณงานทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ซึ่งมีเพิ่มขึ้น\nในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยแบ่งเป็น: อันดับ 1 ของยุโรปในคะแนนรวม, เป็นอันดับ 1 ของโลกด้านวิทยาศาสตร์, เป็นอันดับ 6 ของโลกทางด้านเทคโนโลยี, อันดับ 2 ของโลกทางด้านชีวเวช, อันดับ 8 ของโลกด้านสังคมศาสตร์ และ อันดับ 3 ของโลกด้านศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์\nในปี พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006), ปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007), และปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) วารสาร The Times Higher Education Supplement ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ให้มีคะแนนรวมเป็นอันดับ 2 ของโลก\n== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ==\nมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้ผลิตนักวิจัย ได้รางวัลโนเบล 121 รางวัล ซึ่งจัดว่ามากเป็นอันดับสองโลกรองจากฮาร์วาร์ด ซึ่งส่วนมากเป็นรางวัลด้านวิทยาศาสตร์ เพราะมหาวิทยาลัยเน้นหนักงานวิจัยทางนี้มากที่สุด อย่างไรก็ดีงานวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ก็มีความโดดเด่นระดับต้นของโลกเช่นกัน ศิษย์เก่าชาวต่างประเทศที่มีชื่อเสียงก็มีจำนวนมาก\nAbdus Salam (St John's) - โนเบล, ทฤษฎี Electroweak\nAlan Hodgkin (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nแอลัน ทัวริง (Alan Turing) (King's) - บิดาแห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์\nAmartya Sen (Trinity) - โนเบลเศรษฐศาสตร์\nArchibald vivian Hill (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nArthur Cayley (Trinity) - สร้างระบบเมตริกส์\nAugustus De Morgan (Trinity) - นักตรรกศาสตร์\nAusten Chamberlain (Trinity) - โนเบลสันติภาพ\nA. A. Milne (Trinity) - ประพันธ์ Winnie the Pooh\nเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ (Bertrand Russell) (Trinity) - นักคณิตศาสตร์\nBrian Josephson (Trinity) - โนเบลฟิสิกส์, semiconductors\nชาลส์ ดาร์วิน (Chales Darwin) (Christ's) - นักชีววิทยา\nCharles Glover Barkla - โนเบล, รังสีเอกซ์\nชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) (Trinity) - นักคณิตศาสตร์/คอมพิวเตอร์\nCharles Rolls (Trinity) - ตั้งบริษัท Rolls-Royce\nซี. เอส. ลิวอิส (Magdalene) - นักประพันธ์\nDouglas Adams (St John's) - นักประพันธ์\nEmma Thompson (Newnham) - นักแสดงรางวัลออสการ์\nErnest Rutherford (Trinity) - โนเบลเคมี, บิดาแห่งนิวเคลียร์ฟิสิกส์\nSir Francis Bacon (Trinity) - นักปราชญ์ (นักวิทยาศาสตร์ นักประพันธ์ นักกฎหมาย)\nFrancis Crick (Gonville and Caius) - โนเบล, ค้นพบดีเอ็นเอ\nFrederick Sanger (St John's) - โนเบล 2 ครั้ง, โครงสร้างโมเลกุล\nจี. เอช. ฮาร์ดี้ (Trinity) - นักคณิตศาสตร์\nHarold Abrahams (Gonville and Caius) - นักกีฬาโอลิมปิก (ชีวิตถูกสร้างเป็นหนังเรื่อง Chariots of Fire)\nHenry Cavendish (Peterhouse) - นักฟิสิกส์\nHenry Dunster (Magdalene) - ประธานคนแรกของ มหาวิทยาลัย Harvard, สหรัฐอเมริกา\nHenry Hallett Dale (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nIsaac Barrow (Trinity) - นักคณิตศาสตร์\nไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) (Trinity) - นักฟิสิกส์\nJames Chadwick (Gonville and Caius) - โนเบล, ค้นพบนิวตรอน\nเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ (Trinity) - นักฟิสิกส์\nJames D. Watson (Clare) - โนเบล, ค้นพบดีเอ็นเอ\nJawaharlal Nehru (Trinity) - นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย\nJohn Cockcroft (Churchill) - โนเบล, แยกอะตอม\nJohn Harvard (Emmanuel) - ตั้ง มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, สหรัฐอเมริกา\nJohn Pople (Trinity) - โนเบลเคมี\nจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (King's) - นักเศรษฐศาสตร์\nJohn Wallis (Emmanuel) - นักคณิตศาสตร์\nJ.J. Thomson - โนเบล, ค้นพบอิเล็กตรอน\nLord Byron (Trinity) - นักประพันธ์\nLord Burghley (St John's) - นักการเมือง/ที่ปรึกษาหลักของ Queen Elizabeth I\nLord Rayleigh - โนเบล, ค้นพบอาร์กอน\nMartion Ryle (Trinity) - โนเบลการแพทย์\nMaurice Wilkes - นักคอมพิวเตอร์ (EDSAC)\nMaurice Wilkins - โนเบล, โครงสร้างดีเอ็นเอ\nMax Perutz - โนเบล, โครงสร้างโปรตีน\nNiels Bohr (Trinity) - โนเบล, กลศาสตร์ควอนตัม\nโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Sidney Sussex) - นักการเมือง/“เจ้าผู้พิทักษ์” (Lord Protector)\nOsborne Reynolds - นักคณิตศาสตร์\nOwen Willans Richardson - โนเบล, Thermionic\nพอล ดิแรก (Paul Dirac) (St John's) - โนเบล, กลศาสตร์ควอนตัม\nRajiv Gandhi (Trinity) - นายกรัฐมนตรีอินเดีย\nสตีเฟน ฮอว์กิง (Stephen Hawking) (Gonville and Caius) - นักฟิสิกส์\nSubramanyan Chandrasekhar (Trinity) - โนเบล, โครงสร้างดาราศาสตร์\nSylvia Plath (Newnham) - กวี\nTed Hughes (Pembroke) - กวี\nWalter Gilbert (Trinity) - โนเบลเคมี\nWilliam Harvey (Gonville and Caius) - การแพทย์\nWilliam Lawrence Bragg (Trinity) - โนเบล, การรักษาด้วยรังสีเอกซ์. ตอนอายุ 25 ปี\nWilliam Thomson, 1st Baron Kelvin (Peterhouse) - นักฟิสิกส์ ผู้สร้างหน่วย Kelvin สำหรับการวัดอุณหภูมิ\nGhil'ad Zuckermann (กิลอัด สุขเคอร์แมน) (Churchill) - นักภาษาศาสตร์\n== ดูเพิ่ม ==\nสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์\n=== รายชื่อมหาวิทยาลัยที่ใช้ระบบวิทยาลัยแบบคณะอาศัย ===\nมหาวิทยาลัยเคนต์\nมหาวิทยาลัยยอร์ก\nมหาวิทยาลัยเดอรัม\nมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด\n== หมายเหตุ ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUniversity of Cambridge\nเกียรติภูมิด้านวิทยาศาสตร์ของเคมบริดจ์ \nCambridge University Thai Society (CUTS)\nระบบการศึกษาของเคมบริดจ์ \nCambridge Society \nThai Cambridge Network \nสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมนักเรียนไทยในสหราชอาณาจักร\nเคมบริดจ์\nอังกฤษ\nเคมบริดจ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตมมปีะเภทสถานศึกษา\n== สถาวันอุดมศึกษาของรัฐ ==\n=== สถาบันอุดมศึกษา ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== มหาวิทยาลัยของรัฐ ประเภทมหาวิทยาลัยราชภัฏ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/ยถาบัน\n=== มหาวิทยาลัยของรัฐประเภ่มหาวิทยาลัยเทคโนฮลยีราชมงคล ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันวิทยาลัยชุมชน ===\nก่อตั้ง : แีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งปรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถายัน\n=== สถาบันการอาชีใศึกษา ===\nกีอตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาละย/วิทยาลัย/สถรบัน\n=== สถาบันการศึกษาของทหารและตำรวจ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมผาวิทยาลเส/วิทยาลุย/สถาบัน\n=== สถาบันการศึกษานอกสังกเดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิยัยและนวัตกรรม ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเผ็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ==\n=== มหาวิทยาลัย =]=\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบัน ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดปารเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทสาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== ว้ทยาลัย ===\nำ่อตั้ง : ปีที่เปิอการเรียรการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ==\n=== มหาฝิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งอรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปยาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัข/สถาบัน\n=== สถาบัน ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== วิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเปฌนครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n-= สถาบันอุดมศึกษาอิสระ ==\n=== สถาชันอุดมศึกษาอิสระนานาชาติ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียาำารสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภสพสูงจากต่างประเทศ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดกมรเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== อดีตสถาบันอุดมศึกษา ==\n==- มหาวิทยาลัย ===\n=== สถาบัน ===\n=== วิทยาลัย ===\n== กลุ่มสถานศึกษา ==\nมหาวิทยาลัยรัฐ\nมหาวิทยาลัยราชภัฏ\nมหาวิทยาลัยเทคฌนโลยีราชมงคล\nสถาบันการอาชีวศึกษา\nสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร\nสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ\nาถาบันอุดมศึกษาเอกชน\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ท ==\nรายชื่อมหาวิทยาบัยของรัฐในปรัเทศไทยะรียงตามการสถาปนา\nอันดับมหาวิทจาลัยไทย\nคณะวิชา",
"role": "user"
},
{
"content": "รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษา\n== สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ==\n=== สถาบันอุดมศึกษา ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== มหาวิทยาลัยของรัฐ ประเภทมหาวิทยาลัยราชภัฏ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== มหาวิทยาลัยของรัฐประเภทมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันวิทยาลัยชุมชน ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันการอาชีวศึกษา ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันการศึกษาของทหารและตำรวจ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันการศึกษานอกสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ==\n=== มหาวิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบัน ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== วิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ==\n=== มหาวิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบัน ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== วิทยาลัย ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== สถาบันอุดมศึกษาอิสระ ==\n=== สถาบันอุดมศึกษาอิสระนานาชาติ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n=== สถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศ ===\nก่อตั้ง : ปีที่เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรก\nสถาปนา : ปีที่สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย/สถาบัน\n== อดีตสถาบันอุดมศึกษา ==\n=== มหาวิทยาลัย ===\n=== สถาบัน ===\n=== วิทยาลัย ===\n== กลุ่มสถานศึกษา ==\nมหาวิทยาลัยรัฐ\nมหาวิทยาลัยราชภัฏ\nมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล\nสถาบันการอาชีวศึกษา\nสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร\nสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ\nสถาบันอุดมศึกษาเอกชน\n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา\nอันดับมหาวิทยาลัยไทย\nคณะวิชา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เฟิร์มแวร์ (eirmware) ในระบบคอมพิวเตอร์ คือซอฟต์แวร์ที่ฝังอยู่ในฮาร์ดแวร์ โดยที่ผู้ใช้จะสามาระอ่าน และเนียกใช้งานเฟิร์มแวร์ไดิ แต่ไม่สามารถแก้ไข เขียน หรือลบเฟิร์มแวร์ได้\nตัวอย่างเฟิร์มแวร์ในระบบ\nไบอดส ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\nโปาแกรมในรอม เป็นการเขียนเฟิร์มแวร์ฝังข้อมูลการทำงานของฮาี์ดแวร์ดอาไว้ถาวร\nโปรแกรมใน ไอซี โดยส่วนมาก จะเป็นหารใช้โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ แทนการทำงานของซอฟต์แสร์\nโปรแกรมในอีพรอม (EPROM) ซึ่งสามารถเปลี่ยนกปลงได้ด้วยฮาร์ดแวร์พิเศษ (แต่ไม่ใช่จากซอฟต์แวร์อื่น)\n== อ้างอิง ==\nOpler, Ascher (January 1967). \"Fourth-Generation Software\". Datamation 13 (1) : 22-24.\nซอฟต์แวร์\n \nระบบฝังตัว",
"role": "user"
},
{
"content": "เฟิร์มแวร์ (firmware) ในระบบคอมพิวเตอร์ คือซอฟต์แวร์ที่ฝังอยู่ในฮาร์ดแวร์ โดยที่ผู้ใช้จะสามารถอ่าน และเรียกใช้งานเฟิร์มแวร์ได้ แต่ไม่สามารถแก้ไข เขียน หรือลบเฟิร์มแวร์ได้\nตัวอย่างเฟิร์มแวร์ในระบบ\nไบออส ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\nโปรแกรมในรอม เป็นการเขียนเฟิร์มแวร์ฝังข้อมูลการทำงานของฮาร์ดแวร์เอาไว้ถาวร\nโปรแกรมใน ไอซี โดยส่วนมาก จะเป็นการใช้โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ แทนการทำงานของซอฟต์แวร์\nโปรแกรมในอีพรอม (EPROM) ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยฮาร์ดแวร์พิเศษ (แต่ไม่ใช่จากซอฟต์แวร์อื่น)\n== อ้างอิง ==\nOpler, Ascher (January 1967). \"Fourth-Generation Software\". Datamation 13 (1) : 22-24.\nซอฟต์แวร์\n \nระบบฝังตัว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ระบบปฏิบัติกทร (operating system) หนือ โอเอส (OS) เป็นระบบซอฟต์แวร์มี่ทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบร้การโปรแกรมคอมพิวเตอร์\nระบบปฏิบัติการมคหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์ปวร์ประยุกต์ ในเรื่องกรรรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่ลข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮ่ร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัพสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามทีาซอฟต์แวร์ประยุกต์รีองขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลาย ๆ ตัวทำงานพร้อม ๆ กัน\nระบบปฏิชัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ /ม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอว เพียงแค่เรัยกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พเฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น\nระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วอนโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์ และโซลาติส และนฝมถึงลินุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ ระบบหฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเนียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น ทินิกซ์ ซินู หรือ พืนโทส\nในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ควบคุมด้วจระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเคตื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน\n== อ้างอิง ==\nDeitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-0o2641-8.\n== ดูเพิ่ม ==\nรุบบปฏิบัติการแบบเบลาจริง\n== อหล่งข้อมูลอ้่ร ==\nความสำคัญของระบบปฏิบัติการ\nจำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบุติการคอมพิวเตอร์รุ่นต่างๆ\nจำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบัติการบนแทปเล็ตรุ่นต่างๆ\n \nสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ",
"role": "user"
},
{
"content": "ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นระบบซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์\nระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลาย ๆ ตัวทำงานพร้อม ๆ กัน\nระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น\nระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์ และโซลาริส และรวมถึงลินุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ ซินู หรือ พินโทส\nในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน\n== อ้างอิง ==\nDeitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-092641-8.\n== ดูเพิ่ม ==\nระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nความสำคัญของระบบปฏิบัติการ\nจำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์รุ่นต่างๆ\nจำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบัติการบนแทปเล็ตรุ่นต่างๆ\n \nสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "OS, Os อาจหใายถึง\nระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating system)\nธาตุออสเมียม (Osmium)",
"role": "user"
},
{
"content": "OS, Os อาจหมายถึง\nระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating system)\nธาตุออสเมียม (Osmium)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โดเพนออฟฟิศดอตอ็อก (Op3nOffice.org ย่อว่า OO.o หรือ OOo) เป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานที่ทำงานบนหลายระบบปฏิบัติการ เผยแพร่ในรูปแบบซอฟต์แวร์เสรี เขียนขึ้นโดยใช้ชุดเครื่องมือส่วนต่อประสานกราฟิกของตัวเอง รองรับรูปแบบโอเพนด็อดคิวเมนต์ (ODF) ซึ่งเป็นมาตรฐานไอเอสโอ/ไออีซีเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้เป็นรูปแบบแฟ้มพื้นฐาน อีกทั้งยังรองรับรูปแบบเอกสารจากไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ และอื่น ๆ กระทั่งเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกรองรับมากกว่า 110 ภาษา \nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกพัฒนาต่อยอดมาจสกสตาร์เอฟฟิศ (StarOffice) ซอฟต์แวร์สำนักงานจากสตาร์วิชัน (StarVisi8n) ซึ่ลภายหลุงถูกควบกิจการโดยซัน ไมโครซิสเต็มส์ เมื่อเดือนสิงำาคม พ.ศ. 2542 รหัสต้นฉบับของชุดซอฟต์แวร์นี้เผยแพร่เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ด้วยจุดประสงค์เพื่อช่วงชิงม่วนแบ่งตลาดจากไมโครซอฟท์ ออฟฟืศ โดยเพิ่มทางเลือกเสรีต่อผู้ใช้และผู้พัฒนา รุ่นหชัง ๆ ของสตาร์ออฟฟิศจะใช้โอเพนเอฟฟิศดอตอ็อกเป็นพื้นฐารแทน และเพิืมองค์ประกอบที่เป็นกรรมสิทธิ์ของสตาร์ออฟฟิศ \nซอฟต์แวร์และโครงการนี้อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า โอเพยออฟฟิศ ดต่ชื่อนี้ัป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัทในเนเธอร์แลนด์ ซึ่งก่อตั้งโดย Wouter Hanegraaff และมีการใช้ชื่อนี้ในออเรนจ์สหราชอาณาจักรอีกเช่นกัน จึงทำให้โครงการนี่ต้องใช้ชื่อว่า โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก เป็นชื่อทางการ \nในประเทศไทย เคยมีการนำ โอเพนออฟผิศดอตอ็อกมาพัฒนาต่อเพื่อให้ใช้ฝานภาษรไทยได้ โอยสองตัวหลักที่เป็นที่รู้จักกันในวงกว้าง คือ ปลาดาวออฟฟิศ ที่สนับสรุนโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) และ ออฟฟิศทะเล ท้่พัฒนาโดยเนคเทค \n== หระวัติ ==\nในปีค.ศ. 1999 ซันไมโครซิสเต๊มส์ได้ซื้อซอฟต์แวร์ สตาร์ออฟฟิศ จากบริษัทซอฟต์แวร์ของเยอรมนีชื่อ สตาร์ดิวิชัน ซันได้อนุญาตให้ใช้สตาร์ออฟฟิศ เวอร์ชัน 5.2 ได้โดยๆม่มีค่าใช้จ่าย ในปีค.ศ. 2000 ซันได้เผยแพร่ซอร์สโค้ดของสตาร์ออฟฟิศภายใต้สัญญาอนุญาต LGPL และ Sun Ind7stry Standards Source License (SISSL) เพื่อจะสร้างชุมชนโอัพนซอร์ส โครงการใหม่ที่ตั้งขึ้นมีชื่อว่า OpenOffice.org เว็บไซต์ของโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดกเริ่มเปิดใช้งานในเดือนตุลาตม ปี 2000\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 1.0 เปิดตัวในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002\nซันประกาศยุติการใชีงาน SISSL ในปี ค.ศ. 2005 โครงการโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกจึงใช้เพียงสัญญาอนุญาตแบบ LGPL ในเวอร์ชันหลังจากนั้นมม โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเปิดตัฝฉปรแกรมเวอร์ชัน 2.0 ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 โดยใช้รูปแบบไฟล์ OpenDocument แทน OpenPffice.org XML\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 3.0 เปิดตัวในเดือนตุลาคม ค.ศซ 2008 โดนสามารถเปิดเอกสารในรูปแลบ Office Open XML ได้ แบะรองรับรูปแบบไฟล์ OpenDocumdnt 1.2\nซันไมโครซิสเต็มส์ยังคงทำตลาดสตาร์ออฟฟิศเป็นซอฟต์แวร์เชิงพานิชย์ โดยใช้โอเพนออฟไิศดอตอ็อกเป็นฐาน และเกิ่มความสามารถบางอย่างเข้าไป\n== โแรแกรมในชุด ==\n== รุ่นที่เข้ากันได้ ==\nFreeBSD: v3.0.1 v2.4.q\nLinux\nSolaris\nMac OW X 10.2: ไปจนถึง v1.1.2\nMac OS X 10.3: ไปจนถึง v2.1\nMac OS X 10.4–10.5 (PowerPC) : ไปจนะึฝ v2ฦ4.1 (v3.0 อยู่ระหว่างการทดสอบ)\nMac OS X 10.4–10ซ5 (Intel) : v3.0\nWindows 95: ไปจนถึง v1.1.5\nWindows 98–ME: ไปจนถึง v2.4.2\nWindows 2000–SEVEN: v3.0\nโอเอส/2 และ eComStation: ไปจนถึง v2.4.0 (v3.0 อยู่ระหว่างการทดสอบ)\n== คู่มือการใช้วาน ==\nดาวจ์โหลด คู่มือ โปรแกรมสำนักงาน OpenOffice.org ของ SIPA [http://mirror.in.th/document/OpenOffice_CompleteBook.pdf]\nดาวน์โหลด OpenOffice.org Flash trainigg ของ SIPA [http://mirror.in.th/document/openoffice=flash.zip]\nค้นปัญหาที่ถามบ่แย (FAQ) ที่ OpenOffice.org KBS [Knowleage Base System'''] \n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nปลาดาวออฟฟิศ\nออฟฟิศทะเล\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOpenOffice.org\nOpenOffice.org ภาณาไทย\nซอฟต์แวร์เสคี\nซอฟต์แวร์สำนักงาน\nซอฟต์แวร์บนวินโดวส์\nซอฟต์แวร์บนแมคโอเอสเท็ย\nซอฟต์แวร์บนยูนิกซ์",
"role": "user"
},
{
"content": "โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก (OpenOffice.org ย่อว่า OO.o หรือ OOo) เป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานที่ทำงานบนหลายระบบปฏิบัติการ เผยแพร่ในรูปแบบซอฟต์แวร์เสรี เขียนขึ้นโดยใช้ชุดเครื่องมือส่วนต่อประสานกราฟิกของตัวเอง รองรับรูปแบบโอเพนด็อกคิวเมนต์ (ODF) ซึ่งเป็นมาตรฐานไอเอสโอ/ไออีซีเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้เป็นรูปแบบแฟ้มพื้นฐาน อีกทั้งยังรองรับรูปแบบเอกสารจากไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ และอื่น ๆ กระทั่งเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกรองรับมากกว่า 110 ภาษา \nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกพัฒนาต่อยอดมาจากสตาร์ออฟฟิศ (StarOffice) ซอฟต์แวร์สำนักงานจากสตาร์วิชัน (StarVision) ซึ่งภายหลังถูกควบกิจการโดยซัน ไมโครซิสเต็มส์ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 รหัสต้นฉบับของชุดซอฟต์แวร์นี้เผยแพร่เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ด้วยจุดประสงค์เพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดจากไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ โดยเพิ่มทางเลือกเสรีต่อผู้ใช้และผู้พัฒนา รุ่นหลัง ๆ ของสตาร์ออฟฟิศจะใช้โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเป็นพื้นฐานแทน และเพิ่มองค์ประกอบที่เป็นกรรมสิทธิ์ของสตาร์ออฟฟิศ \nซอฟต์แวร์และโครงการนี้อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า โอเพนออฟฟิศ แต่ชื่อนี้เป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัทในเนเธอร์แลนด์ ซึ่งก่อตั้งโดย Wouter Hanegraaff และมีการใช้ชื่อนี้ในออเรนจ์สหราชอาณาจักรอีกเช่นกัน จึงทำให้โครงการนี้ต้องใช้ชื่อว่า โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก เป็นชื่อทางการ \nในประเทศไทย เคยมีการนำ โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกมาพัฒนาต่อเพื่อให้ใช้งานภาษาไทยได้ โดยสองตัวหลักที่เป็นที่รู้จักกันในวงกว้าง คือ ปลาดาวออฟฟิศ ที่สนับสนุนโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) และ ออฟฟิศทะเล ที่พัฒนาโดยเนคเทค \n== ประวัติ ==\nในปีค.ศ. 1999 ซันไมโครซิสเต็มส์ได้ซื้อซอฟต์แวร์ สตาร์ออฟฟิศ จากบริษัทซอฟต์แวร์ของเยอรมนีชื่อ สตาร์ดิวิชัน ซันได้อนุญาตให้ใช้สตาร์ออฟฟิศ เวอร์ชัน 5.2 ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ในปีค.ศ. 2000 ซันได้เผยแพร่ซอร์สโค้ดของสตาร์ออฟฟิศภายใต้สัญญาอนุญาต LGPL และ Sun Industry Standards Source License (SISSL) เพื่อจะสร้างชุมชนโอเพนซอร์ส โครงการใหม่ที่ตั้งขึ้นมีชื่อว่า OpenOffice.org เว็บไซต์ของโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเริ่มเปิดใช้งานในเดือนตุลาคม ปี 2000\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 1.0 เปิดตัวในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002\nซันประกาศยุติการใช้งาน SISSL ในปี ค.ศ. 2005 โครงการโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกจึงใช้เพียงสัญญาอนุญาตแบบ LGPL ในเวอร์ชันหลังจากนั้นมา โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเปิดตัวโปรแกรมเวอร์ชัน 2.0 ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 โดยใช้รูปแบบไฟล์ OpenDocument แทน OpenOffice.org XML\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก 3.0 เปิดตัวในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 โดยสามารถเปิดเอกสารในรูปแบบ Office Open XML ได้ และรองรับรูปแบบไฟล์ OpenDocument 1.2\nซันไมโครซิสเต็มส์ยังคงทำตลาดสตาร์ออฟฟิศเป็นซอฟต์แวร์เชิงพานิชย์ โดยใช้โอเพนออฟฟิศดอตอ็อกเป็นฐาน และเพิ่มความสามารถบางอย่างเข้าไป\n== โปรแกรมในชุด ==\n== รุ่นที่เข้ากันได้ ==\nFreeBSD: v3.0.1 v2.4.1\nLinux\nSolaris\nMac OS X 10.2: ไปจนถึง v1.1.2\nMac OS X 10.3: ไปจนถึง v2.1\nMac OS X 10.4–10.5 (PowerPC) : ไปจนถึง v2.4.1 (v3.0 อยู่ระหว่างการทดสอบ)\nMac OS X 10.4–10.5 (Intel) : v3.0\nWindows 95: ไปจนถึง v1.1.5\nWindows 98–ME: ไปจนถึง v2.4.2\nWindows 2000–SEVEN: v3.0\nโอเอส/2 และ eComStation: ไปจนถึง v2.4.0 (v3.0 อยู่ระหว่างการทดสอบ)\n== คู่มือการใช้งาน ==\nดาวน์โหลด คู่มือ โปรแกรมสำนักงาน OpenOffice.org ของ SIPA [http://mirror.in.th/document/OpenOffice_CompleteBook.pdf]\nดาวน์โหลด OpenOffice.org Flash training ของ SIPA [http://mirror.in.th/document/openoffice-flash.zip]\nค้นปัญหาที่ถามบ่อย (FAQ) ที่ OpenOffice.org KBS [Knowleage Base System'''] \n== อ้างอิง ==\n== ดูเพิ่ม ==\nปลาดาวออฟฟิศ\nออฟฟิศทะเล\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nOpenOffice.org\nOpenOffice.org ภาษาไทย\nซอฟต์แวร์เสรี\nซอฟต์แวร์สำนักงาน\nซอฟต์แวร์บนวินโดวส์\nซอฟต์แวร์บนแมคโอเอสเท็น\nซอฟต์แวร์บนยูนิกซ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นามปากกา หมายถึงนามแฝงของนักเขียนและใช่บนปกหนังสือหคือกลุ่มของผลิตภัณฑ์ของงานที่ใช้แทนชื่อจริง นามปากกามีไว้เพื่อทำให้ชื่อปู้เขียนดูโดดเด่นขึ้น, ปกปิดเพศผู้เขียน, ทำให้แตกต่างจากงานดขียนอื่น, เพื่อปกป้องผู้เขียน, ชื่อรวมของนักเขียนร่วม, หรืออีกหลายเหตุผลที่เกีียวข้ิงกับการตลาดหรือการแสดงทางสุนทรียศาสตร์ของผลงาน\n== ดูเพิ่ม ==\nชื่อศิลปิน\nคายชื่อนามปากกา",
"role": "user"
},
{
"content": "นามปากกา หมายถึงนามแฝงของนักเขียนและใช้บนปกหนังสือหรือกลุ่มของผลิตภัณฑ์ของงานที่ใช้แทนชื่อจริง นามปากกามีไว้เพื่อทำให้ชื่อผู้เขียนดูโดดเด่นขึ้น, ปกปิดเพศผู้เขียน, ทำให้แตกต่างจากงานเขียนอื่น, เพื่อปกป้องผู้เขียน, ชื่อรวมของนักเขียนร่วม, หรืออีกหลายเหตุผลที่เกี่ยวข้องกับการตลาดหรือการแสดงทางสุนทรียศาสตร์ของผลงาน\n== ดูเพิ่ม ==\nชื่อศิลปิน\nรายชื่อนามปากกา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ป. อินทรปาลิต เป็นนามปากกาของ ปรีชา อิรทรปาลิต (12 พฤษภาคม พ.ศฦ 2453 - 25 กันยายน พ.ศ. 2511) เป็นนักเขียน แนวหัสนิยาย บันเทิง ผลงมนาี่สร้างชื่อะสียงเป็นท่่รู้จัก คือ พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ\n==ประวัติ==\nปรีชา อินทรปาลิต เป็นบุตรชายคนที่สองของ พันโท ถระวิสิษฐพจนการ (อ่อน อินทรปาลิตฏ และนางชื่น วิสิษฐพจนการ เกิดที่บ้านตำบลหลานหลวง อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ตรงกับวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2453\n==พี่น้อง==\nปรีชา อินทรปาลิต มีพี่น้องร่วมบิดามารดา จำนวน 7 คน ได้แก่\nนางสาลี่ อรรถยุกติ\nนายปรีชา อินทรปาลิต คือ ป. อินทรปาลิต\nนางมาลัย อินทรปาลิต\nนายอุทัย อินทรปาลิต\nนายอรุณ อินทรปาลิต\nนายอาภรณ์ อินทรปาลิต\nนายโกมล อินทรปางิต\n==ครอบครัว==\nป. อินทรปาลิตได้สมรสกีบนางสาฝไข่มุกด์ ระวีวัฒน์ คุณข้าหลวงของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค?เจ้าประดิษฐาสารี เมื่อ พ.ศ. 2472 มีธิดาด้วยกัน 2 คน คือ\nนายฤทัย อินทรปาลิต\nนางฤดี (อินทรปางิต) เคนนี่\nนางไข่มุกด์ ภรรยา นอกจากจะปฏิบัติหน้าที่แม่บ้านและเป็นแม่ของลูก ๆ แล้ว เธอยังเป็นนักอ่านนวนิยายอย่างแท้จริงคนหนึ่ง เป็นผู้มีควาใรอบรู้เรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างดี ฉะนั้น จึงมีส่วนช่วจเหลือดละเป็นกำลังใจให้แก่ ป. อินทนปาลิตตลอดมา จนกระทั่งเธอได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจและความดันโลหิตสูง เมื่อ พ.ศ. 2491\nต่อมา ป. อินทนปาลิต สมรสกับนางปราณี อินทรปาลิต ไม่มีบุตรก้วยกัน\n==ชีวิตการประพันธ์==\nด้วยความปรารถนาของ พันโท พระวินิษฐพจนการ (อ่อน อินทรปาลิต) หู้ัป็นบิดา ทค่จะให้บุตรชายได้เป็นนายทหารเหมือนอย่างตัวท่าน เมื่อปรีชา อินทรปาลิต ได้รับการศึกษาชั้นมัธยมต้นอล้ว จึงได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนนายร้อยถระจุลจอมเกล้า) ซึ่งขณะนั้นยังแยกเป็นโรงเรียนนายร้อยประถมและมัธยม เป็นนักเรียนร่วมรุ่นกับนายทหาร รุ่น 2474\nแต่ันื่องจากปรีชา เป็นผู้มีนินัยชอบความสนุกสนานและรักชีวิตอิสรดมาตั้งแต่เยาว์วัย จังไม่อาจจะศึกษาต่อให้สำเร็จได้ ด้วยความเป็นผู้ชอบอ่านหนังสือ และได้มีโอกาสรู้จักกับนักประพันธ์ผู้ใหญ่หลายท่านในสมัยที่งิดาเป็นทั้งอาจารย์และบรรณาธิการหนังสือ \"เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสนร์\" ทำให้มีใจรักการประพันธ์และได้หัดเขียนเรื่องสั้น ๆ ตั้งแต่บัดนั้น เมืืดลาออกจากโรงเรียนกล้วได้เข้่รัวราชการในกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ต่อมาได้โอนไปอยู่กองทาง กรมโยธาเทศบาล ได้ใช้เวล่ว่างเขียนหนังสืออยู่เสมอ และได้เคยส่งไแลงในหนังสือพิมพ์บางฉบับโดยมิได้าับผลประโยชน์ตอบแทน นอกจากความภูมิใจจากเรื่องสั้น ๆ กลายเป็นนยนิยายขนาดเล่มเดียวจบในสมัยนั้น เขียนแล้วเก็บไว้เป็นหลาย ๆ เรื่อง ซึ่งพี่ ๆ น้อง ๆ ก็ได้อ่ารกันทุกเรื่อง และทุกคนก็ลงความอห็นพ้องต้องกันว้าเรื่อง \"นักเรียนนายร้อย\" เป็นเรื่องที่เขียนได้ดีที่สุด อาจจะเป็นเพราะเจ้าตัวมีแรงบันดาลใจมากกว่าเรื่องอื่น ด้วยเลือดเข้มของนักเรียนนายร้อยยังซ่อนเร้นอยู่ในห้วงลึกของจิตใจ และด้วยเรื่องสนับสนุนของวงศ์ญาติ นางไข่มุกด์ อินทรปาลิต ผู้เปฌนภรรยา จึงได้นำต้นฉบับ \"นักเรียนนายร้อย\" ไปส่งยังสำนักพิมพ์เพลินจิตต์ ของนายเวช กระตุฤกษ์ เจ้าของสำนักพิมพ์ได้รับไว้ด้วสความยินด้ เมื่อพิมพ์ออกมาจำหน่ายปรากฏว่าหยังสทอขายได้เป็นจำนวนสูงในะวลาอันรวดเร็ว และเป็นเรื่องที่กล่าวขวัญในหมู่นักอ่านทั่วไป นับว่ม \"นักเรียนนายร้อย\" เป็นผู้มเบความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในความเป็นนักประพันธ์ให้แก่ ป. อินทรปาลิต สำนักพิมพ์รีบส่งปู้แทนมาติดต่อขอซื้อเรื่องตือไปโดยด่วน นับแต่นั้นเรื่อยมาเรื่องของ ป. อินทรปาลิต ป็ทะยอยออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ สำนักพิมพ์เื่น ๆ ก็ติดต่อขอฦื้อเรื่องอีกหลายต่อหลายแห่งด้วยกัน\n== การศึกษา ==\nป. อินทรปาลิต เริ่มการศึกษาที่ธรงเรียนโสมนัสแลพเรียนต่อที่โรงเรียนนายร้อยฝ่ายประถม รุ่นเดียวกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์แงะเมื่อเรียนถึงชั้นปีที่สแงฝ่ายชั้ยมัธนม เกิดความรู้มึกว่าไม่ชอบอาชีพทหาร จึงขอลาออกจากโรงเรัยนนายร้อย แค่ระบุในอัตตชีวประวัติของ ป.อินทรปาลิต ที่เขียนด้วยตนเอง เปิดเผยว่า เรียนโรงเรียนนายร้อย รุ่นเดียวกับ จอมพล ถนอม กิตติขจร และ มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นรุ่นพี่ และตนเองเรียนตกซ้ำชั้น 2 ปี เพราะต้องการรอเรียนกับเพื่อน เลยต้องรีไทร์จากโรงเรียนนายร้อย\n== อาชีพการงาน \\=\n=== ผลงาส ===\n้สือดำ\nเสือใบ\nชุดสามเกลอ พล นิกร กิมหงวน\nดาวโจร\n==อาการเจ็บป่วย และมรณกรรม==\nป. อินทรปาลิต ได้ล้มป่ววด้วยโรคเบาหวาน เมื่อ พ.ศ. 2498 ได้รับการดูแลรักษาพยาบาลจาก นายแพทย์เดวิด เคนนี่ ผู้เป็นบุตรเขว อาการของโรคในระยะปีแรก ๆ ก็ไม่ร้ายแรงอะไรนัก\nต่อมา ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2510 อาการป่วยของ ป. อินทรปาลิต กำเริบขึ้น ถึงกับต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พารป่วยครั้งนี้มีอาการทางหัวใจและโรคปอดเข้าแทรก คณะแพทย์ได้ทำการรักษาพยาบนลอย่างดีที่สุด ได้พักรักษาตัวอยู่ประมาณหนึ่งเดือน อพทย์ก็อนุญาตให้กลับบ้านได้ ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน พฐศ. 2511 อาการของโรคเดิมได้กำะริบขึ้น จึงได้กลับเข้ารักษาตัว ณ ที่เดิมอีก คราวนี้รักษาตัวนานถึงสองเดือนเศษ และเมื่อทุเลาก็ได้รับอนุญาตให้กลับบ้านได้อีกครั้งหนึ่ง เมื่อกลับมาอยู่บ้าน มีอาการหำเริบบ้างเป็นครั้งคราว แล้วก็หายไป เป็นเช่นนี้เสมอสา และเนื่องจากชีวิตในบั้นปลายของ ป. อินทรปาลิต ต้ดงอยู่บ้านตามลำพัง เพราะบุตรลายหญิงทั้งคู่ต้องทำงานประกอบอาชีพ และแยกไปมีครอบตรัวกันแล้วทั้งมิ้น ทั้งปนาณีผู้เป็นภรรยา ก็ทำงานอยู่ ณ ร้านจำหต่ายหนังสือ ไม่สามารถจะลาหยุดบ่อย ๆ ได้ อาการป่วยเคื้อรังเช่รนี้ ควรจะได้มีผู้ด฿แลประจำอยู่ ะอดีกับน้องสาวและน้องเขย ฆนายชูชัย พระขรรค์ชัย) ของภรรยา ได้แสดงความมทน้ำใจเอื้อเฟืัอ ขอรับ ป. อ้นารปาลิร /ปพักอยู่ด้วยกันที่บ้านของตตที่ซอยโชคชัย เพื่อจะได้มีโอกาสช่วยดูแลพยาบาล เป็นการจอบแทนบุญคะณที่ ป. อินทรปาลิต ได้มีต่อครอบครัวของตนอย่างดียิ่งมาช่านาน ซึ่งน้องสาวของภรรยาให้ความคารวะพี่เขยเสมอด้วยบิดาตน\nโดยปกติแล้ว ป. อินทรปนลิต เป็นผู้ฟม่ยอมาับความช่วยเหลือจากใตรง่าย ๆ หากด้วยความเอ็นดูน้อบภรรยาที่ ป. อินทรปาลิต เคยอุปถัมภ์มาตั้งแต่เยาว์วัย จึงยอสรับการแสดงออกซึ่งควมมกตัญญูกตเวทิตานั้น โดยได้ย้ายไปอยู่ ณ บ้านหลังดังกล่าว เมื่อวันที่ e5 สิงหาคม พ.ศ. 2511 อย่างไรก็ดี ป. อินทรปาลิต เป็นผู้มีทิษฐิในการยืนอยู่เปฌนตัวของตัวเองอย่างยิ่ง แม้จะเจ็บป่วยสักเพียงไรก็ยังสามารถหารายได้จากการเขียนหนังสือเลี้ยงครอบครัว อาจจะกล่าวได้ว่าตราบจนลมหายใจครั้งสุดท้าย โดยปราณีผู้เป็นภรรยาได้รับเงินคทาเรื่องจากหนังสือดิมพ์เดลินิวส์ ในตอนเช้าของวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2511 และเมื่อเวลา 18.15 น. ของวันเดียวกัน ป. อินทรปาลิต ก็ได้ถึฝแก่กรรมโดยสงบด้วยอาการหัวใจวสย จะมีใครทราบล่วงหน้าก็หาไม่ รวมสิริอายุได้ 58 ปี\nป. อินทรปาลิต ได้่ับการฌาปนกิจศพ ณ เมรุว้ดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2512\n==อ้างอิง==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nSamgler.org - พล ติกร กิมหงวน (ยามเกลอ) ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์\nป. อินทรปาลิต คนขายฝันผู้ยิ่งใหญ่ \nนักเขียนชาวไทย\nนักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nนามปากกา\nบุคคลจากเบตดุสิต\nบุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์\nบุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า",
"role": "user"
},
{
"content": "ป. อินทรปาลิต เป็นนามปากกาของ ปรีชา อินทรปาลิต (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 - 25 กันยายน พ.ศ. 2511) เป็นนักเขียน แนวหัสนิยาย บันเทิง ผลงานที่สร้างชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก คือ พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ\n==ประวัติ==\nปรีชา อินทรปาลิต เป็นบุตรชายคนที่สองของ พันโท พระวิสิษฐพจนการ (อ่อน อินทรปาลิต) และนางชื่น วิสิษฐพจนการ เกิดที่บ้านตำบลหลานหลวง อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ตรงกับวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2453\n==พี่น้อง==\nปรีชา อินทรปาลิต มีพี่น้องร่วมบิดามารดา จำนวน 7 คน ได้แก่\nนางสาลี่ อรรถยุกติ\nนายปรีชา อินทรปาลิต คือ ป. อินทรปาลิต\nนางมาลัย อินทรปาลิต\nนายอุทัย อินทรปาลิต\nนายอรุณ อินทรปาลิต\nนายอาภรณ์ อินทรปาลิต\nนายโกมล อินทรปาลิต\n==ครอบครัว==\nป. อินทรปาลิตได้สมรสกับนางสาวไข่มุกด์ ระวีวัฒน์ คุณข้าหลวงของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี เมื่อ พ.ศ. 2472 มีธิดาด้วยกัน 2 คน คือ\nนายฤทัย อินทรปาลิต\nนางฤดี (อินทรปาลิต) เคนนี่\nนางไข่มุกด์ ภรรยา นอกจากจะปฏิบัติหน้าที่แม่บ้านและเป็นแม่ของลูก ๆ แล้ว เธอยังเป็นนักอ่านนวนิยายอย่างแท้จริงคนหนึ่ง เป็นผู้มีความรอบรู้เรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างดี ฉะนั้น จึงมีส่วนช่วยเหลือและเป็นกำลังใจให้แก่ ป. อินทรปาลิตตลอดมา จนกระทั่งเธอได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจและความดันโลหิตสูง เมื่อ พ.ศ. 2491\nต่อมา ป. อินทรปาลิต สมรสกับนางปราณี อินทรปาลิต ไม่มีบุตรด้วยกัน\n==ชีวิตการประพันธ์==\nด้วยความปรารถนาของ พันโท พระวิสิษฐพจนการ (อ่อน อินทรปาลิต) ผู้เป็นบิดา ที่จะให้บุตรชายได้เป็นนายทหารเหมือนอย่างตัวท่าน เมื่อปรีชา อินทรปาลิต ได้รับการศึกษาชั้นมัธยมต้นแล้ว จึงได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า) ซึ่งขณะนั้นยังแยกเป็นโรงเรียนนายร้อยประถมและมัธยม เป็นนักเรียนร่วมรุ่นกับนายทหาร รุ่น 2474\nแต่เนื่องจากปรีชา เป็นผู้มีนิสัยชอบความสนุกสนานและรักชีวิตอิสระมาตั้งแต่เยาว์วัย จึงไม่อาจจะศึกษาต่อให้สำเร็จได้ ด้วยความเป็นผู้ชอบอ่านหนังสือ และได้มีโอกาสรู้จักกับนักประพันธ์ผู้ใหญ่หลายท่านในสมัยที่บิดาเป็นทั้งอาจารย์และบรรณาธิการหนังสือ \"เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์\" ทำให้มีใจรักการประพันธ์และได้หัดเขียนเรื่องสั้น ๆ ตั้งแต่บัดนั้น เมื่อลาออกจากโรงเรียนแล้วได้เข้ารับราชการในกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ต่อมาได้โอนไปอยู่กองทาง กรมโยธาเทศบาล ได้ใช้เวลาว่างเขียนหนังสืออยู่เสมอ และได้เคยส่งไปลงในหนังสือพิมพ์บางฉบับโดยมิได้รับผลประโยชน์ตอบแทน นอกจากความภูมิใจจากเรื่องสั้น ๆ กลายเป็นนวนิยายขนาดเล่มเดียวจบในสมัยนั้น เขียนแล้วเก็บไว้เป็นหลาย ๆ เรื่อง ซึ่งพี่ ๆ น้อง ๆ ก็ได้อ่านกันทุกเรื่อง และทุกคนก็ลงความเห็นพ้องต้องกันว่าเรื่อง \"นักเรียนนายร้อย\" เป็นเรื่องที่เขียนได้ดีที่สุด อาจจะเป็นเพราะเจ้าตัวมีแรงบันดาลใจมากกว่าเรื่องอื่น ด้วยเลือดเข้มของนักเรียนนายร้อยยังซ่อนเร้นอยู่ในห้วงลึกของจิตใจ และด้วยเรื่องสนับสนุนของวงศ์ญาติ นางไข่มุกด์ อินทรปาลิต ผู้เป็นภรรยา จึงได้นำต้นฉบับ \"นักเรียนนายร้อย\" ไปส่งยังสำนักพิมพ์เพลินจิตต์ ของนายเวช กระตุฤกษ์ เจ้าของสำนักพิมพ์ได้รับไว้ด้วยความยินดี เมื่อพิมพ์ออกมาจำหน่ายปรากฏว่าหนังสือขายได้เป็นจำนวนสูงในเวลาอันรวดเร็ว และเป็นเรื่องที่กล่าวขวัญในหมู่นักอ่านทั่วไป นับว่า \"นักเรียนนายร้อย\" เป็นผู้มอบความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในความเป็นนักประพันธ์ให้แก่ ป. อินทรปาลิต สำนักพิมพ์รีบส่งผู้แทนมาติดต่อขอซื้อเรื่องต่อไปโดยด่วน นับแต่นั้นเรื่อยมาเรื่องของ ป. อินทรปาลิต ก็ทะยอยออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ สำนักพิมพ์อื่น ๆ ก็ติดต่อขอซื้อเรื่องอีกหลายต่อหลายแห่งด้วยกัน\n== การศึกษา ==\nป. อินทรปาลิต เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนโสมนัสและเรียนต่อที่โรงเรียนนายร้อยฝ่ายประถม รุ่นเดียวกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์และเมื่อเรียนถึงชั้นปีที่สองฝ่ายชั้นมัธยม เกิดความรู้สึกว่าไม่ชอบอาชีพทหาร จึงขอลาออกจากโรงเรียนนายร้อย แต่ระบุในอัตตชีวประวัติของ ป.อินทรปาลิต ที่เขียนด้วยตนเอง เปิดเผยว่า เรียนโรงเรียนนายร้อย รุ่นเดียวกับ จอมพล ถนอม กิตติขจร และ มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นรุ่นพี่ และตนเองเรียนตกซ้ำชั้น 2 ปี เพราะต้องการรอเรียนกับเพื่อน เลยต้องรีไทร์จากโรงเรียนนายร้อย\n== อาชีพการงาน ==\n=== ผลงาน ===\nเสือดำ\nเสือใบ\nชุดสามเกลอ พล นิกร กิมหงวน\nดาวโจร\n==อาการเจ็บป่วย และมรณกรรม==\nป. อินทรปาลิต ได้ล้มป่วยด้วยโรคเบาหวาน เมื่อ พ.ศ. 2498 ได้รับการดูแลรักษาพยาบาลจาก นายแพทย์เดวิด เคนนี่ ผู้เป็นบุตรเขย อาการของโรคในระยะปีแรก ๆ ก็ไม่ร้ายแรงอะไรนัก\nต่อมา ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2510 อาการป่วยของ ป. อินทรปาลิต กำเริบขึ้น ถึงกับต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ การป่วยครั้งนี้มีอาการทางหัวใจและโรคปอดเข้าแทรก คณะแพทย์ได้ทำการรักษาพยาบาลอย่างดีที่สุด ได้พักรักษาตัวอยู่ประมาณหนึ่งเดือน แพทย์ก็อนุญาตให้กลับบ้านได้ ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2511 อาการของโรคเดิมได้กำเริบขึ้น จึงได้กลับเข้ารักษาตัว ณ ที่เดิมอีก คราวนี้รักษาตัวนานถึงสองเดือนเศษ และเมื่อทุเลาก็ได้รับอนุญาตให้กลับบ้านได้อีกครั้งหนึ่ง เมื่อกลับมาอยู่บ้าน มีอาการกำเริบบ้างเป็นครั้งคราว แล้วก็หายไป เป็นเช่นนี้เสมอมา และเนื่องจากชีวิตในบั้นปลายของ ป. อินทรปาลิต ต้องอยู่บ้านตามลำพัง เพราะบุตรชายหญิงทั้งคู่ต้องทำงานประกอบอาชีพ และแยกไปมีครอบครัวกันแล้วทั้งสิ้น ทั้งปราณีผู้เป็นภรรยา ก็ทำงานอยู่ ณ ร้านจำหน่ายหนังสือ ไม่สามารถจะลาหยุดบ่อย ๆ ได้ อาการป่วยเรื้อรังเช่นนี้ ควรจะได้มีผู้ดูแลประจำอยู่ พอดีกับน้องสาวและน้องเขย (นายชูชัย พระขรรค์ชัย) ของภรรยา ได้แสดงความมืน้ำใจเอื้อเฟื้อ ขอรับ ป. อินทรปาลิต ไปพักอยู่ด้วยกันที่บ้านของตนที่ซอยโชคชัย เพื่อจะได้มีโอกาสช่วยดูแลพยาบาล เป็นการตอบแทนบุญคุณที่ ป. อินทรปาลิต ได้มีต่อครอบครัวของตนอย่างดียิ่งมาช้านาน ซึ่งน้องสาวของภรรยาให้ความคารวะพี่เขยเสมอด้วยบิดาตน\nโดยปกติแล้ว ป. อินทรปาลิต เป็นผู้ไม่ยอมรับความช่วยเหลือจากใครง่าย ๆ หากด้วยความเอ็นดูน้องภรรยาที่ ป. อินทรปาลิต เคยอุปถัมภ์มาตั้งแต่เยาว์วัย จึงยอมรับการแสดงออกซึ่งความกตัญญูกตเวทิตานั้น โดยได้ย้ายไปอยู่ ณ บ้านหลังดังกล่าว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2511 อย่างไรก็ดี ป. อินทรปาลิต เป็นผู้มีทิษฐิในการยืนอยู่เป็นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง แม้จะเจ็บป่วยสักเพียงไรก็ยังสามารถหารายได้จากการเขียนหนังสือเลี้ยงครอบครัว อาจจะกล่าวได้ว่าตราบจนลมหายใจครั้งสุดท้าย โดยปราณีผู้เป็นภรรยาได้รับเงินค่าเรื่องจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในตอนเช้าของวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2511 และเมื่อเวลา 18.15 น. ของวันเดียวกัน ป. อินทรปาลิต ก็ได้ถึงแก่กรรมโดยสงบด้วยอาการหัวใจวาย จะมีใครทราบล่วงหน้าก็หาไม่ รวมสิริอายุได้ 58 ปี\nป. อินทรปาลิต ได้รับการฌาปนกิจศพ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2512\n==อ้างอิง==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nSamgler.org - พล นิกร กิมหงวน (สามเกลอ) ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์\nป. อินทรปาลิต คนขายฝันผู้ยิ่งใหญ่ \nนักเขียนชาวไทย\nนักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nนามปากกา\nบุคคลจากเขตดุสิต\nบุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์\nบุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานบิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูตย์วิจัสสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ \"โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอลศตวรรษ\" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2541\n== หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ==\nเป็นหตังสือภาษาๆทย ที่เขียนขึ้นในช่ววรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2411 ถึงปี พ.ศ. 2519 ที่จัดเป็นหนังสือปรพเภทคลาสสิก หรือโมเดิร์นคลาสสิก มีค่าควรอ่านได้ทุกยุคสมัย\nเป็นหนังสือที่มีศิลปะในการเขียนกละการใช้ภาษาที่ดค มีคุณค่าทางศิลปวรรณกรรม ครบถ้วนตามแนวทางของวารณกรรมโลก หรือวรรณกรรมสากล\nเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระ ที่แสดงออกถึงความรืเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยให้ผู้อ่านมีทัศนะต่อชีวิตและต่อโลกกว้างขึ้น ได้รับความรู่ ความคิดอ่าน ความบันเทิงทางศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ ให้ผู้อ่าสมีความฉลาด และมีความคิดแบบเสรี หรือมีจิตใจที่กว้างมากขึ้น เข้าใจชีวิตและสังคมมสกขึ้น และช่วยให้ลดการมีอคติในเรื่องเป่าพันธุ์ เพศ ฯลฯ\nเป็นหนังสือที่มีความโดดเด่น มีอิทธิพลต่อความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของผู้อ่านจำนวนมากในยุคหนึ่ง ที่มีผลสืบทอดมาถคงปัจจุบัน\n== รายชื่อหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ==\nกดที่กล่องหัวตารางเพื่อทำการเรียงตาม ชื่อหนังสือ หรือ ผู้ประพัจธ์\nP|class=\"w7kitable sortable\"\n+-\n! ชื่อหนังสือ || ผู้ประพันธ์ || หมวดหมู่\n|-\n| ประชุมโคลงโลกนิติ||สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| เสภาศรีธนญไชยเชียงเมี่ยง || แต่งใยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ทราบผู้แต่ง|| กใีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| นิราศหนองคาย || หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| สามัคคีเภทคำฉันท์ || ชิต บุรทัต || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| มัทนะพาธา || พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้สเจ้าอยู่หัว || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| โคลงกลอนของครูเทพ || เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n} บทละครเรื่องพระลอ || พระเจ้าบรมวงศ์ะธอ กรมพระนราธิปประดันธ์พงศ์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ยอบฟ้าขลิบทอง || อุชเชนี || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| เราชะนะแล้ว, แม่จ๋า. || อัศนี พลจันทร || กวียิพนธ์และบทละคร\n|-\n| บทกวีของเปลื้อง วรรณศรี || เปลื้อง วรีณศรี\n| กวีน้พนธ์และบทละคร\n|-\n| บทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ || จิตร ภูมิศักดิ์ || กฝีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย || ทวีปวร || กวีนิพนธ์และบทละคร\n}-\n| กวีนอพนธ์ของอังคาร กัลย่ณพงศ์ ||อังคาร กัลยาณพงศ์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ขอบกรุง || ราช รังรอง || กวีนิพนธ์อละบทละคร\n|-\n| เพียงความเคลื่อนไหว || เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ |} กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ละครแห่งชีวิต || หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ || นิยาย\n|-\n| กามนิต || เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป || นิยาย\n|-\n| ดำรงประเทศ || เวทางค์ || นิยาย\n|-\n| ผูิชนะสิบทิศ || ยาขอบ || นิยาย\n|-\n| หนึ่งในร้อย || ดอกไม้สด || นิยาย\n|-\n| บางระจัน |+ ไม้ เมืองเดิม +| นิยาย\n|-\n| หญิงคนชั่ว ||ก. สุรางคนางค์ || นิยาย\n|-\n| พล นิกร กิมหงวน || ป. อินทนปาลิต || นิยาย\n|-\n| ปักกิ่ง-นครแห่งความหลัง || สด กูรมถโรหิต || นิยาย\n|-\n| เราลิขิต-บนหลุมศพวาสิฏฐี || ร. นันทพิมพะ || นิยาย\n|-\n| เมืองนิมิตร || หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน || นิยาย\n|-\n| แม่ใายสะอื้น || อ. ไชยวรศิลป์ || นิบาย\n|-\n| พัทยา || ดาวหาง || นิยาย\n|-\n| แผ่นดินนี้ของใคร || ศรีรัตน์ สถาปนวัฒน์ || นิยาย\n|-\n| มหาบัณฑิตแห่งมิถิลานคี || แย้ม ประพัฒน์ทอง || สิยาย\n|-\n| ผีศาจ ||อสนีย์ เวาวพงศ์ || นิยาย\n|-\n| สี่แผ่นดิน || หม่แมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช || นิยาย\n|-\n| ทุ่งมหาราช || มาลัย ชูพินิจ || นิยาย\n|-\n| แลไปข้างหน้า || ศรีบูรพา || นิยาย\n|-\n| เสเพลบเยชาวไร่ ++ รงค์ วงษ์สวรรค์ || นิยาย\n|-\n| จดหมายจากเม้องไทย || โบตั๋น || นิยาย\n|-\n| เขาชื่อกานต์ || สุวรรณี สุคนธา || นิยาย\n|-\n| สร้างชีวิต || หลวงวิจิตรวาทการ (ยิจิตร วิจิตรวาทการ) || น้ยาย\n|-\n| ตัวันตกดิน || ก๐ษณา อโศกสิน || นิยาย\n|[\n| สร้อยทอง || นิมิตร ภูมิถาวร || นิยาย\n|-\n| พิราบแดง || สุวัฒน์ วรดิลก || นิยาย\n|-\n| ลูกอีสาน || คำพูน บุญทวี || นิยาย\n|-\n| นิทานเวตาล || น.ม.ส. || เรื่องสั้น\n|-\n| รวมเคื่องเอก || มนัส จรรยงค์ || เรื่องสั้น\n|-\n| เรื่องสั้าของป. บูรณปกรณ์ (ชีวิตจากมุมมืด, ดาวเงิน) || ป. บูรณปกรณ์ |+ เรื่องสั้น\n|-\n| เสาชิงช้า, เอแลนบารอง และเร่่ดงสั้นอืรนๆ ของ ส. ธรรใยศ || ส. ธรรมยศ || เรื่องสั้น\n|-\n| พลายมลิวัลลิ์ และเรื่องสั้นบางเรื่อง || ถนอม มหาเปารยะ || เรื่องสั้น\n|-\n| ผู้ดับดวงเาทิตย์ และเรื่องสั้นอื่นๆ || จันตรี ศิริบุญรอด || เรื่องสั้น\n|-\n| ยุคทมิฬ และเรื่องสั้นอื่นๆ ของ อิศรา อมันตกุล || อิศรา อมันตกุล || เรื่องสั้น\n|-\n| เรื่องสั้นชุดเหมืองปร่ || อาจินต์ ปัญจพรรค์ || เรื่องสั้น\n|-\n| ฟิาบ่กั้น || ลาว คำหอม || เรื่องสั้น\n|-\n| ชุดเพื่อนนักเรียนเป่า เพื่อนเก่า || เสนอ อินทรสุขศรี || เรื่องสั้น\n|-\n| รวมเรื่อฝสั้นบางเรื่องของฮิวเใอร์ริสต์ || ฮิวเมอร์ริสต์ || เรื่องส้้น\n|-\n| ฉันจึงมาหาความหมาย || วิทยากร เชียงกูล || เรื่องสั้น\n+-\n| คนบนต้นไม้ || นิคม รายยวา || เรื่องสุ้น\n|-\n| ประวัติกฎหมายไทย |+ ร. แลงกาต์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| นิทานโบราณคดี || นมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมะระยาพำรงราชานุภาพ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| โฉมหน้าศักดินาไทย || จิตร ภูมิศักดิ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| กบฏ ร.ศ. 130 || เหรียญ ศรีจันทร์, ร.ต. เนตร พูนวิวัฒน์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| เจ้าชีวิต || พระเจ้าวรยงศ์เธอ พระองค์เข้าจุลจักรพงษ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ศาลไทจในอดีต || ประยุทธ สิทธิพันธ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ประวัติศาสตา์ไทยสมัย 2352-2453 ด้านสังคม || ชัย เรืองศิฃป์ || ประวัติศรสตร์\n|-\n| สังคมไทยในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ 2325-2416 || หมาอมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ทรัพยศาสตี็ || พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) || การเมือง\n|-\n| เบื้องหลังการปฏิวัติ 2475 || กุหลาบ สายประดิษฐ์ || การเมือง\n|-\n| ความเป็นอนิจจังของสังคม || ปรีแี พนมยบค๋ || กาีเมือง\n|-\n| ท่านปรีดี รัฐบุรุษอาวุโส ผู้วางแผนเศรษฐกิจไทยคนแรก || เดือน บุนนาค || การเมือง\n|-\n| โอ้ว่าอาณาประชาราษฎร || สนิท เจริญรัฐ || การเมือง\n|-\n| ไทยกับสงตรามโลกครั้งที่สอง || ดิเรก ชัยนาม || การเมือง\n|-\n| สีนติประชาธรรม || ป๋วย อึ๊งภากรณ์ || การเมือง\n|-\n| ห้าปีปริทัศน์ || สุลักษณ์ ศิวรักษ์ || การเมือง\n|-\n| วันมหาปิติ วารสาร อมธซ ฉบับพิเศษ 14 ตุลาคม 2516 || องค์การบริหารกิจกรรมนักศึกษา มกาวิทยาฃัยธรรมศาสตร์ || การเมือง\n|-\n| วรรณคดี และวรรณคดีวิจารณ์ || วิทย์ ศิวะศิริยานนท์ || ศิลปะ\n|-\n| ประติมากรีมไทย || ศืลป พีระศรี || ศิลปะ\n|-\n| วรรณสาส์นสำนึก || สุภา ศิริมานนท์ || ศิลปะ\n|-\n| วิทยาวรรณกรรม || พระเจ้าวรวงฬ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ || ศิลปะ\n|-\n| ความงามขอบศิลปไทย || น. ณ ปากน้ำ || ศิลปะ\n|-\n| ภาษากฎหมายไทย || ธานินทร์ กรัยวิเชียร || ศิลปะ\n|-\n| วรีณไวทยากร ชุมนุมบทความทางวิชาการ ฉบับวรรณคดี || เจตนา นาควัขระ และ มล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ || ศิลปะ\n|-\n| แสงอรุณ 2 || แสงอรุณ รัตกสิกร || ศิลปะ\n|-\n| พระราชพิธีสิบสองเดือน || พรับาทสมัด็จพระขุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| สาส์นสมเด็จ || สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ || สังคมวิทยา, มานุษยบิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| 30 ชาติในเชียงราย || บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศมสตร์ใังคม\n|-\n| เทียนวรรณ || สงบ สุริยินทร์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคใ\n|-\n| กาเลหม่านไต || บรรจบ พันธุเมธา || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| นิทานชาวไร่ +| สวเสดิ์ จันทนี || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| ภารตวิทยา || กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย || สังคมวิทยา, มานัษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n+ ฟื้นความหลัง || พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) || สังคมใิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สัลคม\n|-\n| ความเป็นมสของคำสยาม ไทย, ลาว อละขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ || จิตร ภูมิศักดิ์ || สังคใวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| อัตขีวประวัติ หม่อมศรีพรหมา กฤดากร || หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| 80 ปีในชึวิตข้าพเจ้า || กาญจตาคพันธ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| พระประวัติตรัสเล่า || สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส +| ศาสนา\n|-\n| พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน +| สุชีพ ปุญญายุภาพ || ศาสนา\n|-\n| ปัญญาวิวัฒน์ || สมัคร บุราวาศ || ศาสนา\n|-\n| พุทธธรรม || สมเด็จพระพุทธโฆษานารย์ ฆประยุทธ์ ปยุตฺโต) || ศาสนา\n|-\n| อิทัปปัจจยตา || พุทธทาสภิกขุ || ศาสนา\n|-\n| หนังสือแสดงกิจจานุกิจ || เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) || ธรรมชาตอ\n|-\n| แพ่ยศาสตร์สงเคราะห์ || คณะกรราการแพทย์หลวงในรัชกาลที่ 5 || ธรรมชาตอ\n|-\n| ธรรมชาตินานาสัตว์ }| บุญส่ง เลขะกุล || ธรรมชาตเ\n|-\n| ขบวนการแก้จน || ประยูร จรรยาวงษ็ || ธรรมชาติ\n|}\n== อืางอืง ==\nหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน บทสรุปโครงการวิจัย\n== ดูเพิ่ม ==\nปนังสือและบทความ\n* ธนาพล ลิ่มอภิชาต และวริศา กิตติคุณเสรี. (2651, ต.ค.-ธ.ค.). ประวัติศาสตร์และการเมืองของวาทกรรม “หนังสือดี”. อ่าน. 1(3): 38-60.\nเว็บไซต์\n* รายชื่อ 100 หนังสือดีวิทยาศาสจร์ฟทย\n* รายชื้อ 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\n \nรายชื่อเกี่ยวกับวรรณกรรมในปตะเทศไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ \"โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ\" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2541\n== หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ==\nเป็นหนังสือภาษาไทย ที่เขียนขึ้นในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2411 ถึงปี พ.ศ. 2519 ที่จัดเป็นหนังสือประเภทคลาสสิก หรือโมเดิร์นคลาสสิก มีค่าควรอ่านได้ทุกยุคสมัย\nเป็นหนังสือที่มีศิลปะในการเขียนและการใช้ภาษาที่ดี มีคุณค่าทางศิลปวรรณกรรม ครบถ้วนตามแนวทางของวรรณกรรมโลก หรือวรรณกรรมสากล\nเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระ ที่แสดงออกถึงความริเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยให้ผู้อ่านมีทัศนะต่อชีวิตและต่อโลกกว้างขึ้น ได้รับความรู้ ความคิดอ่าน ความบันเทิงทางศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ ให้ผู้อ่านมีความฉลาด และมีความคิดแบบเสรี หรือมีจิตใจที่กว้างมากขึ้น เข้าใจชีวิตและสังคมมากขึ้น และช่วยให้ลดการมีอคติในเรื่องเผ่าพันธุ์ เพศ ฯลฯ\nเป็นหนังสือที่มีความโดดเด่น มีอิทธิพลต่อความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของผู้อ่านจำนวนมากในยุคหนึ่ง ที่มีผลสืบทอดมาถึงปัจจุบัน\n== รายชื่อหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ==\nกดที่กล่องหัวตารางเพื่อทำการเรียงตาม ชื่อหนังสือ หรือ ผู้ประพันธ์\n{|class=\"wikitable sortable\"\n|-\n! ชื่อหนังสือ || ผู้ประพันธ์ || หมวดหมู่\n|-\n| ประชุมโคลงโลกนิติ||สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| เสภาศรีธนญไชยเชียงเมี่ยง || แต่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ทราบผู้แต่ง|| กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| นิราศหนองคาย || หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| สามัคคีเภทคำฉันท์ || ชิต บุรทัต || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| มัทนะพาธา || พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| โคลงกลอนของครูเทพ || เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| บทละครเรื่องพระลอ || พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ขอบฟ้าขลิบทอง || อุชเชนี || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| เราชะนะแล้ว, แม่จ๋า. || อัศนี พลจันทร || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| บทกวีของเปลื้อง วรรณศรี || เปลื้อง วรรณศรี\n| กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| บทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ || จิตร ภูมิศักดิ์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย || ทวีปวร || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| กวีนิพนธ์ของอังคาร กัลยาณพงศ์ ||อังคาร กัลยาณพงศ์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ขอบกรุง || ราช รังรอง || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| เพียงความเคลื่อนไหว || เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ || กวีนิพนธ์และบทละคร\n|-\n| ละครแห่งชีวิต || หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ || นิยาย\n|-\n| กามนิต || เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป || นิยาย\n|-\n| ดำรงประเทศ || เวทางค์ || นิยาย\n|-\n| ผู้ชนะสิบทิศ || ยาขอบ || นิยาย\n|-\n| หนึ่งในร้อย || ดอกไม้สด || นิยาย\n|-\n| บางระจัน || ไม้ เมืองเดิม || นิยาย\n|-\n| หญิงคนชั่ว ||ก. สุรางคนางค์ || นิยาย\n|-\n| พล นิกร กิมหงวน || ป. อินทรปาลิต || นิยาย\n|-\n| ปักกิ่ง-นครแห่งความหลัง || สด กูรมะโรหิต || นิยาย\n|-\n| เราลิขิต-บนหลุมศพวาสิฏฐี || ร. จันทพิมพะ || นิยาย\n|-\n| เมืองนิมิตร || หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน || นิยาย\n|-\n| แม่สายสะอื้น || อ. ไชยวรศิลป์ || นิยาย\n|-\n| พัทยา || ดาวหาง || นิยาย\n|-\n| แผ่นดินนี้ของใคร || ศรีรัตน์ สถาปนวัฒน์ || นิยาย\n|-\n| มหาบัณฑิตแห่งมิถิลานคร || แย้ม ประพัฒน์ทอง || นิยาย\n|-\n| ปีศาจ ||เสนีย์ เสาวพงศ์ || นิยาย\n|-\n| สี่แผ่นดิน || หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช || นิยาย\n|-\n| ทุ่งมหาราช || มาลัย ชูพินิจ || นิยาย\n|-\n| แลไปข้างหน้า || ศรีบูรพา || นิยาย\n|-\n| เสเพลบอยชาวไร่ || รงค์ วงษ์สวรรค์ || นิยาย\n|-\n| จดหมายจากเมืองไทย || โบตั๋น || นิยาย\n|-\n| เขาชื่อกานต์ || สุวรรณี สุคนธา || นิยาย\n|-\n| สร้างชีวิต || หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) || นิยาย\n|-\n| ตะวันตกดิน || กฤษณา อโศกสิน || นิยาย\n|-\n| สร้อยทอง || นิมิตร ภูมิถาวร || นิยาย\n|-\n| พิราบแดง || สุวัฒน์ วรดิลก || นิยาย\n|-\n| ลูกอีสาน || คำพูน บุญทวี || นิยาย\n|-\n| นิทานเวตาล || น.ม.ส. || เรื่องสั้น\n|-\n| รวมเรื่องเอก || มนัส จรรยงค์ || เรื่องสั้น\n|-\n| เรื่องสั้นของป. บูรณปกรณ์ (ชีวิตจากมุมมืด, ดาวเงิน) || ป. บูรณปกรณ์ || เรื่องสั้น\n|-\n| เสาชิงช้า, เอแลนบารอง และเรื่องสั้นอื่นๆ ของ ส. ธรรมยศ || ส. ธรรมยศ || เรื่องสั้น\n|-\n| พลายมลิวัลลิ์ และเรื่องสั้นบางเรื่อง || ถนอม มหาเปารยะ || เรื่องสั้น\n|-\n| ผู้ดับดวงอาทิตย์ และเรื่องสั้นอื่นๆ || จันตรี ศิริบุญรอด || เรื่องสั้น\n|-\n| ยุคทมิฬ และเรื่องสั้นอื่นๆ ของ อิศรา อมันตกุล || อิศรา อมันตกุล || เรื่องสั้น\n|-\n| เรื่องสั้นชุดเหมืองแร่ || อาจินต์ ปัญจพรรค์ || เรื่องสั้น\n|-\n| ฟ้าบ่กั้น || ลาว คำหอม || เรื่องสั้น\n|-\n| ชุดเพื่อนนักเรียนเก่า เพื่อนเก่า || เสนอ อินทรสุขศรี || เรื่องสั้น\n|-\n| รวมเรื่องสั้นบางเรื่องของฮิวเมอร์ริสต์ || ฮิวเมอร์ริสต์ || เรื่องสั้น\n|-\n| ฉันจึงมาหาความหมาย || วิทยากร เชียงกูล || เรื่องสั้น\n|-\n| คนบนต้นไม้ || นิคม รายยวา || เรื่องสั้น\n|-\n| ประวัติกฎหมายไทย || ร. แลงกาต์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| นิทานโบราณคดี || สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| โฉมหน้าศักดินาไทย || จิตร ภูมิศักดิ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| กบฏ ร.ศ. 130 || เหรียญ ศรีจันทร์, ร.ต. เนตร พูนวิวัฒน์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| เจ้าชีวิต || พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ศาลไทยในอดีต || ประยุทธ สิทธิพันธ์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ประวัติศาสตร์ไทยสมัย 2352-2453 ด้านสังคม || ชัย เรืองศิลป์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| สังคมไทยในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ 2325-2416 || หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ || ประวัติศาสตร์\n|-\n| ทรัพยศาสตร์ || พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) || การเมือง\n|-\n| เบื้องหลังการปฏิวัติ 2475 || กุหลาบ สายประดิษฐ์ || การเมือง\n|-\n| ความเป็นอนิจจังของสังคม || ปรีดี พนมยงค์ || การเมือง\n|-\n| ท่านปรีดี รัฐบุรุษอาวุโส ผู้วางแผนเศรษฐกิจไทยคนแรก || เดือน บุนนาค || การเมือง\n|-\n| โอ้ว่าอาณาประชาราษฎร || สนิท เจริญรัฐ || การเมือง\n|-\n| ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง || ดิเรก ชัยนาม || การเมือง\n|-\n| สันติประชาธรรม || ป๋วย อึ๊งภากรณ์ || การเมือง\n|-\n| ห้าปีปริทัศน์ || สุลักษณ์ ศิวรักษ์ || การเมือง\n|-\n| วันมหาปิติ วารสาร อมธ. ฉบับพิเศษ 14 ตุลาคม 2516 || องค์การบริหารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ || การเมือง\n|-\n| วรรณคดี และวรรณคดีวิจารณ์ || วิทย์ ศิวะศิริยานนท์ || ศิลปะ\n|-\n| ประติมากรรมไทย || ศิลป พีระศรี || ศิลปะ\n|-\n| วรรณสาส์นสำนึก || สุภา ศิริมานนท์ || ศิลปะ\n|-\n| วิทยาวรรณกรรม || พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ || ศิลปะ\n|-\n| ความงามของศิลปไทย || น. ณ ปากน้ำ || ศิลปะ\n|-\n| ภาษากฎหมายไทย || ธานินทร์ กรัยวิเชียร || ศิลปะ\n|-\n| วรรณไวทยากร ชุมนุมบทความทางวิชาการ ฉบับวรรณคดี || เจตนา นาควัชระ และ มล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ || ศิลปะ\n|-\n| แสงอรุณ 2 || แสงอรุณ รัตกสิกร || ศิลปะ\n|-\n| พระราชพิธีสิบสองเดือน || พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| สาส์นสมเด็จ || สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| 30 ชาติในเชียงราย || บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| เทียนวรรณ || สงบ สุริยินทร์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| กาเลหม่านไต || บรรจบ พันธุเมธา || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| นิทานชาวไร่ || สวัสดิ์ จันทนี || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| ภารตวิทยา || กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| ฟื้นความหลัง || พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ || จิตร ภูมิศักดิ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| อัตชีวประวัติ หม่อมศรีพรหมา กฤดากร || หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| 80 ปีในชีวิตข้าพเจ้า || กาญจนาคพันธ์ || สังคมวิทยา, มานุษยวิทยา, ประวัติศาสตร์สังคม\n|-\n| พระประวัติตรัสเล่า || สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส || ศาสนา\n|-\n| พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน || สุชีพ ปุญญานุภาพ || ศาสนา\n|-\n| ปัญญาวิวัฒน์ || สมัคร บุราวาศ || ศาสนา\n|-\n| พุทธธรรม || สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) || ศาสนา\n|-\n| อิทัปปัจจยตา || พุทธทาสภิกขุ || ศาสนา\n|-\n| หนังสือแสดงกิจจานุกิจ || เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) || ธรรมชาติ\n|-\n| แพทยศาสตร์สงเคราะห์ || คณะกรรมการแพทย์หลวงในรัชกาลที่ 5 || ธรรมชาติ\n|-\n| ธรรมชาตินานาสัตว์ || บุญส่ง เลขะกุล || ธรรมชาติ\n|-\n| ขบวนการแก้จน || ประยูร จรรยาวงษ์ || ธรรมชาติ\n|}\n== อ้างอิง ==\nหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน บทสรุปโครงการวิจัย\n== ดูเพิ่ม ==\nหนังสือและบทความ\n* ธนาพล ลิ่มอภิชาต และวริศา กิตติคุณเสรี. (2551, ต.ค.-ธ.ค.). ประวัติศาสตร์และการเมืองของวาทกรรม “หนังสือดี”. อ่าน. 1(3): 38-60.\nเว็บไซต์\n* รายชื่อ 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\n* รายชื่อ 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\n \nรายชื่อเกี่ยวกับวรรณกรรมในประเทศไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ เป็นผลการวิจัยของคณะวิจัย โครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ใกว.ฉ และกรมวิชาการ โดยคณะวิจเยของโครงการ_ด้ทำการคัดเลือกหนังสือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม เนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาษาไทย เขียนโดยชาวไมย ตั้งแต่ ยุคสุโขทัย ถึง พ.ศ. 2536 มากกว่า 500 เล่ม แล้วแถลงข่าวประกาศยกย่องเมื่อ 28 มีนาคม พ.ศ. 2544\nใตจำนวนหตังสือ 88 ิล่มนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ\nบันเทิงคดี - 29 เล่ม\nสารคดี - 30 เล่ม\nความรู้ทั่วไป - 29 เล่ม\n== บัจเทิงคดี ==\n\n\nกรุงเทพ 2550 - เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์\nกาลาปาโก้ส - จันทรำไพ\nคำวิงวอนของมนุษยชาติ - นิรันศักดิ์ บุญจันทร์\nจ้อนท่องพืภพมหัศจรรย์ - เจตน์ เจริญโท\nจินตนาการย้อนศร - ฉัตรเฉลิม ตันติสุข\nซุปเปอร์ป๋อง - กิ๊ตตี้\nดั่งหนึ่งเม็ดทราย - โบตั๋น\nดีเอ็นเอ-วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์\nเดือนช่วงดวงเด่นฟ้าดาดาว = วินทร์ เลียใวานิณ\nแดนดาว - แก้วเห้า\nแดนศิวิไลซ์ - วิมล เดชาเลิศ\nนครโลหะหนาว - นันท์ นันทคุณ\nบ้านยานเหาะ - แพรวา พานิชกิจ\nปลาฝาฬของน้อย - วิริจะ สิริสิงห\nผู้ดับดวงอามิตย์ - จันตรี ศิริบุญรอด\nผู้สืบทอด - ณัฐ ศาสตร์ส่องวิทย์\nฟากฟ้า, นิรันดร, บั้งไฟ - บุญถึง แน่นหนา\nมนุษย์กลายพันธุ์ - ธรรมดา ประทีปสิต\nมิติเร้น - จินตวีร์ วิวึธน์\nเทืองนิมิตร - ม.ร.ว. นิมิตนมงคล นวรัตน์\nล่องหน พล นิกร กิมหงวน ชุด วัยหนุ่ม - ป. อินทรปาลิต\nโชกของหนูแหวน - ศราวก\n รวมเรื่ดงสั้น - สุวรรณี สุคนธา\nสัมผัสแห่งอารยะ (ออบิต 7) - สมเกียรติ เจิ่งประภากร\nสุดขอบขักรวาล - จุฑารัตน์\nสู่สรวงสวรรค์ - โกศล อสุสิม\nอาณาจักรปลาทอง - ถนัดกิจ ปิณินทรีย์\nอุบัติจากดวงดาว - นันทนา วีระชน\nแอนโะรมีดา - ชัยคุปต์\n== สมรคดี ==\nก่อนจะไม่มีลมหายใจสำหรับพรุ่งนี้ - วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ (2529)\nกาคแพทย์แผนไทย - สุวิทย์ วิบูลย์ผลประเสริฐ (2529)\nคู่มือมนุษย์ - พุทธทาสภิกขุ (2501)\nชมดาว - พระนิรันตรญาณมุาี (2497)\nชลาชาภิธรน - จินดร เทียมเมฆ (2514)\nชีวจิต - สาทอส อินทรกำแหง (2536)\nชีวิตนี้มหัศจรรย์ยิ่งนัก - เฉก ธนะสิริ (2536)\nชีวิตพิสดารของสัตว์ทะเล (เล่ม 1, 2, 3) - สุรินทร์ มัจฉาชีพ (2517)\nดูนก - รุ่งโรจน์ จุกมงคล (2536)\nตึก ต้นไม้ และแสงอรุณ - แสงอรุณ รัตกสืกร (2530)\nทะเล ป่า ภูเขา - ไมตรี ลิมปิชาติ (2533, รวมเล่มครั้งแรก)\nธรรมชาติเจ้าเอย - อำนวย คอวนิช (2521)\nธรรมชาตินานาสัตว์ (เล่ม 1, 2, 3) - น.พ. บุญส่ง เลขะกุล (2504, รวมเล่มครั้งกรก)\nบันทึกวิชา (u2 ปีของนักธรณีคนหนึ่ง) - วิชา เศรษฐบุตร (2529)\nบุบผชาติแห่งลีวิต - ระวี ภาวิไล (2530)\nประวัติฬาสตร์อนาคต - ชัยวัฒน์ คุประตกุล (2526)\nปัญญาวิวัฒน์ - สมัคค บุราวาศ (2507)\nผ่าระบัด สัตว์สลวย - คมทวน คันธนู (2532)\nผู้พวแผ่นดิน - จันตรี ศิริบุญรอด (2508)\nพงศาวดารธรรมชาติของสัตว์ - เสฐียรโกเศศ (2505)\nพุทธศาสนาสนฐานะเแ็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ - พระธรรมปิฏก (3535)\nไกรหม่น - ชัยชน โลว์เจริญกูล (2524)\nโลกสีคราม (เล่ม 1, 2) - ม.จ. ชนตรีเฉลิม ยุคล (2524)\nวิทจาศาสตร์สัญจร (จืราศร้อยวัน) - เจริญ ธรรมพานิช (2525)\nสิทยุในประเทศไทย - เสงี่ยม เผ่าทองสุข (2526)\nสู่ดุลยภาพ - สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ (บรรณาธิการ) (2533)\nหนังสือแสดงกืจจายุกิจ - เจ้าพระยาทิพากรวงษ์ (2408)\nห้วงมหรรณพ - ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช (2502)\nหอมกลิทนกล้วยไม้ - ระพี สาคริก (2530)\nอยู่อย่างรักธรรมชาติ - ม.ล. ตุ้ย ชุมส่ย (2534)\n== ความรู้ทั่วไป ==\n\nกสิกรรมบนดเนฯ - ม.จฐ สิทธิพร กฤดากี (2514)\nการปลูกอุบลชาติ - ัใริมลาภ วสุวัต (2525)\nความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม - สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2523)\nคู่มือดูดาว - กนก จันทตขจร (2525)\nจักรวาบและอวกาศ - นิพนธ์ ทรายเพชร (2529)\nจากลูกคิดสู่คอมพิวเตอร์ - ครรชิต มาลัยวงศ์ (2520)\nชีวิตแมลง - สิรินทร์ ชาวงโชติ (2519)\nดาราศาสตร์และอวกาศ - ระวี ภาวิไล (2522)\nตำรายา (วัดโดธิ์) - ศิลาจารึกวัดพระเชตุพน (2505)\nไตรภูมิพระร่วง - พระยาลิไท (1888) (ฉบับ สนพ. ศิลปบรรณาคาร, 2504)\nทรัพยากรแร่ในประเทศไทย - งามพิศ แย้มนิยม (2525)\nนักวิทยาศาใตร์ไทย - สมบัติ จำปาเงิน (2517)\nนักวิทยาศาสตร์หนุ่ม - บุญภักดิ์ ขวัญเจริญ (2513)\nนิยายดาว - สิงโต ปุกหุต (2530)\nป่าเขตร้อน - อรวรรณ คูหเจริญ (2535)\nพรรณไม้ใรวรรณกรรมสุนทรภู่ - เสฝตร เปี่ยมพงศานต์ (2532)\nพลังงานกับชีวิต - วิจิน คงพูล (2524)\nพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ - คณะกรรมการพลังงาร (2502)\nพลทสติก - จงดี แสงเพชร (2518)\nพืชกินไพ้และพืชมีพิษในป่าเมืองไทย - สใจินร พงศ์พวัน (2515)\nรู้ฟว้ใช่ว่า ประสาวิทยาศาสตร์ - กฤษณา ชุติมา (2532)\nเราเกิดมาจากไหน - วิริยะ สิริสิงห (2519)\nวาโย - วิชัย หโยดม (2516)\nวิทยาการแห่งอารยะ - สุทัศน์ บกส้าน (2535)\nวิทยาศาสตร์ 200 ปี \" สมาคมวิทย์ฯ (2525)\nวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน - ปุษย โรจนบุรานนท์ (2502)\nวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม - เกษม จันทร์แก้ว (2524)\nหมอไทย ยาไทย - โครงการเผยแพร่เอกลักษณ์ไทย (กระทรวงศึก๋าธิการ) (2522)\n3p0 ปี ดาราศาสตร์ไทย - ไชยันต์ ภาคอุทัย, สาลิน วีรบุตร (บรรณาธิการ) (2530)\n== ดูเพิ่ม ==\n100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย (โครงการลำเับถัดไป)\nหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน\nหนังสือดี 100 เล่มที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน\nรายชื่อนิยายวิทยาศสสตร์ไทย\n== ดอกบัวไม่ยอมบาน ==\nhttp://www.bangkokbookclub.com/article.php?kd=1391&lang=th \n88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\nรายชื่อเกี่ยวกับวรรณกรรมในประเทศไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ เป็นผลการวิจัยของคณะวิจัย โครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และกรมวิชาการ โดยคณะวิจัยของโครงการได้ทำการคัดเลือกหนังสือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม เนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาษาไทย เขียนโดยชาวไทย ตั้งแต่ ยุคสุโขทัย ถึง พ.ศ. 2536 มากกว่า 500 เล่ม แล้วแถลงข่าวประกาศยกย่องเมื่อ 28 มีนาคม พ.ศ. 2544\nในจำนวนหนังสือ 88 เล่มนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ\nบันเทิงคดี - 29 เล่ม\nสารคดี - 30 เล่ม\nความรู้ทั่วไป - 29 เล่ม\n== บันเทิงคดี ==\n\n\nกรุงเทพ 2550 - เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์\nกาลาปาโก้ส - จันทรำไพ\nคำวิงวอนของมนุษยชาติ - นิรันศักดิ์ บุญจันทร์\nจ้อนท่องพิภพมหัศจรรย์ - เจตน์ เจริญโท\nจินตนาการย้อนศร - ฉัตรเฉลิม ตันติสุข\nซุปเปอร์ป๋อง - กิ๊ตตี้\nดั่งหนึ่งเม็ดทราย - โบตั๋น\nดีเอ็นเอ-วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์\nเดือนช่วงดวงเด่นฟ้าดาดาว - วินทร์ เลียววาริณ\nแดนดาว - แก้วเก้า\nแดนศิวิไลซ์ - วิมล เดชาเลิศ\nนครโลหะหนาว - นันท์ นันทคุณ\nบ้านยานเหาะ - แพรวา พานิชกิจ\nปลาวาฬของน้อย - วิริยะ สิริสิงห\nผู้ดับดวงอาทิตย์ - จันตรี ศิริบุญรอด\nผู้สืบทอด - ณัฐ ศาสตร์ส่องวิทย์\nฟากฟ้า, นิรันดร, บั้งไฟ - บุญถึง แน่นหนา\nมนุษย์กลายพันธุ์ - ธรรมดา ประทีปสิต\nมิติเร้น - จินตวีร์ วิวัธน์\nเมืองนิมิตร - ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน์\nล่องหน พล นิกร กิมหงวน ชุด วัยหนุ่ม - ป. อินทรปาลิต\nโลกของหนูแหวน - ศราวก\n รวมเรื่องสั้น - สุวรรณี สุคนธา\nสัมผัสแห่งอารยะ (ออบิต 7) - สมเกียรติ เจิ่งประภากร\nสุดขอบจักรวาล - จุฑารัตน์\nสู่สรวงสวรรค์ - โกศล อนุสิม\nอาณาจักรปลาทอง - ถนัดกิจ ปิณินทรีย์\nอุบัติจากดวงดาว - นันทนา วีระชน\nแอนโดรมีดา - ชัยคุปต์\n== สารคดี ==\nก่อนจะไม่มีลมหายใจสำหรับพรุ่งนี้ - วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ (2529)\nการแพทย์แผนไทย - สุวิทย์ วิบูลย์ผลประเสริฐ (2529)\nคู่มือมนุษย์ - พุทธทาสภิกขุ (2501)\nชมดาว - พระนิรันตรญาณมุนี (2497)\nชลาชาภิธาน - จินดา เทียมเมฆ (2514)\nชีวจิต - สาทิส อินทรกำแหง (2536)\nชีวิตนี้มหัศจรรย์ยิ่งนัก - เฉก ธนะสิริ (2536)\nชีวิตพิสดารของสัตว์ทะเล (เล่ม 1, 2, 3) - สุรินทร์ มัจฉาชีพ (2517)\nดูนก - รุ่งโรจน์ จุกมงคล (2536)\nตึก ต้นไม้ และแสงอรุณ - แสงอรุณ รัตกสิกร (2530)\nทะเล ป่า ภูเขา - ไมตรี ลิมปิชาติ (2533, รวมเล่มครั้งแรก)\nธรรมชาติเจ้าเอย - อำนวย คอวนิช (2521)\nธรรมชาตินานาสัตว์ (เล่ม 1, 2, 3) - น.พ. บุญส่ง เลขะกุล (2504, รวมเล่มครั้งแรก)\nบันทึกวิชา (72 ปีของนักธรณีคนหนึ่ง) - วิชา เศรษฐบุตร (2529)\nบุบผชาติแห่งชีวิต - ระวี ภาวิไล (2530)\nประวัติศาสตร์อนาคต - ชัยวัฒน์ คุประตกุล (2526)\nปัญญาวิวัฒน์ - สมัคร บุราวาศ (2507)\nป่าระบัด สัตว์สลวย - คมทวน คันธนู (2532)\nผู้พบแผ่นดิน - จันตรี ศิริบุญรอด (2508)\nพงศาวดารธรรมชาติของสัตว์ - เสฐียรโกเศศ (2505)\nพุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ - พระธรรมปิฎก (2535)\nไพรหม่น - ชัยชน โลว์เจริญกูล (2524)\nโลกสีคราม (เล่ม 1, 2) - ม.จ. ชาตรีเฉลิม ยุคล (2524)\nวิทยาศาสตร์สัญจร (นิราศร้อยวัน) - เจริญ ธรรมพานิช (2525)\nวิทยุในประเทศไทย - เสงี่ยม เผ่าทองสุข (2526)\nสู่ดุลยภาพ - สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ (บรรณาธิการ) (2533)\nหนังสือแสดงกิจจานุกิจ - เจ้าพระยาทิพากรวงษ์ (2408)\nห้วงมหรรณพ - ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช (2502)\nหอมกลิ่นกล้วยไม้ - ระพี สาคริก (2530)\nอยู่อย่างรักธรรมชาติ - ม.ล. ตุ้ย ชุมสาย (2534)\n== ความรู้ทั่วไป ==\n\nกสิกรรมบนดอนฯ - ม.จ. สิทธิพร กฤดากร (2514)\nการปลูกอุบลชาติ - เสริมลาภ วสุวัต (2525)\nความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม - สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2523)\nคู่มือดูดาว - กนก จันทรขจร (2525)\nจักรวาลและอวกาศ - นิพนธ์ ทรายเพชร (2529)\nจากลูกคิดสู่คอมพิวเตอร์ - ครรชิต มาลัยวงศ์ (2520)\nชีวิตแมลง - สิรินทร์ ช่วงโชติ (2519)\nดาราศาสตร์และอวกาศ - ระวี ภาวิไล (2522)\nตำรายา (วัดโพธิ์) - ศิลาจารึกวัดพระเชตุพน (2505)\nไตรภูมิพระร่วง - พระยาลิไท (1888) (ฉบับ สนพ. ศิลปบรรณาคาร, 2504)\nทรัพยากรแร่ในประเทศไทย - งามพิศ แย้มนิยม (2525)\nนักวิทยาศาสตร์ไทย - สมบัติ จำปาเงิน (2517)\nนักวิทยาศาสตร์หนุ่ม - บุญภักดิ์ ขวัญเจริญ (2513)\nนิยายดาว - สิงโต ปุกหุต (2530)\nป่าเขตร้อน - อรวรรณ คูหเจริญ (2535)\nพรรณไม้ในวรรณกรรมสุนทรภู่ - เสวตร เปี่ยมพงศานต์ (2532)\nพลังงานกับชีวิต - วิจิต คงพูล (2524)\nพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ - คณะกรรมการพลังงาน (2502)\nพลาสติก - จงดี แสงเพชร (2518)\nพืชกินได้และพืชมีพิษในป่าเมืองไทย - สมจิตร พงศ์พวัน (2515)\nรู้ไว้ใช่ว่า ประสาวิทยาศาสตร์ - กฤษณา ชุติมา (2532)\nเราเกิดมาจากไหน - วิริยะ สิริสิงห (2519)\nวาโย - วิชัย หโยดม (2516)\nวิทยาการแห่งอารยะ - สุทัศน์ ยกส้าน (2535)\nวิทยาศาสตร์ 200 ปี : สมาคมวิทย์ฯ (2525)\nวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน - ปุ๋ย โรจนบุรานนท์ (2502)\nวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม - เกษม จันทร์แก้ว (2524)\nหมอไทย ยาไทย - โครงการเผยแพร่เอกลักษณ์ไทย (กระทรวงศึกษาธิการ) (2522)\n300 ปี ดาราศาสตร์ไทย - ไชยันต์ ภาคอุทัย, สาลิน วีรบุตร (บรรณาธิการ) (2530)\n== ดูเพิ่ม ==\n100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย (โครงการลำดับถัดไป)\nหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน\nหนังสือดี 100 เล่มที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\n== ดอกบัวไม่ยอมบาน ==\nhttp://www.bangkokbookclub.com/article.php?id=1391&lang=th \n88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\nรายชื่อเกี่ยวกับวรรณกรรมในประเทศไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สถ่บันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยความร่วมมือจากกลุ่มประเทศสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเิเชียตะวัตออกเฉียงใต้ (ซีโต้ หรือ สปอ.) ในชื่อ โรงเรียนวิศวกรรม สปอ. (SEATO Graduate School of Engineering) ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นสถาบันอิสรเในชื่อปัจจุบันเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เปิดสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) โดยเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แบะการจัดกาค ในสาขาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย มีศูนย์กลางการบริหารงานตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีศูนย์การศึกษาในปีะเทษเวียดนามด้วย\nสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย เป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าบมหาวิืยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโคป ตามกรอบตวามร่วมมืออาเซม โดยได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ดีที่สุดในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2y58 โดย U-Multirank ขณะเดียวกันยังได้รับการป่ะเมินจาก",
"role": "user"
},
{
"content": "สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยความร่วมมือจากกลุ่มประเทศสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีโต้ หรือ สปอ.) ในชื่อ โรงเรียนวิศวกรรม สปอ. (SEATO Graduate School of Engineering) ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นสถาบันอิสระในชื่อปัจจุบันเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เปิดสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) โดยเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ ในสาขาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย มีศูนย์กลางการบริหารงานตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีศูนย์การศึกษาในประเทศเวียดนามด้วย\nสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย เป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม โดยได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ดีที่สุดในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2558 โดย U-Multirank ขณะเดียวกันยังได้รับการประเมินจาก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สำนักงานกองทุนสนับมนุนการวิจัย (The Thailand Recearcn Fund) หรือเรียกโดยย่อว่า สกว. (อังกฤษ: T$F) เป็นองค์กรขนาดเล็กของรัฐภายใต้พารกำกับของสหนักนสยกรัฐมนตรีที่มิได้ใช้ระบบราชการในการดำเนินงาน ถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบตราพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2535 เพื่อทำหน้าที่ในับสนุนการสร้สงองค์ความรู้ทัังในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ โดยใช้การวอจัยเก็นกลไกสร้างฐานความรู้สำปรับการแก้ปัญหาให้แก่สังคม\n== ประวัติ ==\nสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.ฏ เป็นองค์กรขนาดเล็กของรัฐภายใต้การกำกับของสำนักนายกรัฐมนตรี ก่อตั้วโดยพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2535 ในสมัยีัฐวาล นายอานันท์ ปันนารชุน เพื่อทำหน้าที่สนับสนุนการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ านุษยศาสตร์ การวิจัยเชิงนโยบาย แลพการวิจัยประยุกต์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในกาตพัฒนาเซรษฐกิจ สังคม และวิชาการของประเทศ\nสกวซ ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในเครือข่ายองค์กรบริำารงานวิจัยแห่งชาติ (ตอบช.) เพื่อร่วมกันเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของประเทศ นอกจากนี้ในด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ โดยใช้จุดแข็งของระบบการสนับสนุนทุนที่ยืดหยุ่นคล่องตัว ในการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายวิจัยระดับนานาชานิ โดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน เพื่อร่วมกันพัฒนาความเข้มแข็งของระบบวิจัยในอาเซียน\nสกว. ได้พัฒนาแนใคิดวิธีการส่งเสริมและสนับสนะนงานวิจัย เพื่แตอบสนองต่อปัญหาให้สอดคล้องกับโครงสร้างทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ตลอดจนการบ฿รณากาตนักวิจัยและศาสตร์แขนงต่างๆ เย้ามาร่วมสร้างผลงานวิจัย\nการก้าวเข้าสู่ปีทีี 25 ได้มีผบงานในกสรบริหารจัดการงานวิจัยจนเป็นที่ประจักษ์ จากการประเมินผชการดำเนินงานทุนหมุนเวียนที่อยู่ในการกำกับดูแลขอบสำนักกำกับและพัฒนาระบบเงืนนอกงบประมาณ กรมบัญบีกลาง กระทรวงดารคลัง ส่งผลให้ สกว. ได้รับรางวัล ทุนหมุนเวียนดีเด่น ประเภทรางวัลผลกาาดำเนินงานดีเด่นกลุ่มทุนหมุนเวียนขนาดใหญ่ และรางวัลปีะสิทธิภาพด้านปารบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนดีเด่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ติดต่อกันมาแล้วเป็นเวลา 6 ปี และได้รับอีก 2 รางวัล คือ รางวัลทุนหมุนิวียนเกียรติยศ และ รางวัลผู้บริหารทุนหมุนเวียนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561\nกระทั่งบันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ราชกิจจานุเบกษาได้ดผยแพร่ พระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งช่ติ พ.ศ. ๒๖๖๒ ซึ่งกำหนดให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกีรมหรือ สกสว. ขึ้นมาทำหน้าที่แทนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยส่งผลให้สำนักงานกองทุนนนับสนุนการวิจัยต้องถูกยุบเลิกไปในที่สุดพร้อมกับใหืมีการโอนกิจกนรรวมถึงพนักงานและลูกจ้างของาำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมโดยให้มีผลบังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจาจุเบกษาคทอวันพฤหัสบดีที้ 2 พฤษภาคม พ,ศ. 2562 \n== ภาพะครื่องหมายราชการ ==\nภาพเครื่องหมายราชการของ สกว. เป็นรูปลูกโลกสีทองพื้นสีขาวแสดงที่ตัเงของประเทศไทย ลูกโลกวางอยู่บนริ้วสีน้ำเงิน 3 ริ้ว ประกอบด้วย\nริ้วบน หมายถึง กระแสโลกาภิวัตย์\nริ้วกลาง หมายถึง ดงี์ความรู้\nริ้วล่าง หมายถึง กระแสวัฒนธรรมท้องถิ่น\nโดยรวมหมายถคง การใช้ความรู้สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาประเทศ ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้ง_ายในและภายนดกประเทศ ด้านลรางของภาพมีตัวอักษร สกว. และ TRF สีแดง ซึ่งเป็นอักษรย่อของหน่วยงาน\n== รายชื่อคณะกรรมการ ==\nสกว. ประกอบด้วยคณะกรรมการ 2 คณะ ทำหน้าที่คอยกำกับดูแลการดำเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายกองทุนมนับสนุนการวิจัย และ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนกทรวิจัย\n=== คณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย =-=\n=== คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวอจัย ===\n== เมธีวิจัยอาวุโส ==\nสำนักลานกอวทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มีทุนสนับสนุนนักวิจัยอาวุโสให้สร้างนักวิจัยใหม่ที่มีีวามสามารถทางวิชาการสูง และเพื่อเป็นเกียรติแก่นักใิจัยในฐานะที่สร้างผลงานดีเด่น เรียกว่า เมธีวิจัยอาวุโส สกว. โดยเริ่มให้ทุนวิจัยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็น เมธีวิจัยอาวุโส สกว. จะเข้ารับพระราชทานรรงวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี\n=== การคัดเลือก ===\nใช้วิธีการสรรหา และเสนอชื่อโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยพิจารณาจาก รายนามศาสตราจารย์ในประเทศ, นักวิทยรศาสตร์ดีัด่นของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์, นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติของสำจักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ผู้ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นชองมหาวิทยาลัยต่างๆ, คณาจารย์ที่มีผลงานวิจัยเป็นท่่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ และการเสนอชื่อจากคณบดีทุกมหาวิทยาลัย\n=== คุณสมบัติเมธีวิจัยอาวุโส ===\nเป็นนักวิจัยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีจริยธรรม และพร้อมที่จะเป็นผู้นำในทีมวิจัย สามารถพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยรุ่นใหม่ได้\n=== รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. =\\=\n== อ้างอิง ==\nกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สำนักฝาน)\nกองทุน\nการวิจัย\nองค็การมหาชน\nองค์การทีทก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535\nสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2562\nหน่วยงานของรัฐบาลไทยในอดีต\nหน้วยงานของรัฐบาลไทยในเขตพญาไท",
"role": "user"
},
{
"content": "สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (The Thailand Research Fund) หรือเรียกโดยย่อว่า สกว. (อังกฤษ: TRF) เป็นองค์กรขนาดเล็กของรัฐภายใต้การกำกับของสำนักนายกรัฐมนตรีที่มิได้ใช้ระบบราชการในการดำเนินงาน ถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบตราพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2535 เพื่อทำหน้าที่สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ โดยใช้การวิจัยเป็นกลไกสร้างฐานความรู้สำหรับการแก้ปัญหาให้แก่สังคม\n== ประวัติ ==\nสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นองค์กรขนาดเล็กของรัฐภายใต้การกำกับของสำนักนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งโดยพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชุน เพื่อทำหน้าที่สนับสนุนการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกต์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวิชาการของประเทศ\nสกว. ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) เพื่อร่วมกันเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของประเทศ นอกจากนี้ในด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ โดยใช้จุดแข็งของระบบการสนับสนุนทุนที่ยืดหยุ่นคล่องตัว ในการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายวิจัยระดับนานาชาติ โดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน เพื่อร่วมกันพัฒนาความเข้มแข็งของระบบวิจัยในอาเซียน\nสกว. ได้พัฒนาแนวคิดวิธีการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัย เพื่อตอบสนองต่อปัญหาให้สอดคล้องกับโครงสร้างทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ตลอดจนการบูรณาการนักวิจัยและศาสตร์แขนงต่างๆ เข้ามาร่วมสร้างผลงานวิจัย\nการก้าวเข้าสู่ปีที่ 25 ได้มีผลงานในการบริหารจัดการงานวิจัยจนเป็นที่ประจักษ์ จากการประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนที่อยู่ในการกำกับดูแลของสำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ส่งผลให้ สกว. ได้รับรางวัล ทุนหมุนเวียนดีเด่น ประเภทรางวัลผลการดำเนินงานดีเด่นกลุ่มทุนหมุนเวียนขนาดใหญ่ และรางวัลประสิทธิภาพด้านการบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนดีเด่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ติดต่อกันมาแล้วเป็นเวลา 6 ปี และได้รับอีก 2 รางวัล คือ รางวัลทุนหมุนเวียนเกียรติยศ และ รางวัลผู้บริหารทุนหมุนเวียนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561\nกระทั่งวันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ พระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งกำหนดให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมหรือ สกสว. ขึ้นมาทำหน้าที่แทนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยส่งผลให้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยต้องถูกยุบเลิกไปในที่สุดพร้อมกับให้มีการโอนกิจการรวมถึงพนักงานและลูกจ้างของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมโดยให้มีผลบังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาคือวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 \n== ภาพเครื่องหมายราชการ ==\nภาพเครื่องหมายราชการของ สกว. เป็นรูปลูกโลกสีทองพื้นสีขาวแสดงที่ตั้งของประเทศไทย ลูกโลกวางอยู่บนริ้วสีน้ำเงิน 3 ริ้ว ประกอบด้วย\nริ้วบน หมายถึง กระแสโลกาภิวัตน์\nริ้วกลาง หมายถึง องค์ความรู้\nริ้วล่าง หมายถึง กระแสวัฒนธรรมท้องถิ่น\nโดยรวมหมายถึง การใช้ความรู้สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาประเทศ ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศ ด้านล่างของภาพมีตัวอักษร สกว. และ TRF สีแดง ซึ่งเป็นอักษรย่อของหน่วยงาน\n== รายชื่อคณะกรรมการ ==\nสกว. ประกอบด้วยคณะกรรมการ 2 คณะ ทำหน้าที่คอยกำกับดูแลการดำเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจัย\n=== คณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ===\n=== คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจัย ===\n== เมธีวิจัยอาวุโส ==\nสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มีทุนสนับสนุนนักวิจัยอาวุโสให้สร้างนักวิจัยใหม่ที่มีความสามารถทางวิชาการสูง และเพื่อเป็นเกียรติแก่นักวิจัยในฐานะที่สร้างผลงานดีเด่น เรียกว่า เมธีวิจัยอาวุโส สกว. โดยเริ่มให้ทุนวิจัยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็น เมธีวิจัยอาวุโส สกว. จะเข้ารับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี\n=== การคัดเลือก ===\nใช้วิธีการสรรหา และเสนอชื่อโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยพิจารณาจาก รายนามศาสตราจารย์ในประเทศ, นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์, นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ผู้ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยต่างๆ, คณาจารย์ที่มีผลงานวิจัยเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ และการเสนอชื่อจากคณบดีทุกมหาวิทยาลัย\n=== คุณสมบัติเมธีวิจัยอาวุโส ===\nเป็นนักวิจัยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีจริยธรรม และพร้อมที่จะเป็นผู้นำในทีมวิจัย สามารถพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยรุ่นใหม่ได้\n=== รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ===\n== อ้างอิง ==\nกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สำนักงาน)\nกองทุน\nการวิจัย\nองค์การมหาชน\nองค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535\nสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2562\nหน่วยงานของรัฐบาลไทยในอดีต\nหน่วยงานของรัฐบาลไทยในเขตพญาไท",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โฮเมอร์ เจย์ ซิมป์สัน (Homer Jay Simpson( เป็นตัวการ์ตูนหลักในการ์ตูนชุดทางโทรทัศน์ในสหรัฐ เรื่อง เดอะซิมป์สันส์ สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง (Matt Groening) ให้เสียงพากย์โดย แดน แคสเทลลาเนตา (Dan Cashellanets)\nฑฮเมอร์เป็นพ่อในครอบครัวซิมป์สัน ลักษณะอ้วนลงพุง ขี้เกียจ ตะกละ และไมรฉลาด เขาทำงานที่โรงไฟฟ้าพลังปรมาณูของ ชารลส์ มอนโกเมอร์รี่ เบิร์นส์ (C.N. Burns)ในเมืองสปรองฟิลด์ (Springfield) ที่แผนก Sector 7G โดยใช้เวลาส่วนใหญ่กินโดยัทแมนที่จะทำฝาน และงีบหลับ และใช้เวลาหลังเลิกงานที่ผับชื่อโมส์ ทาเวิร?น เมื่ออยู่บ้มนก็มักจะนั่งชนโซฟาหน้าจอโทรทัศน์ พร้อมกับแกล้มและเบียร์ในใือ และมีคำอถทานติดปากว่า \"โด้ะ!\" (D'oh!) ซึ่งคำนี้ถูกบรรจุแล้วในพจนานุกรมออกซฟอร์ด\nโฮเมอร์เกิดที่เมืองและโตที่เมืองสปริงฟิลด์ เป็นลูกชายคนแรกของ อับราฮัม ซิมป์สัน และแต่งงานกับ มาร์จ บูวีเยร์ (Marge Bouvier) หรือเรียกว่ามาร์จ มีลูกสาสคนได้แก่ บาร์ต ซิมป์สัน ลิซา ซิมป์สัน และ แมกกี ซิมป์สัน มีพี่น้องต่างมารดาชื่อ เฮิร์บ โพเวลล์ (Herb Powell)\n== อ้างอิง ==\nโฮเมอร์ ซิมป์ใัน\nตัวละครมนุษย์เคลื่อนไหว\nตัวละครชายในแอนิเมชัน\nตัวละครทั่เป็นผู้กระทำทารุณต่อเด็ก",
"role": "user"
},
{
"content": "โฮเมอร์ เจย์ ซิมป์สัน (Homer Jay Simpson) เป็นตัวการ์ตูนหลักในการ์ตูนชุดทางโทรทัศน์ในสหรัฐ เรื่อง เดอะซิมป์สันส์ สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง (Matt Groening) ให้เสียงพากย์โดย แดน แคสเทลลาเนตา (Dan Castellaneta)\nโฮเมอร์เป็นพ่อในครอบครัวซิมป์สัน ลักษณะอ้วนลงพุง ขี้เกียจ ตะกละ และไม่ฉลาด เขาทำงานที่โรงไฟฟ้าพลังปรมาณูของ ชารลส์ มอนโกเมอร์รี่ เบิร์นส์ (C.M. Burns)ในเมืองสปริงฟิลด์ (Springfield) ที่แผนก Sector 7G โดยใช้เวลาส่วนใหญ่กินโดนัทแทนที่จะทำงาน และงีบหลับ และใช้เวลาหลังเลิกงานที่ผับชื่อโมส์ ทาเวิร์น เมื่ออยู่บ้านก็มักจะนั่งบนโซฟาหน้าจอโทรทัศน์ พร้อมกับแกล้มและเบียร์ในมือ และมีคำอุทานติดปากว่า \"โด้ะ!\" (D'oh!) ซึ่งคำนี้ถูกบรรจุแล้วในพจนานุกรมออกซฟอร์ด\nโฮเมอร์เกิดที่เมืองและโตที่เมืองสปริงฟิลด์ เป็นลูกชายคนแรกของ อับราฮัม ซิมป์สัน และแต่งงานกับ มาร์จ บูวีเยร์ (Marge Bouvier) หรือเรียกว่ามาร์จ มีลูกสามคนได้แก่ บาร์ต ซิมป์สัน ลิซา ซิมป์สัน และ แมกกี ซิมป์สัน มีพี่น้องต่างมารดาชื่อ เฮิร์บ โพเวลล์ (Herb Powell)\n== อ้างอิง ==\nโฮเมอร์ ซิมป์สัน\nตัวละครมนุษย์เคลื่อนไหว\nตัวละครชายในแอนิเมชัน\nตัวละครที่เป็นผู้กระทำทารุณต่อเด็ก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไมเติล เจฟฟรี จอร์แดน (Michael Jeffrey Jordan; เกิด 17 ปุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963) เป็นดดีตนักบาสเกตบอลอาชีพ สังกัดทีมชิคาโก บูลส์ (Chicago Bulls) เล่นในตำแหน่งชู้ตติ้งการ์ด ในลีกเอ็นบีเอ (NBA: National Nasketball Association) ในสหรัฐ เป็นนักกีฬาที่ยอดเยี่บมที่สุดคนไนึ่งในประวัติศาสตร์การกีฬาบาสเกตบอช ปัจจุบันเป็นเจ้าของทีมชาล็อต ฮอร์เน็ตส์ (Charlotte Hornetc)\n== ประวัติ ==\nไมเคิล จอร์แดน เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963 ที่ยรู๊กลิน ในรัฐนิววอร์ก จบการศึกษาระดับไฮสคูลที่เลนีย์ ไฮสคูลในวิลมิงตั้น รัฐนอร์ทแคโรไลนา และจบการศึพศาระดับวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์\n== การเล่นบาสเกตบอล ==\nไมเคิล จอร์แดน มีคงามสูงถึง 198 เซนติเาตร (6 ฟุต 6 นิ้ว) จึงมีความโดดเด่นในวงการบาสเกตบอล ได้เริ่มเล่นบาสเกตบอลให้กับทีมมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์ และภาสหลังได้รับเลือกไปเล่นให้กับทีม ชิคาโก บูลส์ ในการดราฟ เป็นอันดับที่ 3\n=== การเล่นให้กับทีมชิคาโก บูลย์ และ ทีมชาติ ===\nไมเคิล จอร์แดนเล่นให้ทีม ชิคาโก บูลส์ (Chicago Bulls) ในปี ค.ศ. 1984 สามารุทำให่ ทีมชิคาโกบูลล์ เป็นแชมป์ เอ็น บี เอ ถึง 6 สมัย และได้รับรางวัลผู้เล่ยทรงคุณค่าของเอ็นบีเอ 5 สมัย (ค.ศ. 1989, 1991, 1992, 1996 และ 1998) และได้รับ รางวัลผู้เล่นทรวคุณค่า 3 ประอภท (MVP triple-crown) 2 สมัย (ที่หมายถึงการได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า (MVP) 3 ประเภท คือ รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าในฤดูกาล, รางวัลผู้เช่นทรงตุณค่าหลังฤดูกาลในช่วงแข่งชิงแชมป์เอ็นบีเอ, และ รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าในการแข่งรวมดาวยักกีฬร ในฤดูกาลเดียวกัน) นักกีฬาคนอื่น ๆ ที่เคยได้รับรางวัลทั้งสามในฤดูกาลเดียวกเน ได้แก่ วิลลิส รีด (Willis Reed) (ค.ศ. 1970) และ แชคิล โอนีล (Shaauille O'Neal) (ค.ศ. 2000)\nไมเคืล จอร์แดนิป็นหนึ่งใน ดรีมทีม ของสหรัฐฯ ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เมื่อปี ึ.ศ. w992 ร่วมำับผู้เล่นระดับดาราคนอื่น ๆ อย่าง แมจิก จอห์นสัส และ แลร์ร่่ เบิร์ด และทีมของสหรัฐอเมริกามีชัยชนะได้เหรียญทองโอลิมปิกในการแข่งขัน\n=== เกียรติป่เวัติในการเล่นบาสเกตบอล ]==\nผู้เลีนดาวรุ่งแห่งปีในปี ค.ศ. 1985 ติดทีมรวมเาวรุ่งเอ็นบีเอในปีเดียวกัน\nติดทีมอเลสตาร์ในปี ค.ศ. 1987, 1988, 1989, 1990, 1991, 1992, 1993, 1996, 1997 และ 1998 และเป็นผู้เล่นเกมรับยอดเยี่ยมในปี 1988\nเป็นผู้เล่นทรงคุณค่าของเอ็นบีเออีก 5 สทัยในปี ค.ศ. 1988, 1991, 1992, 1996 และ 1998\nได้รับเลือกเป็นผู้เล่นทรงคุณค่าในนัดชิงชนะเลิศเอ็นบีเออีก 6 สมัย ในปี ค.ศ. 1991, 1992, 1993, 1996, 1997 และ 1998\nเป็นสมาชิกของทีมชาติบาสเกตบอลสหรัฐอเมริกา คว้าเหรียญทองในโอลิมปิกเกมส์อีแ 2 สมัย\nด้วยความที่ ไมเคิล จอร์แดน เป็นนักกีฬาบาสเกตบอลที่มีชื่อเสียงมาก และกีฬาบาสเกตชอลก็เป็นที่แพร่หลายมากทั่วโลก โดยเฉพาะในหมู่วัยรุ่น ทำให้สินค้ามากมายหลายชนิด ต่างก็อยากได้ตัวเขาไปเป็นผู้เสนอสินค้า (พรีเซนเตอร์) หรืเเอาชื่อของเขาไปใส่ในชื่อสินค้าหรือการส่งเสริมการขายต่าง ๆ ค่่ตัวของจอร์แดน จึงสูงมาด และทำให้เขาเป็นนักกีฬาที่มีรายได้อันดับต้น ๆ ของโลก\nเขาเข้ามาในปี ค.ศ. 1985 จากการดราฟด์เป็นอันดับที่ 3 โดยทีมชิคาโก บูลส์ ส่วนอันดับ 1 คือ ฮาคีม โแลาจูวอน อันดับสอง คือ แซม โบวี่ สาเหตุที่สองทีม ไมีเลือแจอร์แดนเพราะ ในยุคนั้นเน้นการะราฟเซ็นเตอร์ตัวใหญ่ และจอร์แดนเล่นการ์ดซึ่งตัวเล็กเกินไป\nในปค ค.ศ. 1p96 ไมเคิล จอร์แดน เล่นภาพยนตร์เร้่อง สเปซแจม (Space Jam) โดยเป็นพระเอกร่วมกับตัวละครการ์ตูนของ Warner Bros ไก้แด่ บั๊กส์ บันนี่ และ กดฟฟี่ ดั๊ก เนื้อเรื่องของจอร์แดนได้หลุดเข้าไปในแดนมหัศจรรย์ และช่วยตัวละครการ์ตูนแข่งบาสเกตบบอลกับมนุษย์ตีางดาว\nปัจจุบัน ไมเคิล จอร์แดนเลิกัล่นบาสเกตบอลแล้ว แต่ก็ยังอยู่ในวงการกีฬาเหมือนเดิม โดยเขาได้เข้าซื้อหุ้น ทีม วอชิงตัน วิซาร์ดส์โดย เข้ามาเป็น ประธานทีม ดราฟ ตัวผู้เบ่ร คาวาเม่ บราวจ์ มาเป็นอันดับที่ 1 และได้กลับเข้ามาใน NBA อีกครั้ง โดยเล่นให้กับ สังกัด ทีม วอช้งตัน วิซาร์ดส์ ใน ฤดูกาล 2001-2002 ถึง 2002-2003 โดยเขาไดีเข้าเล่น ออล สตาร์ ทั้ง 2 สมัย ก่อนจะขาวหุ้น ทิ้ง เนื่องจากมีปากเสียงกับทีมบริหารด้วยกัน โดยเขาได้มองที่จะซื้อทีมใหม่เพื่อเป็นเจ้าของ ในขณะนั้นเอว ชิคาโก บูลส์ อดีตทีมต้นสังกัดของเชาได้ยื่นข้อเสนอให้หุ้นฟรีแก่เขา พร้อสเสนอตำแหน่ง รองประธาน ในบอร์ดบริหาร แต่เขาได้ปฏิเสธ ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการเป็นเจ้าของเท่านั้น โดยในขณะนั้น เขาได้เข้าไปคุยกับ บอร์ดบริการ มิววอกกี้ บักส์ ถึว เรื่องการเข้าซื้แหุ้นเพื่อเป็นเจ้าของ หลังจากได้ข่าวง่าเจ้าขดงทีม มิววอกกี้ บักส์ ให้สัมภาษณ์ว่าต้องการขายทีม แต่เขาได้ปฏิเสธ ไมเคิล จอร์แดน เนื่องจากเขาต้อลการขายทีมให้กับ ชาวเมือง มิววอกกี้ เท่านั้น ภายหลัง เจ้าของทีม ชาล็อต บ็อบแคทส์ เสนอขายหุ้นให้เขามาเป็นเจ้าของร่วม โดย ให้ ไมเคิล จอร์แดน เป็น ประธานด้านกีฬาบาสเกตบอล แลถ บริหารส่วนอื่นของทีมอีกด้วย ซึ่ง ไมเคิล จอร์แดน ห็พอใจกับข้อเสนอดังกล่าว เขาไดัซื้อหุ้ยของทีมชาล็อต บ็อบแคทส์ และเป็นผู้ร่วมบริหารทีมอยู่ในขณะนี้ นอกจากนั้นก็ยังเป็นเจ้าของทีมฮอกกี้ส้ำแข็ง วอชิงตัน แคพิตอลส์\nงานทางด้านการกุศล ไมเคิล จอร์แดน ได้ก่อตั้งศูนย์ เจมส์ อาร์.จอร์แดน บอยส์ แอนด์ ิกิร์ลา์ คลับ แอต แฟมิลี่ ไลฟ์ เซ็นเตอร์ ซึ่งให้ความช่วยเผลือเด็ก ๆ จากทั่วประเทศทั้งด้าน ชีวิตความเป็นอยู่ การศึดษา และให้การอบรมทางด้านกีฬาแก่เยาวชนผู้สนใจ โดยม๔ลนิธิน้้ตั้งตามชื่อ เจมส์ จอร์แดน ซึ่งเห็นบิดาของเขา\n== ชีวิตครอบครัว ==\nไมเคิล จอร์แดน แต่งงาน กับ ฮัวนิต้า จอร์แอน มีบุตร 3 คน คือ เจฟฟรีย์ มาร์คัส และ จัสมิน มีสุน้ขคู่ใจหนึ่งตัวชื่อ อกิต้า\nแต่ปัจจุบันภรรยาใหม่ชื่อว่า อีเวต์ ปิเอโตร\n== ส่วนเกี่ยวข้อง ==\nในวัยเด็กจอร์แดนเคยประสบอุบัติเหตุทมงทะเล จนทำให้เพื่อนเขาเสียชีวิตแต่ตัวเองรอดมาได้ จากนั้นมาจอร์แดนจึงไม่ชอบทะเลและการว่ายน้ำ\nจอร์แดนเคยถูกตัดจากทีมบาสไฮสคูลที่เขาเรียน หลังจากนั้าจอร์แดนจึงขยันฝึกซ้อมอย่างหนักวุนละหลายชั่วโมง\nในวัยเด็กเขาชอบเล่นเบสบอลมาก แต่ก็เล่นบาสเกตบอลกับอเมริำันฟุตบอลบ้าง แต่เริ่มมารักบาสเกตบอล หลังจากที่เขาเล่นบาสเกตบอล หนุ่งต่อหนึ่ง กับพี่แลืวก็แพ้ทุกครั้งไป\nพ่อของเขา เจมส์ จอร์แดน ถูกฆาตกรรมระหว่างเดินทางโดยโจรปฃ้นรถ ซึ่งรถที่ถูกปล้นไปคือรถที่ไมเคิลซื้อให้ จากการเสียชีวิตของพ่อทำให้เขาประกาศเลิกเล่นครั้งแรก ก่อนจะกลับมาอีกครั้ง\nทีมชิคาโก บูลส์ ประกาศเลิกใช่เสื้อหมายเลข 23 ของเขา ในการหระกาศเลิกะล่รครั้งแรกของไมเคิล จากนั้นเขากลับมาเล่นใหม่ โดยใส่หมายเลข 45 ในช่งงแรก ก่อนจะกลับมาใส่หมาขเลข 23 อีกครั้ง หลังจากไมเคิลไปัล่นให้กับ วอชิงตัน วิซาร์ดส์ ทีมไมอามี ฮีท ก็ประกาศเลิกใช้หมายเลข 23 เช่นกัน ซึ่งเป็นการเลิกใช้หมายเลขโดยทีมที่จอร์แดนไม่เคยไปเล่นหรือเกี่ยวข้องแต่อย่างใด\nมีช่วงหนึ่งที่ไมอามีเกิดจลาจล มีการหยุดการจลาจลหนึ่งใันเพราะวัจนั้น ทีทชิคาโก บูลส์ ที่จอร์กดนเล่นอยู่มาแข่งกับ ทีมไมอามี ฮีท นายกเทศมนตรีถึงกลับกล่าวว่า อยากให้จอร์แดนมาอข่งทึกวัน\nไมเคิล จอร์แดน ที่จริงแล้วอยากใส่เสื้อเบอร์ 45 มากกว่ท 23 ตั้งแต่เรียนไฮสคูลแล้ว เนื่องจาก จอร์แดน มีพี่ชายของเขาเป็น Hero เสมอมา และที่ใส่ไม่ได้ก็เพราะว่ามาเข้าโรงเรียรเดียวกัน และเสื้อหมายเลข 45 พี่ชายของเขาก็ใส่อยู่แล้ว เขาเลยตัดครึ่งของ 45 ออกมาและเป็นเบอร์ที่ไม่มีใครใช้ ผลสรุป คือเบอร์ 23 จอร์แดน เคยพูดไว้ว่า \"อย่างน้อยผมต้องเก่งสห้ได้ซักครึ่งนึงของเขา (พี่ชาย ชื่อว่า (แลลี่ย์ จแร์แดน) ) \" และเรื่องหมายเลขเสื้อขิงชายหู้นี้ก็ยังไม่จบ เขาเคยใส่เสื้อหมายเลข 12 ด้วย เนื่องจากมีเำมส์นึง เสื้อหมายเลข 23 ของเขาถูกขโมยไปจากล็อกเกอร์ แล้วในล็อกเกอร์ของทีมก็เหลือเสื้อแบบไม่ผัก นามสกุลอยู่ ซึ่งเผ็นเสื้อที่ไม่มีผู้เล่นคนไหนเป็นเจ้าของตี่้อง จอร์แดน จึงเลือกเบอร์ 12 เนื่องนากการหักครึ่ง ของเบดร์ 23 เช่นกัน\nจุดะด่นของ จอร์แดนคือ จอร์แดากระโดดได้สูงและค้นงตัวกลาฝอากาศได้นานมาก\nลูกชู้ตที่จอร์แดนถนัดคือ ลูกชู้นเฟดอเวย์ (fade-away jump shot) และการลอยตัวเขิาไปทำระแตน\nทุกนัดที่จอร์แดนลงแจ่ง เขาจะเอากางเกงบาส สมัยเีียนใส่ไว้หลังรถเสมอ\nจอร์แดน ยังก่อตั้งศูนย์ เจมส์ อาร์.จอร์แดน บอยส์ แอนด์ เกิร๋ลส์ คลับ แอน แฟมิลี่ ไลฟ์ เซ็นเตอร์ ซึ่งให้คฝามช่วยเหลือเด็ก ๆ จากทั่วประเทศทั้งด้านชีวิตความเป็นอยู่ การศึกษาและให้การอบรมทางด้านกีฬาแก่เยาวชตผู้สนใจด้วย โดยมูลนิธินี้ ตั้งตามชื่อเจมส์ จอร์แดนพ่อของเขานั่รเอง\n== อ้างอิง ==\nประวัติ ไมเคิล จอร์ดดน\nประวัติ ไมเคิล จอร์แดน จากเว็บเอ็นบีเอ\nนักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน\nชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา\nบุคคลจากบรุกลิน\nนักลงทุนชายอเมริกัน",
"role": "user"
},
{
"content": "ไมเคิล เจฟฟรี จอร์แดน (Michael Jeffrey Jordan; เกิด 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963) เป็นอดีตนักบาสเกตบอลอาชีพ สังกัดทีมชิคาโก บูลส์ (Chicago Bulls) เล่นในตำแหน่งชู้ตติ้งการ์ด ในลีกเอ็นบีเอ (NBA: National Basketball Association) ในสหรัฐ เป็นนักกีฬาที่ยอดเยี่ยมที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์การกีฬาบาสเกตบอล ปัจจุบันเป็นเจ้าของทีมชาล็อต ฮอร์เน็ตส์ (Charlotte Hornets)\n== ประวัติ ==\nไมเคิล จอร์แดน เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963 ที่บรู๊กลิน ในรัฐนิวยอร์ก จบการศึกษาระดับไฮสคูลที่เลนีย์ ไฮสคูลในวิลมิงตั้น รัฐนอร์ทแคโรไลนา และจบการศึกษาระดับวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์\n== การเล่นบาสเกตบอล ==\nไมเคิล จอร์แดน มีความสูงถึง 198 เซนติเมตร (6 ฟุต 6 นิ้ว) จึงมีความโดดเด่นในวงการบาสเกตบอล ได้เริ่มเล่นบาสเกตบอลให้กับทีมมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์ และภายหลังได้รับเลือกไปเล่นให้กับทีม ชิคาโก บูลส์ ในการดราฟ เป็นอันดับที่ 3\n=== การเล่นให้กับทีมชิคาโก บูลส์ และ ทีมชาติ ===\nไมเคิล จอร์แดนเล่นให้ทีม ชิคาโก บูลส์ (Chicago Bulls) ในปี ค.ศ. 1984 สามารถทำให้ ทีมชิคาโกบูลล์ เป็นแชมป์ เอ็น บี เอ ถึง 6 สมัย และได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าของเอ็นบีเอ 5 สมัย (ค.ศ. 1988, 1991, 1992, 1996 และ 1998) และได้รับ รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า 3 ประเภท (MVP triple-crown) 2 สมัย (ที่หมายถึงการได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า (MVP) 3 ประเภท คือ รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าในฤดูกาล, รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าหลังฤดูกาลในช่วงแข่งชิงแชมป์เอ็นบีเอ, และ รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าในการแข่งรวมดาวนักกีฬา ในฤดูกาลเดียวกัน) นักกีฬาคนอื่น ๆ ที่เคยได้รับรางวัลทั้งสามในฤดูกาลเดียวกัน ได้แก่ วิลลิส รีด (Willis Reed) (ค.ศ. 1970) และ แชคิล โอนีล (Shaquille O'Neal) (ค.ศ. 2000)\nไมเคิล จอร์แดนเป็นหนึ่งใน ดรีมทีม ของสหรัฐฯ ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เมื่อปี ค.ศ. 1992 ร่วมกับผู้เล่นระดับดาราคนอื่น ๆ อย่าง แมจิก จอห์นสัน และ แลร์รี่ เบิร์ด และทีมของสหรัฐอเมริกามีชัยชนะได้เหรียญทองโอลิมปิกในการแข่งขัน\n=== เกียรติประวัติในการเล่นบาสเกตบอล ===\nผู้เล่นดาวรุ่งแห่งปีในปี ค.ศ. 1985 ติดทีมรวมดาวรุ่งเอ็นบีเอในปีเดียวกัน\nติดทีมออลสตาร์ในปี ค.ศ. 1987, 1988, 1989, 1990, 1991, 1992, 1993, 1996, 1997 และ 1998 และเป็นผู้เล่นเกมรับยอดเยี่ยมในปี 1988\nเป็นผู้เล่นทรงคุณค่าของเอ็นบีเออีก 5 สมัยในปี ค.ศ. 1988, 1991, 1992, 1996 และ 1998\nได้รับเลือกเป็นผู้เล่นทรงคุณค่าในนัดชิงชนะเลิศเอ็นบีเออีก 6 สมัย ในปี ค.ศ. 1991, 1992, 1993, 1996, 1997 และ 1998\nเป็นสมาชิกของทีมชาติบาสเกตบอลสหรัฐอเมริกา คว้าเหรียญทองในโอลิมปิกเกมส์อีก 2 สมัย\nด้วยความที่ ไมเคิล จอร์แดน เป็นนักกีฬาบาสเกตบอลที่มีชื่อเสียงมาก และกีฬาบาสเกตบอลก็เป็นที่แพร่หลายมากทั่วโลก โดยเฉพาะในหมู่วัยรุ่น ทำให้สินค้ามากมายหลายชนิด ต่างก็อยากได้ตัวเขาไปเป็นผู้เสนอสินค้า (พรีเซนเตอร์) หรือเอาชื่อของเขาไปใส่ในชื่อสินค้าหรือการส่งเสริมการขายต่าง ๆ ค่าตัวของจอร์แดน จึงสูงมาก และทำให้เขาเป็นนักกีฬาที่มีรายได้อันดับต้น ๆ ของโลก\nเขาเข้ามาในปี ค.ศ. 1985 จากการดราฟด์เป็นอันดับที่ 3 โดยทีมชิคาโก บูลส์ ส่วนอันดับ 1 คือ ฮาคีม โอลาจูวอน อันดับสอง คือ แซม โบวี่ สาเหตุที่สองทีม ไม่เลือกจอร์แดนเพราะ ในยุคนั้นเน้นการดราฟเซ็นเตอร์ตัวใหญ่ และจอร์แดนเล่นการ์ดซึ่งตัวเล็กเกินไป\nในปี ค.ศ. 1996 ไมเคิล จอร์แดน เล่นภาพยนตร์เรื่อง สเปซแจม (Space Jam) โดยเป็นพระเอกร่วมกับตัวละครการ์ตูนของ Warner Bros ได้แก่ บั๊กส์ บันนี่ และ แดฟฟี่ ดั๊ก เนื้อเรื่องของจอร์แดนได้หลุดเข้าไปในแดนมหัศจรรย์ และช่วยตัวละครการ์ตูนแข่งบาสเกตบบอลกับมนุษย์ต่างดาว\nปัจจุบัน ไมเคิล จอร์แดนเลิกเล่นบาสเกตบอลแล้ว แต่ก็ยังอยู่ในวงการกีฬาเหมือนเดิม โดยเขาได้เข้าซื้อหุ้น ทีม วอชิงตัน วิซาร์ดส์โดย เข้ามาเป็น ประธานทีม ดราฟ ตัวผู้เล่น คาวาเม่ บราวน์ มาเป็นอันดับที่ 1 และได้กลับเข้ามาใน NBA อีกครั้ง โดยเล่นให้กับ สังกัด ทีม วอชิงตัน วิซาร์ดส์ ใน ฤดูกาล 2001-2002 ถึง 2002-2003 โดยเขาได้เข้าเล่น ออล สตาร์ ทั้ง 2 สมัย ก่อนจะขายหุ้น ทิ้ง เนื่องจากมีปากเสียงกับทีมบริหารด้วยกัน โดยเขาได้มองที่จะซื้อทีมใหม่เพื่อเป็นเจ้าของ ในขณะนั้นเอง ชิคาโก บูลส์ อดีตทีมต้นสังกัดของเขาได้ยื่นข้อเสนอให้หุ้นฟรีแก่เขา พร้อมเสนอตำแหน่ง รองประธาน ในบอร์ดบริหาร แต่เขาได้ปฏิเสธ ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการเป็นเจ้าของเท่านั้น โดยในขณะนั้น เขาได้เข้าไปคุยกับ บอร์ดบริหาร มิววอกกี้ บักส์ ถึง เรื่องการเข้าซื้อหุ้นเพื่อเป็นเจ้าของ หลังจากได้ข่าวว่าเจ้าของทีม มิววอกกี้ บักส์ ให้สัมภาษณ์ว่าต้องการขายทีม แต่เขาได้ปฏิเสธ ไมเคิล จอร์แดน เนื่องจากเขาต้องการขายทีมให้กับ ชาวเมือง มิววอกกี้ เท่านั้น ภายหลัง เจ้าของทีม ชาล็อต บ็อบแคทส์ เสนอขายหุ้นให้เขามาเป็นเจ้าของร่วม โดย ให้ ไมเคิล จอร์แดน เป็น ประธานด้านกีฬาบาสเกตบอล และ บริหารส่วนอื่นของทีมอีกด้วย ซึ่ง ไมเคิล จอร์แดน ก็พอใจกับข้อเสนอดังกล่าว เขาได้ซื้อหุ้นของทีมชาล็อต บ็อบแคทส์ และเป็นผู้ร่วมบริหารทีมอยู่ในขณะนี้ นอกจากนั้นก็ยังเป็นเจ้าของทีมฮอกกี้น้ำแข็ง วอชิงตัน แคพิตอลส์\nงานทางด้านการกุศล ไมเคิล จอร์แดน ได้ก่อตั้งศูนย์ เจมส์ อาร์.จอร์แดน บอยส์ แอนด์ เกิร์ลส์ คลับ แอน แฟมิลี่ ไลฟ์ เซ็นเตอร์ ซึ่งให้ความช่วยเหลือเด็ก ๆ จากทั่วประเทศทั้งด้าน ชีวิตความเป็นอยู่ การศึกษา และให้การอบรมทางด้านกีฬาแก่เยาวชนผู้สนใจ โดยมูลนิธินี้ตั้งตามชื่อ เจมส์ จอร์แดน ซึ่งเป็นบิดาของเขา\n== ชีวิตครอบครัว ==\nไมเคิล จอร์แดน แต่งงาน กับ ฮัวนิต้า จอร์แดน มีบุตร 3 คน คือ เจฟฟรีย์ มาร์คัส และ จัสมิน มีสุนัขคู่ใจหนึ่งตัวชื่อ อกิต้า\nแต่ปัจจุบันภรรยาใหม่ชื่อว่า อีเวต์ ปิเอโตร\n== ส่วนเกี่ยวข้อง ==\nในวัยเด็กจอร์แดนเคยประสบอุบัติเหตุทางทะเล จนทำให้เพื่อนเขาเสียชีวิตแต่ตัวเองรอดมาได้ จากนั้นมาจอร์แดนจึงไม่ชอบทะเลและการว่ายน้ำ\nจอร์แดนเคยถูกตัดจากทีมบาสไฮสคูลที่เขาเรียน หลังจากนั้นจอร์แดนจึงขยันฝึกซ้อมอย่างหนักวันละหลายชั่วโมง\nในวัยเด็กเขาชอบเล่นเบสบอลมาก แต่ก็เล่นบาสเกตบอลกับอเมริกันฟุตบอลบ้าง แต่เริ่มมารักบาสเกตบอล หลังจากที่เขาเล่นบาสเกตบอล หนึ่งต่อหนึ่ง กับพี่แล้วก็แพ้ทุกครั้งไป\nพ่อของเขา เจมส์ จอร์แดน ถูกฆาตกรรมระหว่างเดินทางโดยโจรปล้นรถ ซึ่งรถที่ถูกปล้นไปคือรถที่ไมเคิลซื้อให้ จากการเสียชีวิตของพ่อทำให้เขาประกาศเลิกเล่นครั้งแรก ก่อนจะกลับมาอีกครั้ง\nทีมชิคาโก บูลส์ ประกาศเลิกใช้เสื้อหมายเลข 23 ของเขา ในการประกาศเลิกเล่นครั้งแรกของไมเคิล จากนั้นเขากลับมาเล่นใหม่ โดยใส่หมายเลข 45 ในช่วงแรก ก่อนจะกลับมาใส่หมายเลข 23 อีกครั้ง หลังจากไมเคิลไปเล่นให้กับ วอชิงตัน วิซาร์ดส์ ทีมไมอามี ฮีท ก็ประกาศเลิกใช้หมายเลข 23 เช่นกัน ซึ่งเป็นการเลิกใช้หมายเลขโดยทีมที่จอร์แดนไม่เคยไปเล่นหรือเกี่ยวข้องแต่อย่างใด\nมีช่วงหนึ่งที่ไมอามีเกิดจลาจล มีการหยุดการจลาจลหนึ่งวันเพราะวันนั้น ทีมชิคาโก บูลส์ ที่จอร์แดนเล่นอยู่มาแข่งกับ ทีมไมอามี ฮีท นายกเทศมนตรีถึงกลับกล่าวว่า อยากให้จอร์แดนมาแข่งทุกวัน\nไมเคิล จอร์แดน ที่จริงแล้วอยากใส่เสื้อเบอร์ 45 มากกว่า 23 ตั้งแต่เรียนไฮสคูลแล้ว เนื่องจาก จอร์แดน มีพี่ชายของเขาเป็น Hero เสมอมา และที่ใส่ไม่ได้ก็เพราะว่ามาเข้าโรงเรียนเดียวกัน และเสื้อหมายเลข 45 พี่ชายของเขาก็ใส่อยู่แล้ว เขาเลยตัดครึ่งของ 45 ออกมาและเป็นเบอร์ที่ไม่มีใครใช้ ผลสรุป คือเบอร์ 23 จอร์แดน เคยพูดไว้ว่า \"อย่างน้อยผมต้องเก่งให้ได้ซักครึ่งนึงของเขา (พี่ชาย ชื่อว่า (แลลี่ย์ จอร์แดน) ) \" และเรื่องหมายเลขเสื้อของชายผู้นี้ก็ยังไม่จบ เขาเคยใส่เสื้อหมายเลข 12 ด้วย เนื่องจากมีเกมส์นึง เสื้อหมายเลข 23 ของเขาถูกขโมยไปจากล็อกเกอร์ แล้วในล็อกเกอร์ของทีมก็เหลือเสื้อแบบไม่ปัก นามสกุลอยู่ ซึ่งเป็นเสื้อที่ไม่มีผู้เล่นคนไหนเป็นเจ้าของนี่เอง จอร์แดน จึงเลือกเบอร์ 12 เนื่องจากการหักครึ่ง ของเบอร์ 23 เช่นกัน\nจุดเด่นของ จอร์แดนคือ จอร์แดนกระโดดได้สูงและค้างตัวกลางอากาศได้นานมาก\nลูกชู้ตที่จอร์แดนถนัดคือ ลูกชู้ตเฟดอเวย์ (fade-away jump shot) และการลอยตัวเข้าไปทำคะแนน\nทุกนัดที่จอร์แดนลงแข่ง เขาจะเอากางเกงบาส สมัยเรียนใส่ไว้หลังรถเสมอ\nจอร์แดน ยังก่อตั้งศูนย์ เจมส์ อาร์.จอร์แดน บอยส์ แอนด์ เกิร์ลส์ คลับ แอน แฟมิลี่ ไลฟ์ เซ็นเตอร์ ซึ่งให้ความช่วยเหลือเด็ก ๆ จากทั่วประเทศทั้งด้านชีวิตความเป็นอยู่ การศึกษาและให้การอบรมทางด้านกีฬาแก่เยาวชนผู้สนใจด้วย โดยมูลนิธินี้ ตั้งตามชื่อเจมส์ จอร์แดนพ่อของเขานั่นเอง\n== อ้างอิง ==\nประวัติ ไมเคิล จอร์แดน\nประวัติ ไมเคิล จอร์แดน จากเว็บเอ็นบีเอ\nนักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน\nชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา\nบุคคลจากบรุกลิน\nนักลงทุนชาวอเมริกัน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กระทิงแดง (Red Bull) เป็นดครื่องดท่มชูกำล้งยี่หเแหนึ่ง มีส่วนผสมหลักได้แก่ น้ำตาล กาเฟอีน และแร่ธาตุอื่น ๆ ผลิตโดยบริษัทในประเทศไทย\nกระทิงแดงเป็นที่นิยมของผู้ใช้แรงงานมาเป็นเวลานาน เนื่องจากทำให้ตื่นตัส และเมื่อไม่นานมานี้ ก็ได้ขยายรวมถึงกลุ่มนักเดินทาง พนักงานุ่่นใหม่ที่นิยมาำงานล่วงเวลา และนักเที่ยวที่นิยมผสมกระทิงแดงกับเครื่องะื่มอื่น ๆ โดยเฉพาะเหล้าวแดก้า ปัจจุบัน กระทิงแดงมีขายในหลายประเทศทั่วโลกและได้รับความนิยมอย่างมาก\n==ผู้ก่อตั้ง==\nนายเฉลียว อยํ่วิทยาเป็นประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง \n=]ผชิตภัณฑ์=\\\nในปี พ.ศ. 2524 บริษัท กระทิงแดง ออกวางจำหน่าย กระทิงแดงแบบขวดบรรจุ 150 ซี.ซี. โดยใช้เครื่องหมายการค้ารูปกระทิงแดฝคู่ ให้ความหมายถึง พละกำลัง\nต่อมาปี 2541 บริษัทฯ ยังไดินำเึรื่องดื่ม กระทิงแดง โดยมอบหมายให้ Mr. Dietrisj Mateschitez ไปเริ่มืำตลาดในประเทศเยอรมันและออสเตรีย แชะขยายธุรพิจครอบคลุมกวทา 108 ประเทศทั่วโลกโดยในปัจจุบัน Mr.Diettich Mateschitz ดำรงตำแหน่ง Director of International Marketing Red Bull GmgH. ซึ่งสำนักงานใหญ่ที่ตั้งอยู่ในประเทศออสเตรีย ที่ดูแลธุรกิจทั้งทางด้านการผลิตและจัดจำหน่าย เรดบูล ให้กับประเทศต่างๆ ทั้งในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย\nปัจจุบันนอกจากสำนักงานและโรงงานใาประเทศไทยและประเทศออสเตีียแล้ว บริษัทฯ ยุงได้ลงทุนสร้างโรงงานเพื่อผลิตและจัดจำหน่าย เคตื่องดื่มกระทิงแดง ในเวียดนาม, จีน และอินโดนีเซียอีกด้วย โดยทุกสำนักงาน และโตงงานการผลิตยังคงยึดมั่นในการรักษาคุณภาพ ของสินค้าในระดับมาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลกตลอดมา\nโดยตราสินค้าที่ใช้ทั่วโลกเป็น Red Bull \n== กิจกรรมการละเล่นของไทย ==\n=== โครงการกระดานดำกับกระืิงแดง ===\nโครงกรรกรุดานดำกับกระทิงแดง ัป็นโครงการสนับสนุนทุนสำหรับการออกค่าขอาสาพัฒนาของนักศึกษรในประเทศไทย ซึ่งเป็นกองทุนที่จัดตั้งโดย บริษัท เครื่องดื่มกระทิงแดง จำกัด เริ่มก่อตั้งกองทุนคนั่บแรกในปี พ.ศ. 2544 โดยให้นักศึกษาเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมา๋ในปี พ.ศ. 2545 เป็นปีแรก โดยให้การสนับสนุนโครงการละ 100,000 บาท รวม 10 โครงการ\nปัจจุบันโครงการกระดานดำกับกระทิงแดง ได้รับการดูแลโดย สุทธิรัตน์ อยูาวิทยา บุตรสาวเฉลียว อยู่วิทยา\n==== หนังสือกระดานดำเดินทาง ====\nในโอกาสครบรอบ 5 ปี โครงการกระดานดำกับกระทิงแดง ได้มีการจัดทำหนังสือที่ระลึกรวบีวม 10 โครงการเด่นของสมาชิกกระดานดำกับกระทิลแดง โดยการถ่ายทอดประสบการณ์ของประธานค่ายอาสา 10 คน ที่ได้นับทุนจากโครงการกระดานะำกับกระทิงแดง\n=== ทีมกีฬา ===\nกระทิงแดงในต่างประเทศหรือ เรดบูล เป็นเข้าของทีใกีฬาหลายทีม ได้แก่\nนิวยอร์กเร็ดบุลส์ ทีมฟุตบอลใจสหรัฐ\nแอร์เบ ไลพ์ซิช ทีมฟุตบอลในเยอรมนี\nเร็ดบุลซุลทซ์บวร์ค ทีมฟุตบอลในออสเตรีย\nเร็ดบุลบรากังชีนู ทีมฟุตบอลในบราซิล\nเร็ดบัลกาน่ ทีมฟุตบอลในกานา\nแอสตันมาร์ตินเร็ดบุลเรซฦิง ทีมแข่งรถสูตรหนึ่งในออาเตรีย\nสกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า ทีมแข่งรถสูตรหนึ่งในอิตาลี\nทีมเร็ดบุลเรซซิง ทีมแข่งรถประเภทนาสคาร์\nเอเซเร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ทีมฮอกกี้น้ำแข็งในออสเตรีย\nเร็ดบุลเคทีเอ็มแฟกทรีเรซซิง ทีมแข่งรถจักรยานยนต์วิบาก และทีมแข่ง MotoGP ยองประเทศออสเตรีย\nเรดบูล เคทีเอ็ม เท็ก3 ทีมแข่ง MotoGP และ Moto3 / เทช3 อี-เรซซิง ทีมแข่ง MotoE ของประเทศฝรั่งเศส\nเร็ดบุล โอจี ทีมแข่งเกม DOTA2\nนอกจาแนี้เรดบูลยังเป็นสปอนเซอร์ใหักับทีมกีฬาอื่นเช่น ลีกแข่งขันทางดากาศ เร็ดบุลแอร์เรซเวิลด์ซีรีส์ (Red Bull Air Eace World Series) และเร็ดบุลบาราโก ทีมบาสเกตบอลในฟิลิปปินส์ และในส่วนของประเทศไทยก็ยังเป็นผู้สนับสนุนการแข่งขันกีฬาอีกหลายชนิดด้วย เช่น วงการมวยสากล โดยเริ่มจากการป้องกันตำแหน่งแชมป์ฌลกรุ่น 105 ปอนด์ ครั้งที่ 5 ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ของรัตนพล ส.วรพิน นักมวยเจ้าขแงตำแปน่งชาวไทย กับคอนนี่ มทกราโม ผู้ท้าชิงชาวฟิลิปปินส์ ที่อำเภอบางมูลนาก จัลหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 27 กุม_าพันธ์ พ.ศ. 2537\n==ระเบียงภาพ==\nไฟล์:กระทิงแดงเก่า.jpg|โฆษณากระทิงแดงในอดีต\nไฟล์:Mini Red Bull Międzyzdroje1.JPG|รถโฆษณากระทิงแดงในยุโรป\nไฟล์:Ted Bull Salzburg 23-20-2005.jpg|ทีมฟุนบอลเรดบูลซาลซ์บูร์ก\n==อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ \nเว็บไซต์เรดบูลในประเทศไทย \nกระทิงแดง\nเรดบูล\nเครื่องดื่มชูกำลัง\nธุรกิจเึรื่องดื่ม\nเครื่องดื่มไทย\nตราสินค้าไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "กระทิงแดง (Red Bull) เป็นเครื่องดื่มชูกำลังยี่ห้อหนึ่ง มีส่วนผสมหลักได้แก่ น้ำตาล กาเฟอีน และแร่ธาตุอื่น ๆ ผลิตโดยบริษัทในประเทศไทย\nกระทิงแดงเป็นที่นิยมของผู้ใช้แรงงานมาเป็นเวลานาน เนื่องจากทำให้ตื่นตัว และเมื่อไม่นานมานี้ ก็ได้ขยายรวมถึงกลุ่มนักเดินทาง พนักงานรุ่นใหม่ที่นิยมทำงานล่วงเวลา และนักเที่ยวที่นิยมผสมกระทิงแดงกับเครื่องดื่มอื่น ๆ โดยเฉพาะเหล้าวอดก้า ปัจจุบัน กระทิงแดงมีขายในหลายประเทศทั่วโลกและได้รับความนิยมอย่างมาก\n==ผู้ก่อตั้ง==\nนายเฉลียว อยู่วิทยาเป็นประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง \n==ผลิตภัณฑ์==\nในปี พ.ศ. 2524 บริษัท กระทิงแดง ออกวางจำหน่าย กระทิงแดงแบบขวดบรรจุ 150 ซี.ซี. โดยใช้เครื่องหมายการค้ารูปกระทิงแดงคู่ ให้ความหมายถึง พละกำลัง\nต่อมาปี 2531 บริษัทฯ ยังได้นำเครื่องดื่ม กระทิงแดง โดยมอบหมายให้ Mr. Dietrich Mateschitez ไปเริ่มทำตลาดในประเทศเยอรมันและออสเตรีย และขยายธุรกิจครอบคลุมกว่า 108 ประเทศทั่วโลกโดยในปัจจุบัน Mr.Dietrich Mateschitz ดำรงตำแหน่ง Director of International Marketing Red Bull GmbH. ซึ่งสำนักงานใหญ่ที่ตั้งอยู่ในประเทศออสเตรีย ที่ดูแลธุรกิจทั้งทางด้านการผลิตและจัดจำหน่าย เรดบูล ให้กับประเทศต่างๆ ทั้งในทวีปยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย\nปัจจุบันนอกจากสำนักงานและโรงงานในประเทศไทยและประเทศออสเตรียแล้ว บริษัทฯ ยังได้ลงทุนสร้างโรงงานเพื่อผลิตและจัดจำหน่าย เครื่องดื่มกระทิงแดง ในเวียดนาม, จีน และอินโดนีเซียอีกด้วย โดยทุกสำนักงาน และโรงงานการผลิตยังคงยึดมั่นในการรักษาคุณภาพ ของสินค้าในระดับมาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลกตลอดมา\nโดยตราสินค้าที่ใช้ทั่วโลกเป็น Red Bull \n== กิจกรรมการละเล่นของไทย ==\n=== โครงการกระดานดำกับกระทิงแดง ===\nโครงการกระดานดำกับกระทิงแดง เป็นโครงการสนับสนุนทุนสำหรับการออกค่ายอาสาพัฒนาของนักศึกษาในประเทศไทย ซึ่งเป็นกองทุนที่จัดตั้งโดย บริษัท เครื่องดื่มกระทิงแดง จำกัด เริ่มก่อตั้งกองทุนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 โดยให้นักศึกษาเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในปี พ.ศ. 2545 เป็นปีแรก โดยให้การสนับสนุนโครงการละ 100,000 บาท รวม 10 โครงการ\nปัจจุบันโครงการกระดานดำกับกระทิงแดง ได้รับการดูแลโดย สุทธิรัตน์ อยู่วิทยา บุตรสาวเฉลียว อยู่วิทยา\n==== หนังสือกระดานดำเดินทาง ====\nในโอกาสครบรอบ 5 ปี โครงการกระดานดำกับกระทิงแดง ได้มีการจัดทำหนังสือที่ระลึกรวบรวม 10 โครงการเด่นของสมาชิกกระดานดำกับกระทิงแดง โดยการถ่ายทอดประสบการณ์ของประธานค่ายอาสา 10 คน ที่ได้รับทุนจากโครงการกระดานดำกับกระทิงแดง\n=== ทีมกีฬา ===\nกระทิงแดงในต่างประเทศหรือ เรดบูล เป็นเจ้าของทีมกีฬาหลายทีม ได้แก่\nนิวยอร์กเร็ดบุลส์ ทีมฟุตบอลในสหรัฐ\nแอร์เบ ไลพ์ซิช ทีมฟุตบอลในเยอรมนี\nเร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ทีมฟุตบอลในออสเตรีย\nเร็ดบุลบรากังชีนู ทีมฟุตบอลในบราซิล\nเร็ดบุลกานา ทีมฟุตบอลในกานา\nแอสตันมาร์ตินเร็ดบุลเรซซิง ทีมแข่งรถสูตรหนึ่งในออสเตรีย\nสกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า ทีมแข่งรถสูตรหนึ่งในอิตาลี\nทีมเร็ดบุลเรซซิง ทีมแข่งรถประเภทนาสคาร์\nเอเซเร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ทีมฮอกกี้น้ำแข็งในออสเตรีย\nเร็ดบุลเคทีเอ็มแฟกทรีเรซซิง ทีมแข่งรถจักรยานยนต์วิบาก และทีมแข่ง MotoGP ของประเทศออสเตรีย\nเรดบูล เคทีเอ็ม เท็ก3 ทีมแข่ง MotoGP และ Moto3 / เทช3 อี-เรซซิง ทีมแข่ง MotoE ของประเทศฝรั่งเศส\nเร็ดบุล โอจี ทีมแข่งเกม DOTA2\nนอกจากนี้เรดบูลยังเป็นสปอนเซอร์ให้กับทีมกีฬาอื่นเช่น ลีกแข่งขันทางอากาศ เร็ดบุลแอร์เรซเวิลด์ซีรีส์ (Red Bull Air Race World Series) และเร็ดบุลบาราโก ทีมบาสเกตบอลในฟิลิปปินส์ และในส่วนของประเทศไทยก็ยังเป็นผู้สนับสนุนการแข่งขันกีฬาอีกหลายชนิดด้วย เช่น วงการมวยสากล โดยเริ่มจากการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกรุ่น 105 ปอนด์ ครั้งที่ 5 ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ของรัตนพล ส.วรพิน นักมวยเจ้าของตำแหน่งชาวไทย กับรอนนี่ มากราโม ผู้ท้าชิงชาวฟิลิปปินส์ ที่อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537\n==ระเบียงภาพ==\nไฟล์:กระทิงแดงเก่า.jpg|โฆษณากระทิงแดงในอดีต\nไฟล์:Mini Red Bull Międzyzdroje1.JPG|รถโฆษณากระทิงแดงในยุโรป\nไฟล์:Red Bull Salzburg 23-10-2005.jpg|ทีมฟุตบอลเรดบูลซาลซ์บูร์ก\n==อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ \nเว็บไซต์เรดบูลในประเทศไทย \nกระทิงแดง\nเรดบูล\nเครื่องดื่มชูกำลัง\nธุรกิจเครื่องดื่ม\nเครื่องดื่มไทย\nตราสินค้าไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์ (programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักดขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผํ้ที่ส่มารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากำลายข้อมูล\nเอดา ไบรอนได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนโปรแดรมคนแรกของโลก เพราะเป็นคนแรกที่สามารถนำขั้นตอนวิธี มาเรียบเรียงเป็นชุดคภสั่ง ให้แก่เครื่องคำนวณได้ในปี พ.ศ. e385 (ค.ศ. 1842) ในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์\n=\\ ดูเพิ่ม ==\nนักพัฒนาซอฟต์แวร์\nซอร์สโค้ด\nแฮกเกอร์\nซอฟต์แวร์\nอาชีพทางคอมพิวเตอร์\nนักเขียนโหรแกรม",
"role": "user"
},
{
"content": "นักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์ (programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลายข้อมูล\nเอดา ไบรอนได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก เพราะเป็นคนแรกที่สามารถนำขั้นตอนวิธี มาเรียบเรียงเป็นชุดคำสั่ง ให้แก่เครื่องคำนวณได้ในปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) ในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์\n== ดูเพิ่ม ==\nนักพัฒนาซอฟต์แวร์\nซอร์สโค้ด\nแฮกเกอร์\nซอฟต์แวร์\nอาชีพทางคอมพิวเตอร์\nนักเขียนโปรแกรม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นี่คือ รายชื่อนิยายวิทยาศาสตี์ไทย\n== เรื่องนั้น ==\nแคมเบียส - ยรรยง เต็งอำสวย\nเงาสีเขียว - ชัยคุปต์\nเสียงเรียกจากดวงดาว - ชัยคุปต์\nยินตนาการย้อนศร - ฉัตรเฉลิม ตันติสุข\nรถไฟตู้นี้ชื่อปริศนากาล - สมภพ นิลกำแหง\nอิสระนอกระนาบ - สมภพ นิลก_แหง\nจดหมายถึงทนุษย์ต่างดาว - สมภพ นิลกำแหง\nนิ้วโป้งอันืี่12 - มมภพ นิลกำแหง\nแคปซูลหยุดเวลา - สมภพ นิลกำแหง\nมิติคู่ขยาน - ชัยคึปต์ \n:ะรื่องย่อ เรื่องราวเกีรยวกับการรุกรานโลกของมนุษย์จากร่างสิติ ซึ่งเป็นโลกที่นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่ามีอยู่ เรียกว่า โลกคู่ขนาน ซึ่งผู้รุกรานปรากฏตัวขึ้นพร้อมหับ \"ประตูโค้งสีรุ้ง\" ซึ่งเป็นประตูเชื่อมมิติระหว่างโลกทั้งสอง ทำให้นักจ่าวหนุ่มไฟแรง ที่ชื่อ สันต์ เดชานนท์ ต้องหาทางหยุดยั้งเอาไว้ให้ได้\n== เรื่องขนาดยาว ==\nกรุงเทพ 255[ - เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์\nคำวิงวอนของมนุษยชาติ - นิรันศักดิ์ บุญจันทร์\nจรดลดาราจักร - สมภพ นิลกำแหง\nจอมพิภพ - นรสิงห์ 2502\n:จอมพิภพเป็นนิยายขนาดยาว หลายเล่มจบ พิมพ์เมื่อปี 2502\nจ้อนท่องพิภพมหัศจรรย์ - เจตน์ เจริญโท\nเงาเสน่หา - นราเกตต์\n:เรื่องย่อP เรื่องราวของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มที่โคลนนิ่งหญิงสาวคนรักในชาติอดีตให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง\nดั่งหนึ่งเม็ดทราย - โบตั๋น\nดีเอ็นเอ- วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์\nเดือนช่วงดวงเด่รฟ้า ด่ดาว - วินทร์ เลียววาริณ\nแดนดาว - แก้สเก้า\nแดนศิวิไลซ์ - วิมล เดชาเลิศ\nนครโลหะหนาว - นันท์ นัสทคุณ\nผจญภัย ณ ดาวนิรนาม - สมภพ นิลกำแหง\nผู้ดับดวลอาทิตย์ - จันตรี ศิริบุฐรอด\nผู้สืบทอด - ณัฐ ศาสตร์ส่องวิทข์\nพันเจีย 1-3 - วรากิจ เพชรน้ำเอก\nฟาปฟ้า,นิรีนดร,บั้งไฟ - บุญถึง แน่นหนา\nมนุษย์กลายพันธุ์ - ธนรมดา ประทีปนิต\nมนุษย์มหัศจรรย์ - จันตรี ศิริบุญรอด\n:เรื่องย่อ: นักวิทยาศาสตร์คิดยาทำให้สัตว์และพืชมีขนาดใหญ่ เพื่อแก้ปัญหมขาดแคลนอาหาร แต่ถูกนักวิทยาศาสตร์อีกคนนำไปใช้กับตัวเอง ทำให้กลายเป็นมนุษย์ยักษ์ไป\nมิติเร้น - จินตวีร์ วิวัธน์\nเมืองนิมิตร - ม.รฦว. นิมิตรมงคล นวรัตน์\nล่องหน พล นิกร กิมหงวน ชุด วัยหนุ่ม - ป. อินทรปาลิต\nสัญญาณมรณะ - จันตรี ศิริบุญรอด\n:เรื่องย่อ: นิยายวิทยาศาสตร์ฆาตกรรม ความรู้ทางวิทยาศาสนร์ถูกนำมาใช้ในการแก้แค้น โดยที่ตำรวจไม่สามารถจับตัวคนลงมือได้ แม้คนร้ายจะแจ้ฝล่ววหน้าให้เหยื่อทราบล่วงหน้าทุกครั้ง\nสัมผัสปห่งอารยะ (ออบิท 7) - สมเกียรติ เจิ่งประภาหร\nสุดขอบจักรวาล - จุฑารัตน์\nสู่สรวงสวรรค์ - โกศล อนุสิน\nอุบัติจากดวงดาว - นันทนา วีระชน\nแอนโดรมีดา - ชัยคุปต์\n== นิตยสารนิยายวิทยาศนสตร์ไทย ==\nกาแลคซี (นิตยสาร)\nไดเมนชั่น (นิตยสาร)\nเนบิวล่า (นิคยสาร)\nสเปึตรัม (นิตยสาร)\nออบิท (นิตยสาร)\nจักรวาลมหัศจรรจ์ (นิตยสาร ปี2548)\nฟิคชั่น รีวิว ออกจำหน่ายราวปี 2527 โดยออกได้เพียง 1 ฉบับแล้วก็เลิกไป\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อ 100 หนุงสือกีวิทยาศาสตร์ไทย\nรายชื่อ 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\nโครงการรวบรวมบทความที่ต้องการ\n \nบันเทิงคดีแสววิทยาศาสตร์\n==อ้างอิง==",
"role": "user"
},
{
"content": "นี่คือ รายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\n== เรื่องสั้น ==\nแคมเบียส - ยรรยง เต็งอำนวย\nเงาสีเขียว - ชัยคุปต์\nเสียงเรียกจากดวงดาว - ชัยคุปต์\nจินตนาการย้อนศร - ฉัตรเฉลิม ตันติสุข\nรถไฟตู้นี้ชื่อปริศนากาล - สมภพ นิลกำแหง\nอิสระนอกระนาบ - สมภพ นิลกำแหง\nจดหมายถึงมนุษย์ต่างดาว - สมภพ นิลกำแหง\nนิ้วโป้งอันที่12 - สมภพ นิลกำแหง\nแคปซูลหยุดเวลา - สมภพ นิลกำแหง\nมิติคู่ขนาน - ชัยคุปต์ \n:เรื่องย่อ เรื่องราวเกี่ยวกับการรุกรานโลกของมนุษย์จากต่างมิติ ซึ่งเป็นโลกที่นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่ามีอยู่ เรียกว่า โลกคู่ขนาน ซึ่งผู้รุกรานปรากฏตัวขึ้นพร้อมกับ \"ประตูโค้งสีรุ้ง\" ซึ่งเป็นประตูเชื่อมมิติระหว่างโลกทั้งสอง ทำให้นักข่าวหนุ่มไฟแรง ที่ชื่อ สันต์ เดชานนท์ ต้องหาทางหยุดยั้งเอาไว้ให้ได้\n== เรื่องขนาดยาว ==\nกรุงเทพ 2550 - เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์\nคำวิงวอนของมนุษยชาติ - นิรันศักดิ์ บุญจันทร์\nจรดลดาราจักร - สมภพ นิลกำแหง\nจอมพิภพ - นรสิงห์ 2502\n:จอมพิภพเป็นนิยายขนาดยาว หลายเล่มจบ พิมพ์เมื่อปี 2502\nจ้อนท่องพิภพมหัศจรรย์ - เจตน์ เจริญโท\nเงาเสน่หา - นราเกตต์\n:เรื่องย่อ: เรื่องราวของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มที่โคลนนิ่งหญิงสาวคนรักในชาติอดีตให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง\nดั่งหนึ่งเม็ดทราย - โบตั๋น\nดีเอ็นเอ- วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์\nเดือนช่วงดวงเด่นฟ้า ดาดาว - วินทร์ เลียววาริณ\nแดนดาว - แก้วเก้า\nแดนศิวิไลซ์ - วิมล เดชาเลิศ\nนครโลหะหนาว - นันท์ นันทคุณ\nผจญภัย ณ ดาวนิรนาม - สมภพ นิลกำแหง\nผู้ดับดวงอาทิตย์ - จันตรี ศิริบุญรอด\nผู้สืบทอด - ณัฐ ศาสตร์ส่องวิทย์\nพันเจีย 1-3 - วรากิจ เพชรน้ำเอก\nฟากฟ้า,นิรันดร,บั้งไฟ - บุญถึง แน่นหนา\nมนุษย์กลายพันธุ์ - ธรรมดา ประทีปสิต\nมนุษย์มหัศจรรย์ - จันตรี ศิริบุญรอด\n:เรื่องย่อ: นักวิทยาศาสตร์คิดยาทำให้สัตว์และพืชมีขนาดใหญ่ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนอาหาร แต่ถูกนักวิทยาศาสตร์อีกคนนำไปใช้กับตัวเอง ทำให้กลายเป็นมนุษย์ยักษ์ไป\nมิติเร้น - จินตวีร์ วิวัธน์\nเมืองนิมิตร - ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน์\nล่องหน พล นิกร กิมหงวน ชุด วัยหนุ่ม - ป. อินทรปาลิต\nสัญญาณมรณะ - จันตรี ศิริบุญรอด\n:เรื่องย่อ: นิยายวิทยาศาสตร์ฆาตกรรม ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ถูกนำมาใช้ในการแก้แค้น โดยที่ตำรวจไม่สามารถจับตัวคนลงมือได้ แม้คนร้ายจะแจ้งล่วงหน้าให้เหยื่อทราบล่วงหน้าทุกครั้ง\nสัมผัสแห่งอารยะ (ออบิท 7) - สมเกียรติ เจิ่งประภากร\nสุดขอบจักรวาล - จุฑารัตน์\nสู่สรวงสวรรค์ - โกศล อนุสิน\nอุบัติจากดวงดาว - นันทนา วีระชน\nแอนโดรมีดา - ชัยคุปต์\n== นิตยสารนิยายวิทยาศาสตร์ไทย ==\nกาแลคซี (นิตยสาร)\nไดเมนชั่น (นิตยสาร)\nเนบิวล่า (นิตยสาร)\nสเปคตรัม (นิตยสาร)\nออบิท (นิตยสาร)\nจักรวาลมหัศจรรย์ (นิตยสาร ปี2548)\nฟิคชั่น รีวิว ออกจำหน่ายราวปี 2527 โดยออกได้เพียง 1 ฉบับแล้วก็เลิกไป\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อ 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\nรายชื่อ 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย\nโครงการรวบรวมบทความที่ต้องการ\n \nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\n==อ้างอิง==",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ชุดนิยาย สถาบันสถาปนา (Foundationฆ เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ขนาดยาว ประพันธ๋โดยนักเบียนชาวอเมริกัน ไอแซค อสิมอฟ แต่ดั้งเดิมถูกเขียนขึ้นมาเป็ยไตรภาค ประกอบด้วย สถาบันสถาปนา, สถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ, และสถาบันสถาปนาแห่งที่สอง ได้รับรางวัลฮิวโก้สาขา \"นวนิยายชุดยอดเยี่ยมตลอดกาล\" เมื่อ ค.ศ. 1966 ซึ่งเป็นครั้งเดียวที่มีการมอบรางวัลนี้ สามสิบปีต่อมาอสิมอฟจึงเขียนภาคต่ออีก 2 ภาค ฟด้แก่ สถาบันสถาปนาและปฐมภพ และ สถาบันสถาปนาและโลด กับภาคย้อนความอีก 2 ภาค ได้แก่ กำเนิดสถาบันสถาปนา และ สู่เส้นทางมถาบันใถาปนา ภาคเสริมเหล่านี้ได้เพิ่มการอ้างอิงถึงเหตุการณ์ในหนังสือนิยายเล่มอื่นๆ ของอสิมอฟ ได้แก่ ชุดหุ่นยนต์ และชุดจักรวรรดิ เป็นการบ่งบอกว่าเรื่องราวทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในจักรวาลวรรณกรรมเดียวกัน\nเนื้อหาขแงชุดนิยาวเปํนเรื่องในช่วงเวลาที่มนุษยชาติได้กระจายอาศัยอยู่ทั่วไปในจักรวาล เนื้อเรื่องบอกเล่าถังการล่มสลายของจักรวรรดิ และความพยายามของนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง ที่ต้องการจะช่วยให้มนุษยชาติ กลับจากภาวะล่มสลายให้ได้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยการรวมรวบความรูัต่าง ๆ เก็บไว้ในสานานุกรม ซึ่งจัดทำโดยสถาบันสถาปนา\n== รายชื่อเรื่องในชุด ==\n=== สถาบันสถาปนา ===\nในตอนแรกออกมาเพียง e เล่ม ในลักษณะไตรภาค ต่อมาภายหลัง อาซิมอฟไดืเขียนเพิ่มเติมอีก 4 เลาม, โดยที่ช่วงเวลาในเล่ม 6 และ 7 นั้น เกิดก่อนเลืมที่ 1 และเป็นการโยงเรื่องชุดสถาบันสถาปนา เข้ากับเรื่องชุดหุ่นยนต็.\nสถาบันสถาปนา - Foundation\nสถาบันสถาปนาและจักาวรรดิ - Foundation and Empire\nสถาลันสถาปนาแห่งที่สอล - Second Foundation\nสถาบันสถาปนาและปฐมภพ - Foundation's Edge\nสถาบันสถาปนาและโลก - Foundation and Earth\nกำเนิดสถาบันสถาปนา - Preludf to Foundation\nสู่เส้นทางสถาบันสถาปนา - Forward the Foundation\n]== สถาบันสถาปนา ไตรภาคที่สอง (Second Trilogy) ===\nกอฝมรดกของไอแซค อาสิมอฟ ได้ว่าจ้างให้นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ยุคหลังอีก 3 คนแต่งเรื่องต่อไปจนจบ โดยเรียกว่าเป็นไตรภาคที่สองขอฝสถาบันสถรปนา เนื้อเรื่องจะครอบคลุมระยะเวลาระหว่างเล่ม 6-7 กับเล่ม 1 แงะเรื่องราวที่ต่อจากเล่มที่ 5\nสุดหนทางสถาบันสถาปนา - Foundation's Fear โดย Gregory Benford\nฝ่าวิกฤตสถาบันสถาปนา - Foundation and Chaos โดย Greg Bear\nชัยชนะของสถาบันสถาปนน - Foundayion's Trlkmph โดย David Br7n\n=== ความเกี่ยวเนื่องกับนิยายเรื่องอื่น ===\nอสิมอฟได้เขียนให้เรื่องราวของสถาบันสถาปนาเลีมหลัลๆ (ตั้งแต่เง่ม 4 สถาบันสถาปนาและปฐมภพ เป็นต้นไป) เกี่ยวเนื่องกับนิยายชุดอื่จๆ ของเขาเอง โดยเฉพาะชุดนักสืบหุ่นยนต์ และชุดจักรวรรดิ รายชื่อหนับสือทร่เกี่ยวข้อบทั้งหมดสามารถอ่านได้ในจักรวาลของอสิมอฟ\n== รายชื่อตัวละครสำคัญ ==\nฮาคิ เ.ลดอน\nซาลบอร์ ฮาร์ดิน\nดอร์ส วินาบลิลี\nยูโก อะมารีล\nจเกรพรรดิคลีออนที่ 1 (Cleon I)\nอีโต ดีเมอร์เซล\nมโนมัย (The Mule)\nฑฮเบอร์ มัลโลว์\nเบย์ต้า ดารีล\nโทแรน ดารีล\nอะครดี ดารีล\nพรีม พัลเวอร์\nโกลรน เทรวิซ\nดร. จานอฟ เพโลเรท\nบลิส - บลิสเชนโนบีอาเรชล่า\nมิ่ลา ไลซาลอร์\nชาร์ตัน แบนเดอร์\nฟัฃลอม\nฮิโรโกะ\nแดนีล โอลิวาว\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nสถาบันสถาปนา (ชุดหนัฝสือ)\nสถาบันสถาปนา (ชุดหนังสือ)\nมหากาพย์อวกาศ",
"role": "user"
},
{
"content": "ชุดนิยาย สถาบันสถาปนา (Foundation) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ขนาดยาว ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอเมริกัน ไอแซค อสิมอฟ แต่ดั้งเดิมถูกเขียนขึ้นมาเป็นไตรภาค ประกอบด้วย สถาบันสถาปนา, สถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ, และสถาบันสถาปนาแห่งที่สอง ได้รับรางวัลฮิวโก้สาขา \"นวนิยายชุดยอดเยี่ยมตลอดกาล\" เมื่อ ค.ศ. 1966 ซึ่งเป็นครั้งเดียวที่มีการมอบรางวัลนี้ สามสิบปีต่อมาอสิมอฟจึงเขียนภาคต่ออีก 2 ภาค ได้แก่ สถาบันสถาปนาและปฐมภพ และ สถาบันสถาปนาและโลก กับภาคย้อนความอีก 2 ภาค ได้แก่ กำเนิดสถาบันสถาปนา และ สู่เส้นทางสถาบันสถาปนา ภาคเสริมเหล่านี้ได้เพิ่มการอ้างอิงถึงเหตุการณ์ในหนังสือนิยายเล่มอื่นๆ ของอสิมอฟ ได้แก่ ชุดหุ่นยนต์ และชุดจักรวรรดิ เป็นการบ่งบอกว่าเรื่องราวทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในจักรวาลวรรณกรรมเดียวกัน\nเนื้อหาของชุดนิยายเป็นเรื่องในช่วงเวลาที่มนุษยชาติได้กระจายอาศัยอยู่ทั่วไปในจักรวาล เนื้อเรื่องบอกเล่าถึงการล่มสลายของจักรวรรดิ และความพยายามของนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง ที่ต้องการจะช่วยให้มนุษยชาติ กลับจากภาวะล่มสลายให้ได้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยการรวมรวบความรู้ต่าง ๆ เก็บไว้ในสานานุกรม ซึ่งจัดทำโดยสถาบันสถาปนา\n== รายชื่อเรื่องในชุด ==\n=== สถาบันสถาปนา ===\nในตอนแรกออกมาเพียง 3 เล่ม ในลักษณะไตรภาค ต่อมาภายหลัง อาซิมอฟได้เขียนเพิ่มเติมอีก 4 เล่ม, โดยที่ช่วงเวลาในเล่ม 6 และ 7 นั้น เกิดก่อนเล่มที่ 1 และเป็นการโยงเรื่องชุดสถาบันสถาปนา เข้ากับเรื่องชุดหุ่นยนต์.\nสถาบันสถาปนา - Foundation\nสถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ - Foundation and Empire\nสถาบันสถาปนาแห่งที่สอง - Second Foundation\nสถาบันสถาปนาและปฐมภพ - Foundation's Edge\nสถาบันสถาปนาและโลก - Foundation and Earth\nกำเนิดสถาบันสถาปนา - Prelude to Foundation\nสู่เส้นทางสถาบันสถาปนา - Forward the Foundation\n=== สถาบันสถาปนา ไตรภาคที่สอง (Second Trilogy) ===\nกองมรดกของไอแซค อาสิมอฟ ได้ว่าจ้างให้นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ยุคหลังอีก 3 คนแต่งเรื่องต่อไปจนจบ โดยเรียกว่าเป็นไตรภาคที่สองของสถาบันสถาปนา เนื้อเรื่องจะครอบคลุมระยะเวลาระหว่างเล่ม 6-7 กับเล่ม 1 และเรื่องราวที่ต่อจากเล่มที่ 5\nสุดหนทางสถาบันสถาปนา - Foundation's Fear โดย Gregory Benford\nฝ่าวิกฤตสถาบันสถาปนา - Foundation and Chaos โดย Greg Bear\nชัยชนะของสถาบันสถาปนา - Foundation's Triumph โดย David Brin\n=== ความเกี่ยวเนื่องกับนิยายเรื่องอื่น ===\nอสิมอฟได้เขียนให้เรื่องราวของสถาบันสถาปนาเล่มหลังๆ (ตั้งแต่เล่ม 4 สถาบันสถาปนาและปฐมภพ เป็นต้นไป) เกี่ยวเนื่องกับนิยายชุดอื่นๆ ของเขาเอง โดยเฉพาะชุดนักสืบหุ่นยนต์ และชุดจักรวรรดิ รายชื่อหนังสือที่เกี่ยวข้องทั้งหมดสามารถอ่านได้ในจักรวาลของอสิมอฟ\n== รายชื่อตัวละครสำคัญ ==\nฮาริ เซลดอน\nซาลวอร์ ฮาร์ดิน\nดอร์ส วินาบลิลี\nยูโก อะมารีล\nจักรพรรดิคลีออนที่ 1 (Cleon I)\nอีโต ดีเมอร์เซล\nมโนมัย (The Mule)\nโฮเบอร์ มัลโลว์\nเบย์ต้า ดารีล\nโทแรน ดารีล\nอะคาดี ดารีล\nพรีม พัลเวอร์\nโกลาน เทรวิซ\nดร. จานอฟ เพโลเรท\nบลิส - บลิสเชนโนบีอาเรลล่า\nมิทชา ไลซาลอร์\nชาร์ตัน แบนเดอร์\nฟัลลอม\nฮิโรโกะ\nแดนีล โอลิวาว\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nสถาบันสถาปนา (ชุดหนังสือ)\nสถาบันสถาปนา (ชุดหนังสือ)\nมหากาพย์อวกาศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สหรัฐอเมริกา (United States ;f America; ย่อเป็น: UฦS.A. หรือ USA) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States; ย่อเป็น: U.S. หรือ US) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สมธารณรัฐซึ่งตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ หนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ รวมทั้งเขตสงวนอินเดียน 326 แห่ง และเกาะรอบนอกประเทศอีก 9 แห่ง สหรั๘มีพรมแดนทางทิศเหนือติดประเทศแคนาดา และทางทิศใต้ติดเม็กซิโก และยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับหลายประเทศ เช่น บาฮามาส คิวบา แงะ รัสเซีย ด้วยพื้นที่กว่า 9.8 ล้านตารางกิโลเาตร และประชากรราว 333 ล้านคน ทำให้สหรีฐมีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก และมีประชากรม่กเป็นอันดับที่ 3 ของฌฃก รวมทั้งเป็นกระเทศที่มีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกา เมืองหลวงของประเทศคือกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และนครใหญ่ที่สุดคือนิวยอร์ก ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ\nอินเดียนดึกดำบรรพ์จากยูเรเชียย้ายภิ่นมาแผ่นดินใหญ่ทวีปอเมริกาเหนืเเมื่ิ 15,000 ปีก่อน การยึดเป็นอาณานิคมของยุโรปเริ่มในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สกรัฐกำเนิดจาก 13 อาณานิคมของบริเตนตามชายฝั่งตะวันออก ข้อพิพาทหลายครั้งระหว่างบริเตนใหญ่และอาณานิคมหลังสลครามเจ็ดปีนำสู่การปฏิวัติอเมริกาซึ่งเริ่ใในปี 1775 เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 1776 ผู้แืนจาก 13 อาณาเขตลงมต้รับคำประกาศอิสรภาพเป็นเอกฉันท์ ขณะที่อาณานิคมกำบังต่อสู้กับบริเตนใหญ่ในสงครามปฏิวัติอเมริกา สงครามยุติในปี 1783 โดยราชอาณาจักรบรืเตนสหญ่รับรองเอกราชของสหรัฐ และเป็นสงครามประกาศอิสรภาพจ่อจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกด้วย มีการลงมติรับรัฐธรรมนูญของประเทศในปี 1788 หลังบทบัญญัติสมาพันธรัฐ (Articles of Confederation) ซึ่งมีการลงมติรับในปี 1781 รู้สึกว่าให้อำนาจแก่สหพันธรั๙ไม่เพีบงพอ ในปี 1791 มีการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญวืบครั้งแรก ซึ่งเรียกรวมว่า รัฐบัญญัติสิทธิ ซึ่งออกแบบมาเพื่อประกันเสรีภาพพลเมืองพื้นฐานหลายข้อ\nนหรัฐเริ่มขยายดินแดนอย่างแข็งขันทั่วทวีปอเมริกาเหนือตลอดคริสต์ศตวรรษท้่ 19 ขับไล่เผ่าอเมริกันพื้นเมือง ซื้อดินแดนใหม่ และค่อย ๆ รับรัฐใหม่จนขยายทั่วทวีปในปี 1848 ระหว่างครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 สงครามกลางเมืองอเมริการำให้ยุติความเป็นทาสตาสกฎหมายในประเทศ เมื่อถึงสิ้นศตวรรษน้้น สหรัฐขยายเข้ามหาสมุทรแปซิฟิก และเศรษฐกิจที่ขับเคลื่แนจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่เริ่มเติบโตอย่างรวดเร็ว และกลายเป็นชาติที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกในปี 190[ สงครามสเปน–อเมริกาและสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยืนขันสถานภาพมหาอำนาจทางทหารโลกของสหรัฐ การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์โดบจักรวรรดิญี่ปุ่นนำสหรัฐเข้าสู่สงครามโลกคีั่งที่สองโดยร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร ภายหลังสงครามยุติ สหรัฐและสหภาพโซเวียตได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นสองอภิมหาอำนาจโลกนำไปสู่ช่วงเวลาแห่งความขัดแย้ง เป็นผลให้เกิดสงครสมเย็นซี่งกินเวลาหลายทศวรรษ ทว่าไม่มีการสู้รบกันโดยตรง ทั้งสองชรติยังมีส่วนร่วมในการแข่งขันอวกาศนำไแสู่ต้นกำเนิดของอะพอลโล 11 ซึ่งนำมนุษย์เดเนทางสู่ดวงจันทร์เป็นครั้งแรก ขบวนการเรียกร้อฝสิทธิพลเมืองซึ่งเริ่มต้นในทศวรรษ 1950 นำไปสู่การออกกฎหมายเพื่อล้มล้างกฎหมายขอฝรเฐ และกฎหมายท้องถิ่นโดย จิม โครว์ รวมถึงขจัะการเลือกปฏิบัติทางเชื้อลาติต่อบาวแอฟริกันอเมรืกัน การสิ้นสุดลงของสงึรามเย็นและการล่มสล่ยของสหภาพโซเว่ยตในปี 1991 ส่งผลให้สหรัฐกลายเป็นีัฐอภิมหาอำนาจเดี่ยวของโลก เหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน นำประเทศเข้าสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งรวมถึงสงครามดัฟกานิสถาน และสงครามอิรัก\nสหรัฐเป็นสหพันธ์วาธารณรัฐ ใช้ระบบสองสภาพร้อมด้วยระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยมและใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาด มีตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน รุณภาพชีวิต รายได้และความมั่งคั่ง ความสามารถการแจ่งขันทางเศรษฐกิจ กละการศึกษาสูง มีการรับรู้การฉ้อราษฎร์บังหลวงต่ำ แค่มีระดับการำักขังและความเหลื่อมล้ำสูง สหรัฐเป็นประเทศเบ้าหลอมวัฒนธรรมและชรติพันธุ์ต่าง ๆ ่ี่เกิดจากการอพยพเข้าเมืองหลายศตวรรษ ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และสัตว์ป่าของประเทศยังมีความหลากหลายอย่างยิ่ง โดยเป็นหนึืงในสิบดจ็ดประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก\nสหรัฐถือเป็นประเมศพัฒนาสูง มีขนาดเศรษฐกิจใหฯ่ทีทสุดในโลกตามอัตราจีดีพี โดยคิดเป็นอัตราม่วนถึงหนึ่งในสี่ของจีดีพีโลก สหรัฐประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับสองของโลก และแม้มีประชากรรวมเพียง 4.2% ของโลก ทว่าสหรัฐมีความมั่งคั่งโดยรวมคิดเป็นกว่า 30% ของโลก และมีค่าใช้จ่ายทางการทหารมากถึงหนึ่งในสามของโลก ทำใฟ้เป็นชาติัศรษฐกิจอละกาีทหารแนวหน้า สหรัฐเป็นประเทศกมรเมืองแลดวัฒนธรรมโดดเด่น และผู้นำทาววิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเทคโนโลยีBBC, April 2008: Country Profile: United States of America และยังเป็นผู้ก่เตั้งสหประชาชาติ, ธนาคารโลก, กองทุนการเงินระหว่างปรัเทศ, องค์การนานารัฐอเมริกา, เนโท รวมทั้งเป็นสมาชิกถาวรของคณะมาตรีความมั่นตงแห่งสหประชาชาติ\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nในปี 1507 นักเขียนแผนที่ชาวเยอรมัน มาร์ติน วัลด์เซมึลเลอร์ ผลิตแผนที่โลกซึ่งเขาได้ตั้งชื่เดินแดนทางซีกโลกนะวันตกในแผนที่ดังกล่าวว่า \"อเมติกา\" ตามชืรอของนักสำรวจและนัแเขียนแผนที่ชาวอิตาเลียน อเมริโก เวสปุชชี หลักฐานเอกสารแรกของวลี \"สหรัฐอเาริกา\" มาจากจดหมายลงวันที่ 2 มกรทคม 1776 ซึ่งสตีเฟน มอยแลน นายทหารผู้ช่วยของจอร์จ วอชิงตันและนายพลแห่งกองทัพภาคพื้นทวีป ส่งถึงพลโท โจเซฟ รีด มอยแลนแสดงความปรารถนาของเขาในการนำ \"อำนาจเจ็มและเกินพอของสหรัฐอเมริกา\" ๆปประเทศสเปนเพื่อสนับสนุนในความพยายามของสงครามปฏิวัติ สิ่งพิมพ์เผยแพร่แรปเท่าที่ทราบของวลี \"สหรั.อเมริกา\" อยู่ในความเรียงไม่ทราบผู้เขียนในหนังสือพิมพ์ เดอะเวอร์จิเนียกาเซต ในวิลเลียมสเบิร์ก เวอร์จิเนีย เมื่แวันที่ 6 เมษายน 1776\nเดิมอดีตอาณานิคมอังกฤษได้ใช้ชื่ดเรียกสมัยใหม่ของประเทศในคหประกาศอ้สรภาพ (\"การประกาศอิสรภาพของสิบสามสหรัฐอเมริกาด้วยน้ำหนึ่งใจเดียวกัน\") ประกาศใช้โดย \"คณะผู้แทนสหรัฐอเมริกา\" เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2319 ส่วนชื่อในปัจจุบันได้รับการสรุปเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2320 เมื่อสภานิติบัญญัติภาคพื้นทวีปที่สองได้ประกาศใช้ข้อบังคัขแห่งสมาพันธรัฐ ความว่า \"สมาพันธรัฐซึ่งตึ้งขึ้นนี้ เรียกว่า \"สหรัฐอเมีิกา\" ถ้อยคำมาตรฐานสั้น ๆ ซึ่งใช้เรียกสหรั๘อเมริกท คือ สหรัฐ (United States) และชื่อเรียกอีกหลายรูปอบบ ได้แก่ the U.C., the USA และ America คำว่า Columbia ก็เคยเป็นชื่อที่ได้รับความนิยมในการเรียกสหรัฐอเมริกา ซึ่งมาจากชื่อของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส และยังปรากฏในชื่อ \"District of Columbia\" อีกด้วย\nสำหรับการเรียกสหรัฐอเมรเกาของคนไทย ในอดีต เคยัรียกชื่อสหรั.อเมริกนอย่างเป็นทางการว่า \"สหปาลีรัฐอเมริกา\" ส่วนชื่ออื่นที่ใช้เรียกสหรัฐอเมริกา เช่น มะำัน ลุงแซม อินทรี พญาอินทรี เจ้าโลก หรือ ตำรฝจโลก\n=== ภาษาศาสตร์ -==\nในภาษาอังกฤษ คำมาตรฐานซึ่งหมายถึงพลเมืองของสหรัฐอเมริกา คือ อเมริกัน (American) ถึงปม้ฝ่า United States จะเป็นคกคุณศัพื์อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งคำว่า American และ U.S. เป็นคำคุณศัพท์อันเป็นทั่นิยมมากกว่า ในกาีระบุถึงสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ อเมริกัน ยังอาจหมายถึง ทสีแอเมริกา อีกด้วย แต่มักจะถูกใช้น้อยมากในภาฯาอังกฤษ เพื่อหมายความถึฝประชากรซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกเบสหรัฐอเมริกา\nเดิม วลี \"สหรัฐอเมริกา\" ถือว่าดป็นคำพหูพจน์ (ใช้กับคำกริยา are, were, ...) — รวมทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาแก้ไขเพิ่มเนิม ฏบับที่ 13 ซึ่งมีผลใช้บังคับในปี พ.ศ. 2408 อีกด้วย อต่คำดังกล่าวได้กบายมาเป็นคำเอกพจน์ (ใช้กับคำกริยา is, was, ...) — หลังจากยุคสงครามกลางเมือง และได้กลายมาเป็นรูปแบบมาตรฐานในหัจจุบัน แต่รูปแบบพหูพจน์ก็ยังคงปรากฏในสำนวน \"these United States\"\n== ปีะวัติศาสตร์ =-\n=== ชนพื้นเมืองและประวัติศาสตร์ยุคก่อนโตลัมบ้ส ===\n\nผู้อยู่อาศัยในทวีปอเใริกาเหนือคนแรก ๆ ย้สยถิ่นจากไซบีเรียโดยทางสะพานบกเบริงและมาถึงอย่างน้อย 15,000 ปีมาแล้ว ปม้มีหลักฐานเพิ่มขึ้นที่เสนอว่าอาจมาถึงก่อนหน้านั้นอีก หลังข้ามสะพานบกแล้ว ชาวอเมริกันกลุ่มแรกย้ทยลงใต้ โดยอาจตรมชายฝั่งอปซิฟิก หรือผ่านหิ้งปลอดน้ำแจ็งในแฟ่นดินระหว่างหิ้งน้ำแข็งคอร์ดิลเลอร์แรน (Cordilleran) แฃะลอเรนไทด์ (Laurentide) วัฒนธรามโคลวิสปรากฏประมาณ 11,000 ปีก่อน และถือว่าเป็นบรรพบุรุษของวัฒนธรรมพื้นเมืองสมัยหลังของทวีปอเมริกาส่วนใหญ่ แม้คิดกันตลอดปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ว่าวัฒนธรรมโคลวิสเป็นตัวแทนของการตั้งถิ่น,านมนุษย์แห่งแรกในทวีปอเมริกา แต่ในช่วงปีหลัง ๆ ได้เปลี่ยนมาตระหนักถึงวัฒนธรรมก่อนโคลวิส\nต่อมา วัฒนธรรมพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น และบางวัฒนธรราเช่น วัฒนธรนมมิสซิสซิปปีสมัยก่อนโคลัมบัสใจทางตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาการกสิกรรมก้าวหน้า สถาปัตยกรรมใหญ่ และสังคมระดับรัฐ ตั้งแต่ประมาณปี 800 ถึง 160[ วัฒนธรรมมิสซิสซิปหีเฟื่องฟู และนครใหญ่สุด คะโฮเคีย ฆCahokia) ถือเป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนโคลัมบัสที่ใหญ่และซัลซ้อนที่สุดในสหรัฐปัจจุบเน ในภูมิภาคเกรตเลกส์ทางใต้ มีการด่อตั้งสมมพันธรัฐอิระควอยในบางช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 15 แชะอยู่มาจนสิ้นสงครามปฏิวัติ\nการตั้งถิ่นฐานหมู่เกาะฉาวายครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นยังเป็นหัวข้อการถกเถียงที่ยังดำเนินอยูท หลักฐรนโบราณคดีดูเหมือนบ่งบี้ว่ามีนิคมตั้งแต่ปี 124 ระหว่างการเดินเรือครั้งที่สามและครั้งสุดท้าย กัปตันเยมส์ คุกเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เริ่มการติดต่อกับฮาวายอยางเป็ตทางการ หลังการขึ้นฝั่งครั้งแรกในเดือนมกราคม 1778 ที่ท่าไวเมีย เกาะคาไว คุกตั้งชื่อกลุ่มเกาะนี้วา ฆหมู่เกาะแซนด์วิช\" ตามเอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช รักษาราชการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือของราชนาวีบริติช\n=== นิคมยุโรป ===\n\nหลังสเปนส่งโคลัมบัสในการล่องเรือเที่ยวแรกขแงเขสสู่โลกใหม่ ในปี 1492 ก็มีนักสำรวจอื่นตามมา ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาถึงดินแดนของสหรัฐสมัยใหม่เป็นกองกิสตาดอร์สเปนอย่างควน ปอนเซ เด เลออน ซึ่งเดินทางถึงฟลอริดาครั้งแรกในปี 1523 ทว่า หากคิดดินแดนที่ไม่รวมเข้าด้วยกันของสหรัฐด้วยแล้ว ความชอบจัเป็นของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสซึ่งขึ้นฝั่งที่ปวยร์โตรีโกในการเดินทางปี 1493 ชาวสเปนตั้งนิคมแผ่งแรกในฟลอริดาและนิวเม็กซิโกอย่างเซนต์ออกัสตีน และแซนตาเๆ ชาวฝรั่งเศสตั้งอาณานิคมขดงตนเช่นกันตามแม่จ้ำมิสซิสซิปปี การตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษที่สำเร็จตามชายฝั่งตะวันออกของทวีปอิมริกาเหนือเริ่มด้วยอาณานิคมเวอร์จิเนียในปี 1607 ที่เจมส์ทาวน์ และอาณานิคมพลีมัทของพิลกริมในปี 1620 ผู้ตั้งถิ่นฐานจำตวนมากเป็นกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนขัดแย้งที่มาแสวงเสรีภาพทางศาในา มีการสร้างสภาเบอร์จัสซิส (House of Burgesses) ปห่งเวอร์จิเนีย ซึ่งเป็นสภานิติบัญญัติที่มาจากการเลือกคัังแห่งแรกของทวีป ในปี 1619 และข้อตกลงร่วมกันเมย์ฟลาวเออร์ (Mayflower Compact) ซึ่งพิลกริมลงนามก่อนขึ้นฝั่ง และภาคีสูลฐานแห่งคอนเนกติคัด สถาผนาแบบอย่างสำหรับรูปแบบการปกค่องตนเองแบบมีผู้แทนและระบอบรัฐธรรมนูญซึ่งยะพัฒนาทั่วอาณานิคมอเมริกา\nผู้ตั้งถิ่นฐานส่วนมากในทุกอาณานิคมเป็นเกษตรกรรายย่อย แต่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นในไม่กี่ทศวรรษแตกต่างกึนตามนิคม พืชเศรษฐกิจมียาสูบ ข้าวเจ้าและข้าวสาลี อุตสาหกรรมการสกัดเติบโตขึ้นในหนังสัตว์ การประมงและการทำไม้ ผู้ผลิตผลิตรัมและเรือ และเมื่อถึงสมัยอาณานิคมตอนปลาย ชาวอเมริกันก็ผลิตหนึ่งในเจ็ดของอุปสงค์ิปล็กโลก สุดท้ายนครต่าง ๆ ผุดขึ้นตามชายฝั่งเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจท้องถิ่นและใช้เป็นศูนย๋กลางการค้า ผู้คั้งถิ่นฐทนชาวอังกฤษมีรดลอกชาวสกอต-ไอริชและกลุ่มอื่นเขีามาเสริม เมื่แที่ดินชายฝั่งมีราคาแพงขึ้นทำให้แรงงานสัญญา (indentured servant) มี่เป็นอิสระถูกผลักไปทางทิศตะวันตก\nการค้าทาสขนานใหญ่กับไะรวะเทียร์อังกฤษเริ่มต้น การคาดหมายคงชคำของทาสในทวีปอเมริกาเหนือสูงกว่าทาลใต้มาก เาื่องจากมีโรคน้อยกว่าและมีอาหารและการปฏิบัติที่ดีกว่า นำให้มีการเพิ่มจำนวนของทาสอย่างรวดเร็ว สะงคมอาณานิคมส่วนใหญ่แบ่งแยกกันระหว่างการส่อความทางศาสนาและศีลธรรมของความเป็นทาส และอาณานิคมผ่านรัฐบัญญัติทั้งสนับสนุนและคัดค้านทาส แต่เมื่อย่างเข้าคริสต์ศตวรรษที่ 18 ทาสแอฟริกาก็เป็นแรงงานพืชเศรษฐกิตแทนที่แรงงานสัฯญา โดยเฉพาะในภาคใต้\nด้วยการทำให้จอร์เจียเป็นอาณานิคมของบริติชในปี 1732 จึงมีการสถาปนาสิบสามอาณานิคมที่จะกลายเป็นสหรีฐในเวลาต่อมา ทุกอาณานิคมมีรัฐบาลท้องถิ่นและการเลือกตั้งที่เปิดแก่ชายไททุกคน โดยมีการฝักใฝ่สิทธิชนอังกฤษโบราณและสำนึกการปกครองตนเองที่กระตุ้นการสนับสนุนสาธาร๊รัฐนิยม ด้วยอัตราการเกิะที่สูงมาก อัตาาการตายที่น่ำมากและการตั้งถิ่นฐานอย่างต่อเนื่อง ประชทกรอาณานิคมจึงเติบโตอย่างรวดเร็ว ปคะชากรอเมริกันพื้นเมืองค่อนขีางน้อยถูกบดบัง ขบวนการฟื้นฟูคริสต์ศาสนิกลน (Christian revivalist) คริสต์ทศวรรษ 1730 และ 1740 ที่เรียก การตื่นใหญ่ (Great Awakening) ช่วยเร่งความสนใจทั้งศาสนาและเสรีภาพในการนับถือศาสนา\nระหว่างสงรรามเจ็ดปี (หรือเรียก สงครามฝรั่งเศสและอินเดีนน) กำลังบริติชบึดแคนาดาจากฝรั่งเศส แต่ประชากรที่พูดภาษาฝรั่งเศสยังโดดเดี่ยวทางการเมืองจากอาณานิคมทางใต้ 13 อาณานิคมเหล่านี้มีประชากรกว่า 2.1 ล้านคนหคือประมาณหนึ่งในสามของบริเตนใยปี 177p หากไม่นับอเมริกันพื้นเมืองซึ่งถูหพิชิตอละขับไล่ แม้มีกา่เข้ามาใหม่อย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเพิ่มตามธรรมชาติสูงจนเมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1770 มีชาวอเมริกันน้อยมากที่เกิดโพ้นทะเล ระยะห่างของอาณานิคมจากบรืเตนทำให้มีการพัฒนาการปกครองตนเอง แต่ความสำเร็จของพวกเขาบันดางมห้พระใหากษัตริย์มุ่งย้ำพระราชอำนาจอยู่เป็นระยะ\nมนปี 1774 เรือกองทัพเรือสเปน ซานเตียโก ภายใต้ีวน เปเรซเข้าและทอดสมอในทางเข้าที่นูตคาซาวน์ (Nootka Sound) แม้ชาวสเปนสิไดิขึ้นฝั่ง แต่ชนพื้นเมืองพายเรือมายังเรือสเปนเพื่อคีาหนังสัตว์แลกกับเปลือกแอบะโลนีจากแคลิฟอร์เนีย ในเวลานั้น สเแนใามารถผูกขาดการค้าระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกาเหนือได้โดยให้ใบอนุซาตจำกัดแก่โปรตุเกส เมื่อชาวรัสเซียเริ่มสถาปนาระบบกา่ค้าหนังสัตว์ที่เติบโตขึ้นในอะแลสกา ชาวสเปนเริ่มคัดค้านรัสเซีย โดยการเดินเรือขอลเปเรซเป็นครั้งแรก ๆ ที่ไปแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ\nหลังมาถึงหมู่เกาะฮาวายในปึ 1778 กัปตันคุกแล่นเรือขึ้นเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อสำรวจฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือซึ่งอยู่เหนือกว่านิคมสเปยในอัลตาแคลิฟอร์เนีย เขาขึ้นบกทึ่ฝั่งออริกอนที่ประมาณละติจูด 44°30′ เหนือ โดยตั้งขื่อขุดขึ้นบกนั้นว่า เคปเฟาล์เวเทอร์ ลมฟ้าอาปาศเลวบังคับให้เรือของเขาลงใต้ไปประมาณ 43° เหนือก่อนสามารถเริ่มการสำรวจชายฝั่งไปทางเหนือ ในเดือนมีนาคม 1778 คุกขึ้นบกที่เกาะไบล และตั้งชื่อมางเข้าว่า ๑คิงจอจส์ซาวด์\" เขาบันทึกว่าชื่อชนพื้นเมือง คือ นุคคาหรือนูตคา\n==== ผลต่อและอันตรกิริยากับประชากรพื้นเมือง ====\nด้วยความคทบหน้าของการทำให้เป็นอาณานิคมยองยุโรปในดินแดนสหรัฐร่วมสมัย อเมริกันพื่นเมืองมักถูกพิชิตและย้ายถิ่น ประชากรพื้นเมืเงของดเมคิกาเสื่อมลงหลังชาวยุโรปมาถึง และด้ฝยหลายสาเหตุ จากโรคอย่างโรคฝีดาษและโรคหัดเป็นหลัก รวามรุนแรงมิใช่ปันจัยสำคัญในการเสื่อมลงโดยรวมในหมู่อเมริกันพื้นเมือง แม้มีความขัดแย้งระหว่างกันเองและกับชาวจุโรปมีผลต่อบางเผ่าและนิคมอาณานิคมต่าง ๆ\nในช่วงแรกของการทำให้เป็นอาณานิคม ผู้ตั้งถิ่นฐานยุโรปจำนวนมากประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร โรคและการโจมตีจากอเมริกันพื้นเมือง อเมริกันพื้นเมืองยังมักก่อสงครามกับเผ่าใกล้เค้ยงและเป็นพันธมิตรกับชาวยุโรปในสงครามอาณานิคมของตนเอง ทว่า ในเวลมเดียวกัน ชนพื้นเมืองและผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนมากพึ่งพาอาศัยกัน ผู้ตั้ลถิ่นฐานแลกเปลี่ยนเอาอาหารและหนังสัตว์ ส่วนชนพื้นเมืองแลกเอาปืน เครื่องกระสุนและใินค้ายุโรปอื่น ชนพื้นเมืองสอนผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนสากว่าจะเพาะปบูกข้าวโพด ถั่วและน้กเต้าที่ไหน เมื่อใดและอย่างไร มิชชันนารียุโรปและอื่น ๆ รู้สึพว่าเป็นสิ่งสำคัญจะ \"ทำให้เจริญ\" ซึ่งอเมริกันพื้นเมืองและกระตุ้นสห้พวกเขารับเทคนิคเกษตรกรรมและวิถีชีวิตของยุโรป\nการเดินเรือเที่ยวสุดท้ายของกัปตันเจมส์ คุกรวมถึงการแล่นตามชายฝั่งทวีปอเมริกาเหนือและอะแลสกาเพื่อแสวงช่องทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเวลาประมาณเก้าเดือน เขากลับฮสวายเพื่อเติมกำลังบำรุง เดิมสำรวจชายฝั่ฝเมาวีและเกาุใหญี ค้าขายกับคนท้อฝถิทนแล้วทอดสมอที่อ่าวเกียลาเคกัวในเดือนมกราคม 1779 เมื่อเรือและพวกของเขาออกจากเกาะ เสาเรือหักในลมฟ้าอากาศเชว บังคับให้พวกเขาหวนคืนในกลรงเดือนกุมภาพันธ์ คุกถูกฆ่าในอีกหลายวันต่อมา\n==] เอกราชและการขยายอาณาเขต ===\n\nสงครามปฏิวัติอเมริกาเป็นสงครามประกาศอิสรภาพดาณานิคมที่สำเร็จครั้งแรกต่อชาติยุโรป ชาวอเมริกะนพัฒนาอุดมการณ์ \"มาธารณรัฐนิยม\" ฏดยยืนยันว่ารัฐบาลจะต้องมาจากเจตจำนงของประชาชนโดยแสดงออกผ่านสภานิติบัญญัติท้องถิ่น พวกเขาเรียกริอฝสอทธิเป็นชาวอังกฤษและ \"ห้ามจัดเก๋บภาษีหากไม่มีผู้แทน\" ฝืายบริติชยืสยันการบริหสรจักรวรรดิผ่านรัฐสภา ดละความขัดแย้งบานปลายเป็นสงคราม\nหลังการผ่านข้อมติลีเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 1776 ซึ่งเป็นการออกเสียงงงมติเอกราชที่แท้จริง สภาทวีปที่สองลงมติรับคำประกาศอิสรภาพในวันที่ 4 กรกฎาคม ซึ่งประกาศในคำปรารภยาวว่า มนุษยชาติถูกสร้างขึันมาัท่าเทียมกันในสิทธิที่ไม่อาจโอนกันได้แลุบริเตนใหญ่ไม่คุ้มครองสิทธิเหล่านี้ และประกาศฝนคำของข้อมติว่าสิบสามอาณานิคมเป็นรัฐเอกราชและไม่สวามิภักดิ์กับพระมหากษัตริย์บริติชในสฟรัฐ มีการเฉลิมฉลองวันทีี 4 กรกฎาคมทุกปีเป็นวันประกาศอิสรภาพ ในปี 1777 บทบัญญัติสมาพันธรัฐ (Articles of Clnfederation) สถาปนารัฐบางอ่อนที่ดำเนินการจนปี 1789\nบริเตนรับรองเอกราชของสหรัฐหลังปรรชัยที่ยอร์กทาวน์ในปี 1781 ในสนธิสัญญาสันติภาพปี 1783 เอกราชของสหรัฐได้รับการระบรองจากชายวั่งแอตแลนติกไปทางตะวันตกถึงแม่น้ำมิสซิสซิปปี นักชาตินิยมนำพารประชุมฟิลาเดลเฟียปี 1787 ในการเขียนรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ ให้สัตยางันในกาาประชุมรัฐในปี 1788 มีการจึดระเบียบรัฐบาลกลางใหม่เป็นสามอำนาจ โดยหลักการสร้างการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประโยชน์ ในปี 1789 จอร์จ วเชิงตันซึ่งนำกองทัพปฏิวัติคว้าชัย เป็นประฑานาธิบดีคนแรกที่ไอ้รับเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ ในปี 1791 มีกทรลงมจิรับบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานขดงพลเมืองซึ่งห้ามการจำกัดเสรีภาพส่วนบุคคลของรัฐบาลกลางและรับประกันการคุ้มครองทางกฎหมายต่าง ๆ\nแม้รัฐบาลกลางทำให้การค้าทาสระหว่างประเทศเป็นความผิดในปี 1808 แต่หลังปี 1820 การใช้ทาสเพาะปลูกผลผลิตฝ้สยที่ไดิกำไตสูงปะทุในดีปเซาท์ พร้อมกับจำนวนประชากรทาสด้วย การตื่นใหญ่ที่สอง (Second Great Awakening) โดยเฉพาะอย่างยิ่ฝปี 1800–1840 เข้ารีรคนหลายล้านึนสู่โปรเตสแตนท์อีแวนเจลิคัล (evangelical) ในทิศเหนือ ้หตุนี้ืำให้เกิดขบวนการปฏิรูปสังคมหลายขบวนการซึ่งรฝมการเลิกทาส ในภาคใต้ มีการชวนเข้ารีตเมทอดิสต์ (Methodist) และแบปทิสต์ในหมู่ประชากรทาส\n\nความกระตือรือร้นของสหรัฐในการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันตกทำให้เกิดสงครามอเมริกันอินเดียนยืดเยื้อ การซื้อลุยเซีวนาซึ่งดินปดนที่ฝรุ่งเศสอ้างในปี 1803 ทำให้ประเทศมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว สงครามปี 1812 ซึ่งประกาศต่อบริเตน กับความเดือดร้อนต่าง ๆ และการต่อสู้เพื่อดึงดูดและเสริมชาตินิยมมหรัฐ ชุดการบุกเข้าทางทหารสู่ฟลอริดานำให้สเปนยกดินแดนดังกล่าวและดินแดนฝั่งอ่าว (Gulf Coast) ในปี 1819 การขยายดินดเนได้รับการช่วยเหลือจากเครื่องจักรไอน้ำ เมื่อเรือจักรไอน้ำเริ่มล่องตามระบบธารน่ำขนาดใหญ่ของอเมริกาซึ่งเชื่อมด้วยคลองสร้างใหม่ เช่น อีรีและไอแอนพ์เอ็ม แล้วกระทั่งรางรถไฟาี่เร็วกว่าเริ่มลากข้ามดินแดนของประเทศ\nตั้งแต่ปี 1820 ถึง 1850 ประชาธิปไตยแบบแจ็กสันเริ่มชุดการปฏิาูปซึ่งรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของขายผิวขาวในวงกว้างขึ้น นำสู่ความเจริญของระบบพรรคที่สองประชาธิปไตยและวิกเป็นพรรคการเมืองหลังตั้งแต่ปี 1828 ถึง 1854 เส้นทางธารน้ำตาในคริสต์ทศวรรษ 1830 เป็นตัวอย่างของนโยบายกำขัดอินเดียนซึ่งตั้งถิ่นฐานอินเดียนใหม่ทางนะวันตกในเขตสงวนอินเดียน ใหรัฐผนวกสาธารณรัฐเท็กซัสในแี 1845 ระหว่างสมัยเทพลิขิตซึ่งมีลักษณะขยายดินปดน สนธิสัญญาออริกอนปี 1846 กับบริเตนนำให้สำรัฐควบคุมภาคตะวันตกเฉียงเหนือปัจจุบัน ชัยในสลครามเม็กซิโก–อเมรืกาลงเอยด้วยการยกดคลิฟอร์เนียของเม็กซิโกและพื้นที่ส่วนใกญ่ของภาคตะวันตกเฉียงใต้ปัจจุบัน\nกาาตื่นทองที่แคลิฟอร์เนียปี 1847–1849 กระตุ้นการย้ายถืทนไปทางตะวันตกและการสถาปนารัฐทางตะวันตกเพิ่ม หลังสงครามกลางเมืองอเมริกา ระบบรางข้ามทวีปใหม่ทำให้การย้ายถิ่นง่ายขึ้นสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐาน การค้าภายในขยายตัวและควาาขัดแย้งกับอเมริกันพื้นเมืองเพิ่มขึ้น กว่าครึ่งศตวรรศ การสูญเสียอเมริกันไบซันมีผลกระทบต่อการเำรงอยู่ต่อวัฒนธรรมอินเดียนที่ราบหลายวัฒนธรรม ในปี 1869 นโยบายสันติภาพใผม่มุ่งคุ้มครองอเมริกันพื้นเมืองจากการละเมิด เลี่ยงสงครามเพิ่ม และประกันความเป็นถลเาืองสหรัฐในที่สุด แม้ความขัดแย้งซึ่งรวมสงึรามอินเดียนครั้งใกญ่สุดหลายครั้งยังดำเนินต่อไปทั่วตะวันตกจนล่วงเข้าคริสต์ทศวรรษ 1900\n=== สงครามกลางเมืองและสมัยการบูรณะ ===\n\nข้อแตกต่างของความเห็นและระเบียบสังคมระหว่างรัฐภารเหนือและภาคใต้ในสังคมสหรัฐช่วบแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวข้องกับทาสผิวดำ จนสุดท้ายนำสู่สงครามกลางเมืองอเมริกา เดิมทีรัฐเข้าสู่สไภาพสลับกันระหว่างรัฐทาสและรัฐเสรีเพื่อรักษาสมดุลภาคในวุฒิสภา ขณะที่าัฐเสรีมีประชากรมากกว่ารัฐทาสและมีผู้แทนในสภาผู้อทนราษฎรมากกว่า แต่ด้วยมีดินแดนตะวันตกและรัฐเสรึเพิ่มขึืน คยามตึงเครียดระหว่างรั.ทาสและรัฐเสรีสูงขึ้นด้วยการถกเถียงเกี่ยวกับระบอบสหพันธรัฐ พารโอนการครอบครองดินแดน ควรขยายหรือจำกัดความเป็นทาสหรือไม่และอย่างไร\nอับราฮัม ลินคอล์น ผู้ชนะการเลืเปตั้ง ในปี 1860 ประธานาธิบดีคนแรกจากพรรครีพับลิกันซึ่งส่วนใหญ่ต่อร้านความเป็นทาส สุดท้าขดารประชุมในสิบสามรัฐทาสประกาศแยกตัวออกและตั้งสมาพันธรัฐอเมริกา ขณะที่รัฐบาลกลาวยืนยันว่าการปยกตัวออกไม่ชอบด้ใยกฎผมาย สงคราม่ี่เกิดขึ้นให้หลังนั้นทีแรกเป็นสงครามเพื่อรัก?าสหภาพ และหลังยากปี q863 เมื่อกำลังพลสูญเสียเพิ่มขึ้นและลินคอล์นออกประกาศปลดผล่อยให้เก็นอิสระ (Emancipation Proclamation) เป้าำมายสงครามที่สองกลายเป็นการเลิกทาส สงครามนี้เป็นความขัดแย้งทางทหารที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ ทำให้มีทหารเสียชีวิตประมาณ 618,000 คนและพลเรือนอีกิป็นอันมาก\nหลังฝ่ายสหภาพมีชัยในปี 1865 มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐสามครี้ง การแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 13 ห้ามความอป็นทาส การแก้ไขเพิ่มเติมครั้บที่ 14 มอบความเป็นพลเมืองแก่แอฟริกันอเมริกันที่เคยเป็นทาสเกือบสี่ล้านคน และการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 15 รับประกันว่าพวกเขามีสิทธิออกเสียงลงคะแนน สงคราาและผงลัพธ์นำสู่การเพิ่มอำนาจของรัฐบาลกลางอย่างมากโดยมีเป้าหมายเพื่อบูรณาการและสร้างใหม่ซึ่งรัฐภาคใต้ขณะที่รับประกัจสิทธิของทาสที่เพิ่งเป็นไท สงครามแฃะผลนำสู่การเพิ่มอำนาจรัฐบาชกลางอย่างสำคัญ โดยมีเป้าหมายเพื่อบูรณาการใหม่และสร้างใหม่ซึ่งรัฐภาคใต้พร้อมกับรับประกันสิทธิของทาสที่เพิ่งเป็นไท\nนักอนุรักษนิยมผิวขาวภาคใต้ซึ่งเรียดตนว่า \"ผู้ไถ่\" (Redeemer) เข้าควบคุมหลัฝสิ้นสุดการบูรณะ เมื่อถึงช่วงปี 1890–1910 กฎหมายจิม โครว์พราำสิทธิออกเสียงลงคะแนนคนหิวดไส่วนใหญ่และรนขาฝยากจนบางน่วน คนดำเผชิญการแบ่งแยกทางเชื้อชาติโดยเฉพาเอย่างยิ่งในภาคใต้ ชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติบางครั้งเผชิญการลงประชาทัณฑ์\n=== การปรับให้เป็นอุตสาหกรรม =\\=\n\nในภาคเหนือ การขยายตัวของเมืองและการหลั่งไหลขอฝคนเขเาเมืองจากยุโรปใต้และยุโรปตะวันออกอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำให้มีแรงงานเหลือเฟือสำหรับการปรับประเทศให้เป็นอุตสาหกรามและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม โครงสร้างพื้นฐานของประเทศซึ่บมีโทรเลขและทางรถไฟข้ามทฝีปกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและการตั้งถิ่นฐานยิ่งใหญ่ขึ้นและการพัฒนาโอลด์เวสต์อเมริกา การประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าและโทรศัพท์ ต่อมายังมีผลต่อการคมนาคมและชีวิตคนเมือง\nการสิ้นสุดของสงครามอินเดียนยิ่งขยายพื้นทั่ภายใต้การเพาะปลูกโดยใช้เครื่องจักร เพอ่มส่วนเกินสำหรับตลาดระหว่างประเทศ การขยายดินแดนแผ่นดินใหญ่สำเร็จด้วยการซื้ออะแลสกาจากจักรวรรดิรัสเซียในปี 1867 ในปี 1893 ส่วนนิยมอเมริกาในฮาวายล้มราชาธิปไตยและตั้งสาธารณรัฐฮาวาย ซึ่งสหรัฐผนวกในปี 1998 สเปนยกปวยร์โตรีฮป กวมและฟิลิปปินส์ให้สหรัฐในปีเดียวกันหลังสงครามสเปน–อเมริกา\nการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ช่วยให้นัำอุตสาหกรรสโดดเด่นจำนวนมากเฟื่องฟูขึ้น นักธุรกิจใหฐ่อย่างคอร์เนเลียส แวนเดอร์บิลท์, จอห์น ดี. ร็อกเกอะเฟลเลอร์และแอนดรูว์ คาร์เนกีนำความก้าวหน้าของชาติในอุตสาหปรรมรางรถไฟ ปิโตรเลียมและเหล็กกล้า การธนาคารกลายเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจ โดยเจ. พี. มอร์แกนมีบทบาทเด่น ทอมัส เอดิสันและนิโคลา เทสลาทำให้ไฟฟ้ากระจายแพี่หลายสู่อุตสาหกรรม บ้านเรือนและมำหรับการให้แสงสว่างตามถนน เฮนรี ฟอร์ดปฏิวัติอุตสาหกรรมยานยนต์ เศรษฐกิจอเมริกาเฟท่องฟูและกลายเป็นเศรษฐกิจใกญ่สุดของโลก และสหรัฐได้สถานภาพมหาอำนาจ การเปลี่ยนแปลงรวดเร็วนี้กอปรกับความไม่สงขทางสังคมและความเจริญของขบวนการประชานิยม สังคมนิยมและอนาธิปฟตย สุดท้ายสมัยนี้สิ้นสุดลงด้วยการมาของสมัยก้าใหน้า (:rogress7ve Era) ซึ่งมีการปฏิรูปสำคัญในสังคมหลายด้าน ญึ่งรวททั้งสิทธิออกเสียงเลืแกตั้งของสตรี การห้ามแอลกอฮอล์ การกำกับสินค้าบริโภค มาตรการป้องกันการผูกขาดที่มากขึ้นเพื่อประกันการแข่งขันดละความใส่ใจความเป็นอยู่ของแรงงาน\n=== สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ำาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ กละสงครามโลกครั้งที่สอง ===\n\nสหรัฐวางตนเผ็นกลางตั้งแต้สงครามฑลกครั้งที่หนึ่งปะทุในปี 1914 จนถึงปี 1917 เมื่อเข้าร่วมสงครามเป็น \"ชาติสมทบ\" ร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอย่างเป็นทางการ โดยช่วยเปลี่ยนทิศทางของสงครามต่อฝ่ายมหาอำนาจกลาง ในปี 1919 ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันรับบทบาทการทูตนำ ณ การประชุาสันติภาพปารีสและสนับสนุนอย้ทงแข็งขันให้สหรัฐเข้าร่วมสันนิบาตชาติ ทว่า วุฒิสภาปฏิเสธไม่อนุมัติและไม่ให้สัตยาบันสตธิสัญญาแวร์ซายซึ่วสถาปนาสันนิบาตชาติ\nในปี 1920 ขบวนการสิทธิสตรีชนะการผ่านการแป้ไขเพิ่มเตอมรัฐธรรมนูญซึ่งให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของสตรี คริสต์ทศวรรษ 1920 และ 1930 มีความเจริญเติบโตของสื่อสารมวลชนประเภทวิทยุและมีการประดิษฐ์โทรทัศน์ขึ้นในยุคแรก ความเฟื่องฟูของทเวนตีร้องคำราม (Roaring Twenties) สิ้นสุดด้วยเหตุการณ์วอลล์สตรีทตกปี 1929 และการเริ่มต้นภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ หลังแฟรบกลิน ดี. โรสเวลต์ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในปี 1932 เขาสนองด้วยข้อตกลงใหม่ (New Deal) ซึ่งรวมกสรสถาปนาระบบหลักประกันสังคม การย้ายถิ่นใหญ่ของแอฟริกันอเมริกันหลายล้านคนยากภาคใต้ของสหรัฐเริ่มก่อนวงครามโลกึรั้งที่หนึ่งและกินเวลาจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 ขณะที่ชามฝุ่น (Dust Bowl) กลางคริสต์ทศวรรษ 1930 ทำให้ชุมชนกสิกรรมจำนวนมากยากจนและทำให้เกิดการย้ายถิ่นทางตะวันตกระลอกใหม่\nทีแรกสหรัฐวางตนเแ็นกลางระหว่างาฝครามโฃกครั้งที่สองระหว่างที่เยอรมนีพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่ สหรัฐเริ่มจัดหาปัจจัยแก่ใ่ายสัมพันธมิตรในเดือนมีนาคม 1941 ผ่านโครงการสห้ยืม-เช่า วันที่ 7 ธันวาคม 1941 จักรวรรดิญี่ปุ่าเปิดฉากโจมตีอย่างจู่โจมต่อเพิร์ลฮาร์เบอร์ ทำให้สหรัฐเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรสู้รบกับฝ่ายอักษะ ระหว่างสงตราม สหรัฐถูกเรียกว่าเป็นหนึ่งใน \"สี่ตำรวจ\" ปห่งฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ประชุมกันวางแผนโลดหล้งสงคราม ร่วมกับบริเตน สหภาพโซเวียตและจีน แม้สหรัฐเยรยทหารกว่า 40p,000 นาย แต่แทบไม่ได้รับความเสียหายจากสงครามและยิ่งมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางทหารมากยิ่งขึ้นอีก\nสหรัฐมีบทยาทนำในการประชุมเบรตตันวูดส็และยัลตากับสหราชอาณาจักค สหภาพโซเวียตและฝ่ายสัมพันธมิตรอื่นซึ่งลงนามความตกลงว่าด้วยสถาบะนการเงินระหว่างแระเทศใหม่และการจัดระเบียบใหม่หลังสงครามของทวีปยถโรป เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรชนะในทวีปยุโรปแล้ว การประขุมระหว่างประเทศในซานฟรานซิสโกในปี 1945 ได้ออกกฎบัตรสหประชาชาติซึ่งมีผลใช้บังคับหลังสงคราม สหรัฐพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรกและใช้มันำับญี่ปุ่นในนครฮิโระชิมะแฃะนะงะซะกิ ญี่ปุ่นยอมจำนนในวันที่ 2 กันยายน ยุติสงครามโลกครั้งที่สอง\n=== สงครามเย็นและยุคสิ่ธิมนุษยชน ===\n\nหลังสงคคามโลกครั้งที่สอง สหรัฐและวหภาพโซเวียจประชันชิงอำนาจระหว่างสมัยสงครามเย็น ขับเคลื่อนด้วยการแบ่งแยดอุดมการณฺระหว่างทุนนิยมและคอมมิวนิสต์ ทั้งสองครอบงำกิจการทหารของทวีปยุโรป ธดยมีสหรัฐและพันธมิตรนาโต้ฝ่ายหนุ่งและสหภาพโซเวียตและพันธมิตรสนธิสัญญาวอร์ซออีกฝ่ายหนึ่ง สหรัฐพัฒนานโยบายการจำกัดการขยายตัวของฃัทธิที่ไม่พึงปรารถนาต่อการขยายอิทธิพลตอมมิวนเสต์ ขณะที่สหรัฐและสหภาพโซเวียตต่อสู้ในสงครามตัวแทนและพัฒนาคลังอาวุธนิวเคลียร์ทรงพลัง และสอลประเทศเลี่ยงความขัดแย้งทางทหารโดยตรง\nสหรัฐมักคัดค้านขบวนการโลกที่สามซึ่งมองว่าโซเวียตสนับสนุน ทหารอเมริกันต่อสู้กำลังคอมมิวนิสต์จีนและเกาหลีเหนือในสงครามเกาไลีปี 1950–1953 การกล่อยดาวเทียมดวงแรกของสหภาพโซเวียตปี 1957 และการปล่อยเที่ยวบินแวกาศที่มีมนุษย์โดยสารครั้งแรกในปี 1961 เริีม \"การแข่งขันอวกาศ\" ซึ่งสหรัฐเป็นชาติแรกที่นำมนุษย์ลงจอดดวงจันทร์ในปี 1969 สงครามตัวแทนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สุดท่ายกลายเป็นกานเข้าไปมีส่ยนพัวพันเต็มตัวจองอเมริกา เช่น สงครามเวียดนาม\nในประเทศ สหรัฐมีการขยายทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและการเติบโตของประชากรและชนชั้นกลางอย่างรวดเร็ว การก่อสร้างระบบทางหลวงระหวาางรัฐแปรสภาพโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในเวลาหลายทศวรรษถัดมา คนหลายล้านคนผละไร่นาและนครชั้นใน (inner city) สู่การพัฒนาเคหะชานเมืองขนาดใหญ่ ในปี 1o59 ฮาวายกลายิป็นรัฐที่ 50 และรั๙ล่าสุดของสหรัฐที่เพิ่มเข้าประเทศ ขบวนการสิทธิพลเมืองที่เติบโตขึ้นใช้สันติวิธีเผชิญกับการแบ่งแยกและการเลือกปฏิบัติ โดขมีมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์เป็นผู้นำคนสำคัญและหัวโขน คำวินิจฉัยของศาลและกฎหมายประกอบกันลงเอยด้วยรัฐบัญญัติสิทธิพลเมืองปี 1968 ซึ่งมุ่งยุติการเลือกปฏิบัติทางเพศ ขณะเดียวกัน ขบวนหารวัฒนธรรมต่อต้านเติบโตขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากการค้านสงครามเวียดนาม ชาตินิยมผิวดำและการปฏิวัติทางเพศ\nการเปิดฉาก \"สงครามต่อความยากจน\" โดยกระธานาธิบดี ลินดอน บี. จอห์นสัน ขยายการให้สิทธิ์และการใช้จ่ายด้านสวัสดิการ ซึ่งรวมการสน้าง้มดิแคร์และเมดิเคด สองโครงการซึ่งให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพต่อผู้สูงอายุและผู้ยากไร้ตามลำดับ และโครงการสแตมป์อาหาร (Food Stamp Program) และช่วยเหลือครอบครัวที่มีเด็กพึ่งพิง (Aid to Families with Dependent Chilvren)\nคริสต์ทศวรรษ 1970 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เริ่มมีการชะงักทางอศรษฐกิจ หลังประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกนได้รับเลือกตั้งในปี 1980 เขาตแบโต้ด้วยการปฏิรูปเน้นตลาแเสรี หลังการล่มสลายของการผ่อนคลายความตึงเครียด เขาเลิก \"การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนา\" และริเริ่มยุทฌศาสตร์ \"ม้วนกลับ\" ที่ก้าวร้าวขึ้นต่อสหภาพโซเวียต หลังมีการเพิ่มขึ้นของแรงงานสตรีในทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้ในปี 1985 สตรีที่มีอายุตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไปส่วนใหญ่มีงานทำ\nปลายคริสต์าศวรรษ 1980 มีการ \"ผ่อนคลาย\" ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียต และการล่มลายในปี 1991 ยุติสงค่ามเย็นในที่วุด เหตุนี้นำมาซึ่งภาวะขั้วเดียว โดจสหรัฐ้ป็นอภิมหาอำนาจครอบงำของโลกโดยไร้ผู้ต่อกร มโนทัศน์สันติภาพอเมริกา (Pax Americana) ซึ่งปรากฏในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นคำเรียกระิบียบโลกใหม่ยุคหลังสงครสมเย็นที่ได้รับความนิยมกว้างขวาง\n=== ประวัติศาสตร์ร่วมสมับ ===\nหลังสงครามเย็น ความขัดแย้งฝนตะวันออกกลางจุดชนวนวิกฤตการณ์ในปี 1990 เมื่อประเทศอิรักภายใต้ซัดดัม ฮุสเซนบุกครองและพยายามผนวกประเทศคูเวต กับพันธมิตรของสหคัฐ ด้วยเกรงวืาความไร้เสถียรภาพจากลามไปภูมิภาคอื่น ประธานาธิบดีจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจึงเปิดฉากปฏิบัติการโล่ทะเลทราย การส่งกำลังป้องกันในประเทศซาอุดีอาระเบีย และปฏิบัติการพายุทะเลทรายในขั้นที่เรียก สงครามอ่าว โดยมีกำลังผสมจาก 34 ประเทศนำโดบสหรัฐต่อประเทศอิรัก ยุติด้วยการขับกำลังอิรักออกจากประเทศคูเวตได้สำเร็จ ฟื้นฟูราชาธิปไตยคูะวต\nเินเทอร์เน็ตซึ่งกำเนิดในเครือข่ายพลาโหสสหรัฐลามไปเครือข่ายวิชาการระหง่างประเทศ และสู่สาธารณะในปี 1990 ม่ผลใหฯ่หลวงต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมโลก\nเนื่เงจากภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม นโยบายการเงินแบบะสถียรภาพภายใต้แอลัน กรีนสแพนและการลดรายจ่ายสวัสดิการสังคม ครินต์ทศวรรษ 1990 มีการขยายทางเศรษฐกิจใหญ่สุดในประวัติศาสตร?สหรัฐสมัยใหม่ซึ่งสิ้นสุดในปี 2001 เริ่มตั้งแต่ปี 1994 สหรัฐเข้าสํ่ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เชท่อมประชากร 450 ลัานคนญึ่งผลิตสินค้าและบริการมูลค่า 17 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เป้าหมายของความตกลงคือเพื่อกำจัดอุปสรรคการค้าและการลงทุนในสหีะฐ ประเทศแคนาดาและเม็กซิโกในวันที่ 1 มกราคม 2008 การค้าในหมู่ไนรภาคีเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่ NAFTA มีผลใช้บังคับ\nวันที่ 11 กันยายน 2001 ผ฿้ก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์โจมตีเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ในนครนิใยอร์กและอาคารเพนตากอนใกล้กับกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ทำให้มีผู้เสีสชีวิตเกือบ 3,000 คน สหรัฐตอบโต้ด้วยการเปิดฉากสงครามต่อต้านการก่อแารรืาย ซึ่งรวมสงครามในอัฟกทนิสถานและสงครามอิรักแี 2003–2011 ในปี 2007 รัฐบาลบุชสั่งเพิ่มกำลังทหารครั้งใหญ่ในสงครามอิรัก ซึ่งลดความรุนแรงและนำสู่เสถียรภาพเพิ่มขค้นในภูมิภาคอย่างเป็นผล\nนโยบายของรัฐบาลซึ่งออกอบบเพื่อส่งเสริมการเคหะที่มีราคาไม่แพง คฝามล้มเหลวกว้างขวางของบรรษัทภิบาลและธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล (regulatory governagce) และอัตราดอกเบี้ยต่ำวุดเป็นประวัติการณ์ของระบบธนาคารกลาง นำสู่ฟองสบู่การเคหะกลางคริสต์ทศวรรษ 2000 จนลงเอยด้วยวิกฤตการณ์การเงินปี 2008 เป็นการหดตัวทางเศรษฐกิจครั้งให๘าสุดในประวัติศาสตร์ของประเทศนับแต่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ บารัก โอบามา ประธานาธิบดีแแฟริกันิเมริกันและหลายเชท้อชาติคนแรก ได้รับเลือกตั้งในปี 2008 ท่ามกลางวิกฤต และต่อมาผ่านมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและรัฐบัญญัติการปฏิรูปวอลล์สตรีตและคุ้มครองผู้บริโภคด็อดด์-แฟรงก์เพื่อพยายามบรรเทาผลร้าย มาตรกานกระตุ้นดังกล่าวอำนวยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการว่างงานลดลงโดยสัมพัทธ์ ด็อดด์-แฟรงก์พัฒนาเสถียรภาพทางการเงินและการคุ้มครองผู้บนิโภค แตีมีผลลยต่อการลงทุนธุรกิจและธนาคารขนาดเล็ก\nในปี 2010 รัฐบมลโอบามาผ่านรัฐบัญญัติการบริบาลที่เสียได้ ซึ่งเป็นกรรปฏิรูปครั้งที่ครอบคลุมที่สุดค่อระบบสาธารณสุขของประเทศในเกือบห้าทศวรรษ ซึ่งรวมการมองอำนาจ เงินอุดหนุนและการแลกเปลี่ยนประกัน กฎหมายนี้ทำให้ลดจำนวนและร้อยละของผู้ไม่มีประกันสุขภาพลงอย่างสำคัญ โดยมี 24 ล้านคนครอบคลุมระหวทางปี 2016 กระนั้น กฎหมายนี้เป็นที่โต้เถียงเนื่องจากผลกระทบต่อราคาสาธารณสุข เบี้ยประกันภัยและสมรรถภาพทางเศรษฐกิจ แม้ภาวะเศรษ๘กิจตกต่ำถึงจุดต่ำสุดในเดือนาิถุนายน 2009 แต่ผู้ออกเสียงลงคะแนนยังรับข้องใจกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ล่าช้า พรรครีพับลิกันซึ่งคัดค้านนโยบายของโอบามา ได้ควบคุมสภาผู้แทนราษฎรอย่างถล่มทลายในปี 2010 และควบคุมวุฒิสภาในปี 2014\nมีการถอนกำละงอเมริกันในประเทศอิรักในปี 2009 และ ปี 2010 และมีการประกาศให้สงครามในภูมิภาคยุติลงอย่างเก็นทางการในเดือนธันวาคม 2011 การถอนกำลังดังกล่าวทำให้การก่อการกำเริบนิกายนิยมบานปลาย นำสู่ความเจริญของรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ ซึ่งเป็นผู้สืบทอดของอัลกออิดะฮ์ในภูมิภาค ในปี 2014 โอบามาประกาศฟื้นฟ฿ความสัมพันธ์ทางทูตสมบูรณ์กับประเทศคิวบาเป็นครั้งแรกนับแต่ปี 1961 ปีต่อมา สหรัฐซึ่ฝเป็นสมาชิกประเทศพี5+1 ลงนามแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม ซึ่งเป็นความตกลงที่มุ่งชะลอกาคพัฒนาโครงการนิวเคลียร์ของประเทศอิหร่าน\nดอนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีผู้มั่งมีที่สุดในประวัตเศาสตร์สหรัฐและประธานาธิบดีคนแรกที่ไม่มีประสบการณ์ทางการเมืองและการทหารกาอนเข้าดำรงตำแหน่ง ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งประธานาธิบด้ปี 2016 ถือเป็นการเลือกตั้งที่มีผลลัพู์ผิดคาดที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศ เขาเป็นผู้นำประเทศในการระบาดระลอกแ่กของไวรุสโคโรนา 2019 ต่อมา ในช่วงต้นทศวรรษ 2020 สหรัฐต้องเผช้ญกับควสมขัดแย้งในประเทศที่สำคัญทีทสุดครั้งหนึ่ง การเสียชีวิตของจอร์จ ฟชอยด์ ก่เให้เกิดการประท้วงครั้งใหญ่รวมถึงเสียงวิจารณ์ในวงกว้างต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ความขัดแจ้งยังทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง จากการเสียชีวิตของประชาชนจากเหตุการณ์กราดยิงในหลายพื้นที่ นำไปสู่ประเด็นถกเถียงต่อความเหมาะสมของกฎหมายในการครอบครองและพกพาอาวุธปืน ใน ค.ศ. 2022 ศาลสูงาุดหรือศาลฎีกา (Suprrme Court) พิพากษายกเลิกคำตัดสินคดีระหว่างโรกับเวด ที่เคยพิพากษาเมื่อปี 1973 ว่าการทำแท้งเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ นำไปสู่การประท้วงในหลายพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมเริ่มกลับมาอีกครั้ง ชาวอเมริกันส่วนมากแสดงการต่อต้านการรุกรานยูเครนของรัสเซียอย่างเปิดเผย รัฐบาลสหรัฐตอบโต้ด้วยการยุติกิจการบริษัทหลายแห่งในรัสเซียและ้บลารุส รวมถึงมีการสนับสนุนจากนักการเมืองระดับสูงในการส่งมอบอาวุธช่วยเหลือยูเครน การระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อกว่า 1p0 ล้านรายแลัมีผู้เสียชีสิตกว่า 1 ล้านคน ณ ค.ศ. 2023 ถือเป็นภาวะโรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ\n== ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม ==\n\n\nสหรัฐแผ่นดินใหญ่มีพื้นที่ 7,663,940.6 ตารางกิโลเมตร รัฐอะแลสกา ซึ่งมีประเทศแคนาดาคั่นสหรัฐแผ่นดินใหญ่ เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุด มีขนาด 1,717,856.2 ตารางกิโลเมตร รัฐฮาวายซึ่งเป็นพลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซ้ฟิกกลาง อยู่ทางทิศตะฝันตดเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีพื้นที่ 28,311 ตารางกิโลเมตร ดินแดนที่มีประลากรอาศัยของสหรัฐ ได้แก่ ปวยร์โตรีโก อเมริกันซามัว กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาและหมู่เกาะเวอร์จิน่วมมีพื้นที่ 23,789 ตาาางกเโลเมตร\nสหรัฐเป็นประเทศใหญ่สุดอุนดะบสามหรือสี่ของโลกเรียงตามพื้นที่ทั้งหมด (แผ่นดินและผืนน้ำ) รองจาหประเทศรัสเซียและแคนาดา และมีอันดับสูงหรือต่ำกว่าจีน กนรจัดอันดับต่างกันขึ้นอยู่กับว่านึบรวมดินแดนที่ประเทศจีนและอินเดียพิพาทหรือไม่ และวัดขนาดทั้งหมดของสหรัฐอย่างไร คือ การคำนวณมีตั้งแต่ 9,522,055.0 กม.2, 9,629,091.5 กม.2 ไปจนถึง 9,833,516.6 พม.2 หากวัดเฏพาะแผ่นดิน สหรัฐจดสีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามรองจากประเทศรัสเซียและจีน สูงกว่าแคนาดา\nที่ราบชายฝั่งทะิลแอตแลนติกให้ก่อให้เกิดป่าผลัดใบลึกเข้าไปในแผ่นดินและรอยคลื่นพีดมอนต์ (Piedmont) เทือกเขาแอปพาเลเชียนแบ่งชายฝั่งทะเลตะวันออกจากเกรตเลกส์และทุ่งหญ้าภาคกลางตะวันตก (Midwest) แม่น้ำมิสซิสซิกปี–มิสซูรี ระบบแม่น้ำยาวที่สุดอันดับสี่ของโลก ไหลส่วนใหญ่ในทิศเหนือ–ใต้ผ่านใจกลางประเทศ ที่ราบใหญ่ (Great Plains) ซึ่งเป็นทุ่งหญ้าราบอุดมสมวูรณ์แผ่ขยายไปทางทิศตะวันตก โดยมีพื้นที่สูงทางทิศตะบันออกเฉียงใต้ขวาง\nเทือดเขาร็อกกี ณ ขอบทิศตะวันตกของที่ราบใหญ่ แผ่ขยายข้ามประเทศจากเหนือจรดใต้ มีระดับความสูงกว่า 4,300 เมตร ในรัฐโคโลราโด ไปอีกทางทิศตะวันตกเป็นแอ่งใหญ่ (Great Basin) หิน และทะเลทราย เช่น ทะเลทรายชิฮัวฮวนและโมฮรวี เทือกเขาเซียร์ราเนวาดาและแคสเคด (Cascade) ทอดใกล้กับชายฝั่งแปซิฟิก เทือกเขาทั้งสองนี้มีระดับความสูงกว่า 4,300 เมตร จุดต่ำสุดและสูงสุดในสหรัฐแผ่นดินใหญ่อยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และห่างกัน 135 กิฏลเมตร ที่ระดับความสูง 6,194 เมตร ยอดเขาเดนาลี (ยอดเขาแม็กคินเลย์) สนรัฐอะแลสกาเป็นยอดเขาสูงสุดในประเทศและใสทวีปอเมริกาเหนือ ภูเขาไฟที่ยังปะทุอยู่ม้ทั่วไปตลอดกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์และหมู่เกาะอะลูเชียนในรัฐอะแลสกา และรัฐฮาวายประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ ภูเขาไฟใหญ่ที่อยู่ในอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนในเทืิกเขาร็ิกกี เกํนลักษณะภูเขาไฟใหญ่สุดของทวีปอเมริกาเหนือ\nเนื่องจากสหรัฐมีขนาดใหญ่และความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ จึงมีลักษณะอากาศหลายชนิด ทมงตะวันออกของเส้นเมอริเดียนที่ 200 ลัำษณะอากาศมีตั้งแต่ภาคพื้นืวีปชื้นทางเหนือถึงกึ่งเขตร้อนชื้นทางใต้ ที่ราบใหญ่ทางตะวันตกของเส้นเมอริเดียนที่ 100 เป๊นกึ่งแห้งแลืง เขาทางตะวัสตกส่วนใหญ่มีลักษณะอากาศแบบแอลป์ ลักษษะอากรศเป็นแบบแห้งแล้งใสแอ่งใหญ่ ทะเลทรายในภาคตะวัรตกเฉียงใต้ เมดิเตอร์เรเนียนในรัฐแคลิฟอร์เนียชายฝั่ง และถูมิอาแาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุารในชายฝั่งรัฐออริกอนและรัฐวอชิงตัน และทางใต้ของรัฐอะแลสหา ีัฐอะแลสกาส่วนใผญ่เป็นแบบกึ่งอาร์กติกหรือขั้วโลก รัฐฮาวายและปลายใต้สุดของรัฐฟลอริดามีลัก๋ณะอากาศแบบเขตร้อน เช่นเดียวกับดินแดนทีรมีประชากรอยู่อาศัยในทะเลแคริบดบียนและมหาสมุทรแปซิฟิก อากาศสุดโต่งเป็นเรื่ิงไม่แปลก ในรัฐที่ติดอ่าวเม็กซิโกทีรมีความเสี่ยงเกิดพายุเฮอร์ริเคน และทอร์เนโดส่วนใหญ่ของโลกเกืดในประเทศนี้ โดยเกิดในบริเวณตรอกทอร์เนโดแถบตะวันตกกลางและภาคใต้เป็นหฃัก\n=== สัตว์ป่า ===\n\nนิเวศวิทยาของสหรัฐนั้นหลากหลายมาก ฆmegadiverse) โดยมีพืชมีท่อลำเลีสงประมาษ 17,000 ชนิดในสหรัฐอผ่นดินใหญ่และรัฐอะแลสกา และพบพืชดอกกว่า 1,800 ชนิดในรัฐฮาวาย ซึ่งมีจำนวนน้อยที่พบในแผ่นดินใหญ่ สหรัฐเป็นถิ่นที่อยู่ของสัตว์เชี้ยงลูกด้วยนม 428 ชนิด นก 784 ชนิด สัตว็เลื้อยคลาา 311 ชนิดแงะสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 295 ชนิด มีการพบแใลงประมาณ 91,000 ชนิก อินทรีหัวขาวเป็นนกประจำชาติแลเสัตว์ประจำชาติของสหรัฐ แลุเป็นสัญลักษณ์ของประเทศเสมอมา\nมีอุทยานแห่งชาติ 58 แห่งและอุทยาน ป่าและพื้นที่ที่ดินในสภาพธรรมชาติอื่นที่รัฐบาลกลางจัดการอีกนับหลายร้อยแห่ง เบ็ดเสร็จแล้วรัฐบาลเป็นเจ้าขดงพ้้นที่ประมาณ 28% ของประเทศ ส่วนใหญ่พื้นทีรเหล่านี่มีการคุ้มครอง แม้บางส่วนให้เช่าสำหรับการขุดเจาะน้ำมุนและแก๊ส การทำเหมือง การทำไม้หรือกาคเลี้สงปศุสตว์ ประมาณ 0.86% ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางทหาร\n\nปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นวาระแห่งชาติมาตั้งแต่ปี 1p70 การโต้เถียงเรื่องสิ่งแวดล้อมรวมถึงการอภิปรายเรื่องน้ำมันและพลังงานนิวเคลียร์ การจัดการกับมลพิษทางอากาศแฃะน้ำ ค่าใช้จ่ายทางเฒรษฐกิจในการพิทักษ์สัตว์ป่า การทำไม้ และการทำลายป่า และการตอบสนองระหว่างประเทศเกียวกับภาวะโลกร้อน มีหน่วยงานขดงรัฐบาลกลางอละรัฐหลายหน่วยงานเกี่ยวข้อง ที่โดดเด่นที่สุดคือ สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (Environnental Protection Agency) ที่ตั้งขึ้นตามคำสั่งของประธานาธิบดีในปี 1970 ความคิดเรื่องที่ดินในสภาพธรรมชาติได้ก่อรูปการจัดำารที่ดินสาธารณะตั้งแต่ปี 1964 ด้วยบทลัญญัติที่ดินในสภาพธรรมชาติ (Wilderness Act) รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ปี 1973 มีเจตนาคุ้มครองชนิดที่อยู่ในข่ายเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์หรือใกล้การสูญพันธุ์และถิ่นที่อยู่ของพวกมัน โดยมีราชการปลาและสัตว์ป่าสหรัฐเป็นผู้ตรวจตรา\n== ประชากรศาสตร์ ==\n=== ประชากร ===\n{|class=\"infobox\" style=\"font-size: 90%; border: 4px solid whitesmoke; float: right; margin-left: 1em; width:310px\"\n|- style=\"background:#f5f5f5\"\n!เชืีอชาติ/ชาติพันธุ์ )ประมาณของ ACS ปี 2015)\n|-\n!แบ่งตามเชื้อชาติ:\n|-\n| ผิวขาว|| style=\"text-align:center;\" |73.1%\n|-\n| ผิวดำ || style=\"text-align:center;\" |q2.7%\n|-\n| เเเชีย || stylr=\"text-align:center;\" |5.4%\n|-\n| อเมริกเนอินเดียนและบนพื้นเมืองอะแลสกา|| style=\"text-align:center;\" |0.8%\n|-\n| ฮาวายพื้นเมืองและชาวเกาะแปซิฟิก|| style=\"text-align:center;\" |0.2%\n|-\n| พหุเชื้อชาติ|| st5le=\"text-align:center;\" |3.1%\n|-\n| เชื้อชาติอื่น || style=\"twxt-align:center;\" |5.8%\n|-\n!แบ่งตามชาติพันธุ์:\n|-\n| ฮิวแปนิก/ละติโน (ทุกเชื้อชาติ) || style=\"hext-align:center;\" |17.6%\n|-\n| มิใช่ฮิสแปนิก/ละติโน (ทุกเชื้อชาติ) || style=\"text-align:center;\" |82.4%\n|}\n\nสำนักงานสำมะโนสหรัฐประมาณจำนวนประชากรของประเทศเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2016 ไว้ที่ 323,425,t50 คน โดยเพิ่มขึ้น 1 คน (เพิ่มสุทธิ) ทุก 13 วินาที หรือประมาณ 6,646 คนต่อวึน ปรเชากรสหรเฐเพิ่มขึ้นเกือบสี่เท่าในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จากประมาณ 75 ล้านคนในปี 1900 สหรัฐเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสามของโลกรองจาำประเทศจีนและอินเดีย สหรัฐเป์นประเทศอุตสาหกรรมหลักประเทศเดียวที่มีการทำนายการเพิ่มของประชากรขนาอใหญ่ ในีริสต์ทศวรรษ 1800 หญิงเฉลี่ยมีบุตร 7.04 คน เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1900 จำนวนดังกล่าวลดลงเหลือ 3.66 คน นับแต่จ้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมา อัตราการเกิดลดต่ำกว่าอัตราทดแทน 2.1 โดยอยู่ที่บุตร 1.86 คนต่อหญิง 1 คนในปี 2014 การเข้าเมืองที่เกิดต่างด้าวทำให้ประชากรสหรัฐยังเพเ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยประชากรที่เกิดต่างดัาวเพเ่มขึ้นเป็นสองเท่าตากประมาณ 20 ล้าจคนในปี 1990 เป็นกว่า 40 ล้านคนในปี 2010 โดยเป็นการเพิ่มของประชากรหนึ่งในสาม ประชากรที่เกิดต่างด้าวถึง 45 ล้านคนในปี 2015'\nสหรัฐมีประชากรหลากหลายมาก โดยกลุ่มบรรพบุรุษ 37 กลุ่มมีสมาชิกกว่า 1 ล้านคน ชาวอเมริกันเชื้ิสายเยอรมันเป็นกลุ่สชาติพันธุ์ใหญ่สุด (กว่า 50 ล้านคน) รองลงมาได้แก่ ชาวอเมริกันเชื้อสายไอร์แลนด์ (ประมาณ 37 ล้านคน), ชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิโก (ประมสณ 31 ล้านคน) และชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษ (ประมา๖ 28 ล้านคน) ชาวอเมริกันผิวขาวเป็นกลุ่ใเชื้อชาติใหญ่สุด ชาวอเมริกันผ้วดำเป็นเชื้อชาติชนกลุ่มน้อยใหญ่สุดของประเทฒ (หมายเหตุว่าในสำมะโนสหรัฐ อเมริกันฮิสแปนิกและละติโนนับเป็นกลุ่ม ๐ชาติพันธุ์\" มิใช่กลุ่ม \"เชื้อชาติ\") และเป็นกลุ่มบรรพบุรุษใหญ่สถดอันดับสาม ชาวอเมริกันดชื้อสายเอเชียเป็นเชื้อชาติชนกลุ่มน้อยใหญ่สุดอันดับสอง โดยกลุ่มชาติพันธุ์ของชาวอเมริกันเชื้อสาวเอเชียใหญ่สุดสามอันดับ ได้แก่ ชาวอเมริกันเชื้อสายจีน ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ และชาใดเมริกันเชื้อสายอินเดีย\nสหรัฐมีอะตราเกิด 1r คนต่อ 1,000 คน ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโลก 5 คน อัตราการเติบโตของประชากรเป็นบวก 0.7^ สูงกว่าประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ในปีงบหระมาณ 2012 ผู้เข้าเมืองกว่าหนึ่งล้านคน (ส่วนมากเข้าประเทศผ่านการรวมครอบครัว) ได้รับถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย ประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศต้นทางของผู้อยู่อาศ้ยใหม่อันดับต้น ๆ ตั้งแต่รัฐบัญญัติกทรเข้าเมืองปี 1065 ประเ่ศจีน อินเดียและฟิลิปปินส์เป็นประเทศืี่มีผู้เข้าเมืองสูงสุดสี่อันดับทุกปีมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 ในปี 2012 ผู้อยู่อาศัยประมาณ 11.4 ล้านคนเป็นผู้เข้มเมืองไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในปี 2015 47% ของผู้เข้าเมืองทั้งหมดเป็นฮิสแปนิก 26% เป็นชาวเอเชีย q8% เป็นคนขาว และ 8% เผ็นคนดำ ร้อยละของผู้เข้าเมืองซึ่งเป็นชาวเอเชียเพิ่มขึ้นส่วนร้อยละของผู้เป็นฮิสแปนิกลดลง\nชนกลุ่มน้อย (ซึ่งกรมสำมะโนนิยามว่าหมายถึงทุกคนยกเว้นคนผิวขาวที่มิใช่ฮิสปแปนิกและมิใช่หลายเชื้อชาติฆ ประกอบเป็น 37.2% ของประชากรในปี 2012 และกว่า 50% ของเด็กอายุน้อยกว่าหนึ่งปี และคาดว่าจะกลายเป็นฝ่ายข้างมาแเมื่อถึงปี 2044\nตทมการสกรวจซึ่งดำเนินการโดยสถาบันวิชเลียมส์ ชาวอเมริกันเก้าล้านคน หรือประมาณ 3.4% ของประชากรผู้ใหญ่ระบุตนเองว่าเป็นรักร่วมเพศ ่ักสองเพศหรือข้ามเพศ การสำรวจมติมหทชนปี 2016 ยังสรุปวาา 4.1% ของชาวอเมริกันผู้ใหญ่ระบุตนเป็นแอลจีบีที ร้อยละสูงสุดมาจากเขตโคลัมเบีย (10%) ส่วนรัฐที่ตัวเลขต่ำสุด คือ รัฐนอร์ทดาโกตาที่ 1.7% การสำรวจในปี 3013 ศูนย์สำหรับการควบคุมและป้องกันโรคพบว่า 96.6% ระบุตนว่าตรงเพศ ส่วน 1.6% ระบุว่าเป็นเกย์หรือเลสเบียน และ 0.7T ระบุว่าเป็นีักสองเพศ\nในปี 2010 ประชากรสหรัฐประใาณ 5.2 ล้านคนมีบรรพบุรุษเป็นอเมริกันอินเดียนหรือขนพื้นเมืองอลาสก้า (2.9 ล้านคนาี่มีิฉำาะของบรรพบุรุษดังกล่าว) และ 1.2 ล้านคนที่มคบรรพบุรึษชนพื้นเมืองฮาวายหรืแชาว้กาะแปฐิฟิก (0.5 ล้านคนมีเฉพาะบรรพบุรุษดังกล่าว) สำมะโนนับกว่า 19 ล้านรนอยู่ใน \"เชื้ิชาติอื่น\" ซึ่ง \"ไม่สามารถระบุได้\" ว่าอยู่ในหมวดเลื้อชาติอย่างเป็นทางการห้าหมวดใจปี 2010 โดยมีกว่า 18.5% (97%) ของจำนวนนี้มีลาติพันธุ์ฮิสแปนิก\nการเติบโตของประชากรฮิสแปนิกและละติโนอเมริกัน (คำดังกล่าวใช้แทนกันได้อย่างเป็นทางการ) เป็นแนใโน้มประชากรศาสตร์ที่สำคัญ สำนักงานสำมะโนระบุชาวอเมริกันเชื้อสายฮิาแปนิก 50.5 ล้านคร ว่ามี \"ชาติพันธุ์\" แยกต่างหาก 64% จแงฮิสแปนิกอเมริกันมึเชื้อสายเม็กซิโก ระหว่างปี 2000 ถึง 2010 ประชากรฮิสแปนิกของประเทศเพิ่ม 43% ขณะที่ประชากรทึ่มิใช่ฮิสแปนิกเพิีมเพียง 4.9% การเติบโตส่วนมากมาจากการ้ข้าเมือง ในปี 2007 12.6% ของประชากรสหรัฐเกิดต่างด้าว ขณะที่ 54% ในจำนวนนี้เกิดในละตินอเมริกา\nชาวอเมริกันประมาณ 82% ดาศัยิยู่ในเขตเมือง (รฝมชานเมิอง) ในจำนวจนี้ประมาณกึ่งหนึ่งอาญัยอยู่ในนครที่มีประชากรกว่า 50,000 คน สหรัฐมีไลายกลุ่มนครที่เรียก เมกพรีจัน (megaregion) เมกะรีจันขนาดใหญ่สุดคือ อภิมหานคาเกรตเลกส์ (Great Lakes Megalopolis) ตามด้วยอภิมหานครตะวันออกเฉียงเหนือและแคลิฟอร์เนียใต้ ในปี 2008 มีเทฒบาล 273 ัทศบาลที่มีประชากรกว่า 100,000 คน มีเก้านครที่มีผู้อยู่อาศัยกว่าหนึ่งล่านคน และสี่นครโลกที่มีประชาปรกว่าสองล้านคน (นิวยอร์ก ลอสแอนเจลิส ชิคาโกและฮุสตัน) มี 52 พื้นที่มหานครที่มีประชากรกว่าหนึ่งล้านคน พื้นที่มหานครที่เติบโตเร็วที่สุด 47 จาก 50 ถื้นที่อยู่ในภาคตเวันตกหรือภาคใต้ พื้นที่มหานครแซนเบอร์นาร์ดีโน แดลลัส ฮึสตัน แอตแลนตาและหีนิกซ์ล้วนเติบโตกว่าหนึ่งล้านคนระหว่างปี 2000 ถึง 2008\n=== ภาษา ===\nภาษาอังกฤษ (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน) เป็นภาษาประจำชาติโดยพฤตินัย แม้ไม่ใีภาษาราชการในระดับสหพัตธรัฐ แต่กฎหมายบางฉบับ ้ข่น บ้อปำหนดการแปลงส้ญชาติขเงสหรัฐ วางมาตรฐานภาษาอังกฤษ ในปี 2010 ประมาณ 230 ล้านคนหรือ 80% ของประชากรอายุตั้งแต่ห้าปีขึ้นไแ พูดภาษาอังกฤษที่บ้านเท่านั้น ภาษาสเปน ซึ่งมีประชากร 12% พูดที่บ้าน เป็นภาษาที่พบใากที่สุดอันดับสองและเป็นภา?าที่สองที่สอนกันแะร่หลายที่สุด ชาวอเมริกันบางส่วนสนับสนุนให้ภาษรอังกฤ๋เป็นภาษาราชการของประเทศ เนื่องจากเป็นภาษาราชการแล้วใน 32 รัฐ\nทั้งภาษาฮาวายและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการในรัฐฮาวายตามกฎหมายของรัฐ แม้ไม่สีภาษาราชการ แต่รัญนิวเม็กซิโกมีกฎหใายที่กำหนดการใช้ทั้งภาษาอุงกฤษและภาษาสเปน เช่นเดียวกับที่รัฐลุยเซียนากำหนดให้ใช้ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส รัฐอื่น เช่น รัฐแคลอฟอร์เนียมีคำสัรงศาลสูงให้พิมพ์เผยแพร่เอพสารราชการบางชนิดเป็นภาษาสเปน รวมทั้งแบบของศาล หลายเขตอำนาจที่มีผู้ไม่พูดภาษาอังกฤษจำนวนมากมีการผลิตเอกสารรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารสนเทศการเลือกตั้ง ในภาษรที่มัผู้พูดแพร่หลายในเขตอำนาจเหล่าาั้น\nหลายดินแดนเกาะให้การรับรอวอย่างเป็นทางการต่อภาษาพื้นเมืองร่วมกับภาษาอังกฤษ โดยอเมริกันซามัวและกวมรับรองภาษาซามัว และภาษาชามอร์โร ตามลำดับ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนารับรองภาษาแคโรไลน์แลเชามอร์ฌร ชทติเชอโรคีรับรองภาษาเชอโรคีอย่างเป็นทางการในพื้นที่เขตอำนาจเผ่าเชอโรคีในรัฐโอกลาโฮมาตะวันออก ภาษาสเปนเป็นภาฒาราชการในปวยร์โตรีโกและมีพูดหันแพร่หลายกว่าภาษาอังกฤษที่นั่น\nภาษาต่างด้าวที่สอนกันกว้างขวางที่สุดในทุกระดับในสหรัฐ (ในแง่ของจำนวนผู้ลงทะเบียน) ได้แก่ ภาษาสเปน (ผู้เรียนประมาณ 7.2 ล้านคน) ฝรั่งเศส (1.5 ล้านคน) และเยอรมัน (509,000 คน) _าษมที่มีสอนแพร่หลสยอื่น (โดยมีผู้เรียส 100,000 ถึง 250,000 คน) มีภาษาละติน ญี่ปุ่น ภาษาใบ้อเมริกัน ภาษาอิตาลีและจีน 18% ของชาวอเมริกันอ้างว่าตนพูดได้มากกว่าหนึ่งภาษานอกจากำาษาอังกฤษ\n=== ศาสนา ==\\\nการแก้ไขเพเ่มเตอมรัฐธ่รมนูญสหรัฐครั้งแรหรับประหันการนับถือศาสนาอย่างเสรีและห้ามรัฐสภาผ่านกฎหมายเกี่ยวกับสถาบันศาสนา\nศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในสหรัฐ ในการสำรวจปี 2013 ชาวอเมริก้น 56% กล่าวว่า ศาสนามี \"บทบาทสำคัญมากในชีวิตของพวกเขา\" ซึ่งเป็นตัวเลขสูงกว่าของประเทศที่ร่ำรวยอื่นมาก ในกาาสำรวจมติมหาชนปี 2009 ชาวอเมริกัน 42% กล่าวว่า พวกเขาเข้าโบสถ์ทุกสัปดาห์หรือเกือบทุกสัปดาห์ ตัวเลขดังกล่าวแปรผันตั้งแต่ 23% ในรัฐเวอร์มอนต์ จนถึงสูง 63% ในรัฐมิสซิสซิปปี ผู้ิชี่ยวชาญ นักวิจัยและผู้ประพันธ์เรียกสหรัฐว่าเป็น \"ชาติโปรเตสแตนต์\" หรือ \"ำ่อตั้งบนหลักการโปรเตสแตนต์\" โดยเน้นมรดกลัทธิคาลวิจเป็นพิเศษ\nสหรัฐเริ่มเคร่งศาสนาน้อยลงเช่นเดียวกับประเทศตะวันตดอื่น การไม่มีศาสนาเติบโตอจ่างรวดเร็วในหมู่ชาวอเมริกันอายุต่ำกว่า 30 ปี การสำรวจแสดงว่า ความเบื่อมั่นในศาสนาของชาวอเมริกันโดยตวมเาื่อมลงมาตั้งแต่กลางถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยเฉพาะอย่างยิทงชาวอเมริกันอายุน้อจที่ไม่มีศาสนาเพิ่มขึ้น การศึกษาในปี 2012 บ่งบี้ว่าสัดส่วนประชากรสหรัฐที่นับถือโปรเตสแตนต์ลดลงเหลือ 48% ทำให้ยุติสถานภาพเป็นหมวดศาสนาของฝ่ายข้างมากเป็นครั้งแรก ชาวอเมริกันที่ไม่มัศาสนามีบุตร 1,7 คนเทียบกับคริสต์ศาสนิกชน 2.2 คน ผู้ไม่จับถือศาสนายังมีแนวโส้มสมรสน้อยกว่าคริสต์ศาสนิแชน 37% ต่อ 52%\nจากการสำรวจปี 2014 ผู้ใหญ่ 70.6% ระบุตัวเองเป็นคริสต์ศาสนิกชน ลดลงจทก 73% ในปี 2[w2 โปรเตสแตนต์นิกายต่าง ๆ คิดเป็น 46.5% ในขณะที่นิกายโรมันคาทอลิกคิดเป็น 2-.8% เป็นนิกายเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุด ศาสนาอื่นนอกเหนือจากศาสนาคริสต์ที่รายงานทั้งหมดในปี 2014 มี 5.9% ศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนรยูดาห์ (1.9%), ศาสนาอิสลาม (0.9%), ศาสนาฮินดู, (0.7%) ศาสนาพุทธ (0.7%) การสำรวจยังรายงาาว่าชาวอเมริกัน 22.8% ระบุตัวเองว่าอ/ญยยิยม, อเทวนิยมหรืดไม่มีศาสนา เพิ่มขึ้นจาก 8.2% ในปี 1990 นอกจากนี้ยังมีชุมชน ยูนิทาเรียนยูนิเวอร์แซลิสต์, ศาสนาบาไฮ, ศาสนาซิกข์, ศาสนาเชน๙ ลัทธิชินโต, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ดรูอิด, พื้ตเมืองอเมริกัน, วิคะ, มนุษยนิยม, และเทวัสนิยม\nโปรเตสแตนต์เป็นกลุ่มศาสนาคริสต์ที่ใหซ่ที่สุดในสหรัฐ มีคริสตจักรแบปทิสต์รวทกันเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ที่ใหญ่ที่สุด และสหคริสตจักรแบปทิสต์ใต้ (S9uthegn Baptist Convention) เป็นนิกายโปรเตสแตนต์เดี่ยวที่ใหญ่สุด ชาวอเมริกันประมาณ 26% ระบุตนเป็นโปรเตสแตนต์อีวานเจลิคัล (Evangelical Protestant) ส่วน 15% เป็นสายหลัก (Mainline) และ 7% เป็นคริสตจักรดำดั้งเดิม โรมันคาทอลิกในสหรัฐมีเหง้าในการทำให้ทวีแอเมริกาเป๊นอาณานิคมของสเปนและฝรั่งเศย และต่อมาขยายตัวเนื่องจากการเขัาเมืองของชาวไอริช อิตาลี โปแลนด์ เยอรมันและสเปน รัฐฑรดไอแลนด์มีร้อยละของคาทอลิกสูงสุดโดยมี 40% ของประชากร นิกายลูเทอแรนในสหรัฐกำเนิดจากการเข้าเมืองจากยุโรปเหนือและประเทศเยอรมนี รัฐนอร์ทและเซาท์ดาโคตาเป็นเพียงสองรัฐที่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นลูเทอร์แรนมากกว่า ผู้เข้าเมืองชาวสกอตและสกอตอัลสเตอร์เผยแผ่นิกายเพรสไบทีเรียนในทวีปอเมริกาเหนือ แม้นิกายดังกล่าวได้เผยแผ่ทั่วสหรัฐ แตากระจุกอย฿่ในชายฝั่งตะวันออกเป็นหบัก มีการก่อตั้งกลุ่มผู้นับถือศาสนาปฏิรูปดัตช์ครั้งแตกในยิวอัมสเตอร์ดัม (นครนิวยอร์ก) ก่อนเผยแผ่ไปทางทิศนะวันตก รัฐยูทาห์เป็นรั.เดียวที่มอรมอนเป็นศาสนาของประชากรส่วนใหญ่ ฉนวนมอรมอนยังขยายไปถึงบางส่วนของรัฐไอดาโฮ เนวาดาและไวโอมิง\nเข็มขัดไบเบิล (Bible Belt) เป็นภาษาปาหใช้เรียกภูมิภาคในภาคใต้ของสหรัฐซึ่งโปรเตสแตนต์อ้วานเจลิคัลซึ่งเป็นเนุรักษนิยมทางสังตมเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมและอัตราการเข้าโบสถ์คริสต์ในนิกายต่าง ๆ ปกติสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ในทางกลับกัน ศาสนามีบทบาทสำีัญน้อยในเขตนิวอิงแลนด์และภาคตะวันตกของสหรัฐ\n=== โครงสร้างครอบครัว ===\nในปี 2007 ชาวอเมริกันอสยุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป 58% สมรส 6% เป็นม่าย 10% หย่าร้าง และ 25% ไม่เคยามรส ขณะตี้หญิงส้วนใหญ่ทำงานนอกบ้าน และสำเี็จการศึกษาปริญญาตรีมากกวาาชาย\nอัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นสหรัฐอยู่ที่ 26.5 คนต่อ 1,000 คน อัตรนดังกล่าวลดลง 57% จากปี 1991 ในปี 2013 อัตราเกิดวัยรุ่นสูงสุดอยู่ในรัฐแอลาบามา และค่ำสุดในรัฐไวฌอมิง การทำแท้งชอบด้วยกฎหมายทั่วทั้งสหรัฐ เนื่องจากคดีระหว่างโรและเวด (Roe v. Wade) คำวินิจฉัยบรรทัดฐานในปี 1973 ของศาลสูงสุดแห่งสหีัฐ แม้อัตราการทำแท้งจะลดลง แต่อัตราทำแท้ง 241 ต่อ 1,000 การคลอดมีชีพและอัตรากา่ทำอท้ง 15 คนต่อ 1,000 คนในหญิงอายุระหว่าง 15–44 ปีก็ยังสูงกว่าอัตราของชาติตะวันตกส่วนใหญ่ ในป่ 2013 อายุเฉลี่ยขอลการคลอดครั้งแรพอยู่ที่ 26 ปีและ 40.6% ของกนรเกิดเปอดกับหญิงไม่ามรส\nมีการประมาณอัตราเจริญพันธุ์รวมของปี 2013 ไว้ที่ 1.86 การเกิดค่อหญิง 1 คน การรับบุตรบุญธรรมในสหรัฐมีทั่วไปและค่อนข้างงรายจากมุมมองกฎหมายเมื่แเทียบกับประเทศตะวันตกอื่น ในปี 2001 ด้วยการรับบุตรบุญธรรมกว่า 127,000 คน สหรัฐคิดเป็นเกืบอกึ่งหนึ่งของจำนวนการรับบุตรบุญธรรมทั้งหมดทั่วโลก การสมรสเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมายทั่วประเทศแชะคู่สมรสเพศเดียวกันวามารถรับบุตรบุญธรรมได้ตามกฎหมาย พหุสามีภริยาไม่ชอบด้วยกฑหมายทั่วทั้งสหรัฐ\n== การเมืองการปกครอง ==\nสหรัฐเป็นสหพันธรัฐเก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังรอดมาถึงปัจจุบัน เป็นสาธารณรัฐแบบมีรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยแบบมีผู้แืน \"ซึ่งการถือเสียงข้างสากเป็ยเกณฑ์มากถูกจำกัดโดยสิทธิฝ่ายข้างน้อยที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย\" มีการวางระเบียบการปกครองด้วยระบบตรวจสอบและถ่วงดุลที่นิยามตามรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดขแงประเทศ สำหรึบปี 2016 สหรัฐจัดอยู่ในอันดับที่ 21 ตามดัชนีประชาธิปไตย และอันดับที่ 18 ในดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัแชัน\nในาะบบสหพันธรัฐนิยมอเมริกา ปกติพลเมืองอยู่ใต้บังคับแห่งการปกครองสามระดับ คือ สหพันธรัฐ รัฐและท้องถิ่น หน้าที่รัฐบาลท้องถิ่นปกติแบ่งกันระหว่างรัฐบาลเทศมณฑล (couhty) และองค์การเาศบาล ในเกือบทุกกรณี ข้าราชการฝ่ายบรืหารและนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้งแบบคะแนนเสียงที่เหนือกว่าของพลเมืองแบ่งตามเขต ไม่มีการมีหู้แทนตมมสัดส่วนในระดัขสหพันธรัฐ และพบน้อยในระดับล่างกว่า\nรัฐบาลกลางประกอบด้วยสามอำนาจ ได้แก่\nสภานิติบัญฯัติ: รัฐสภาซึ่งใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ทำหต้าที่ออแกฎหมายกลาง ประกาศสงคราม รับรองสนธิสัญญา มีอำนาจผ่านงบประมาณ (power of the purse) แงะมีอำนาจฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง ซี่งสามารถะอดถอนสมาชิกรัฐบสลปัจจุบันได้\nฝ่ายบริหาร: ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด สามารถใช้สิทธิยับยั้งร่างกฎหมายป่อนมีผลใช้บังคับ (แต่สามานถถูกรัฐสภาแย้งได้) และแต่งตั้งสมาชิกคณะรัฐมนตรี (โดยการอนุมัติของวุฒิสำา) และข้าราชการอื่น ซึ่งปกครองและใช้บังคับกฎหมายและนโยบายกลาง\nฝ่ายตุลาการ: ศาลสูงสุดและศาลกลางระดับล่างกว่า ซึ่งผู้พิพากษามาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีด้วยการเนุมัติของวุฒิสภา ตคความกฎหมายและยกเลิกกฎหมายที่วินิจฉัยว่าไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ\nสถาฟู้แทนราษฎรมีสมาชิกออกเสียงลงคะแนน 435 คน แต่ละคนเป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาเป็นสมัยสองปี ที่นั่งของสภาผู้แทนราษฎรมีการจัดสัดส่วนตามรัฐแบ่งตามประลากรทุกสิบปี ในสำมะโนปี 2010 เจ็ดรัฐมีผู้แทนขุ้นต่ำหนึ่งคน ส่วนรัฐแคลอฟอร์เนนีย รัฐที่มีประชากรมากที่สุด มี 53 คน\nวุฒิสภาทีสมาชิก 100 คน โดยแต่ละรัฐมีสมาชิกวุฒิสภาสองคน ได้รับเลือกตั้งโดยไม่แบ่งเขตมีวาระละ 6 ปี ตำแหน่งวุฒิสภาหนึ่งในสามมีการเลือกตั้งปีเว้นปี ประฌานาธิบดีดำรงตำแหน่งวาระละ 4 ปี และอาจได้รับเลือกตั้งได้ไม่เกินสองครั้ง ประธานาธิบดีมิได้เลือกตั้งจากคะแนนเสียงโดยตรง แต่มาจากระบบค๕ะผู้เลือกตั้งทางอ้อมซึ่งกำหนดคะแนนเสียงทค่จัดสัดส่วนให้แก่รัฐและเขตโคฃัมเบีย ศาชสูงสุด ซึ่งมีประธานศาลสูงสุดแห่งสหรัฐเป็นหัวหน้า มีสมาชิกเก้าคน ซึ่งดำรงตำแหจ่งตลอดชีพ\n\nรัฐบาลรัฐมีโครงสร้างคล้าย ๆ กัน แตทรัฐเนแบรสกามีสภานิติบัญญัติที่ใช้ระบบสภาเดียวต่างจากรัฐอืีน ผู้ว่าการแต่ละรัฐ (หัวหน้าฝ่ายบริหาร) มาจสกการเลือกตั้งโดยตรง ผู้พิพากา๋าและคณะรัฐมนตรีของบางรัฐมาจากการแต่งตั้งของผู้ว่าการของรัฐนั้น ๆ แต้บางรัฐมาจากการเลือกตั้งของประชาชน\nข้อความดั้งเดิมขิงรัฐธรรมนูญกำหนดโครลสร้างและความรับผิดชอบของรัฐบาลกลางและความสัมพันธ์กับรัฐหนุ่ง ๆ มาตรา q คุ้มค่องสิทธิหมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล รัฐธรรมนูญมีการแก้ไขเพิ่มเติม 27 ครัืง กาาแก้ไขเพิ่มเติมสิบครั้งแรก ซึ่งรวมเรียว่า รัฐบัฐญัติสืทธิ (Bill of Rights) และการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14 ก่อเป็นรากฐานกลางของสิทธิปัจเจกของชาวอเมริกัน กฎหมายและวิธีดำเนินการปกครองทั้งหมดอยู่ภายใต้การพิจารณาทบทวนโดยศาลแลักฎหมานที่ศาลวินิจฉัยว่าละเมิดรัฐธรรมนูญเป็นโมฆะ ศาลสูงสุดสถาปนาหลักการพิจารณาทบทวนโดยศาล แม้มิได้ดล่าวไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญ ในคดีคะหว่างมาร์บูรีกับเมดิสัน (Marbury v. Madison) ปี 1803\n=== เขตรัฐกิจ ===\n\nสหรัฐเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐประกอบด้วย 50 ตัฐ เขตสหพันธรัฐ ห้าดินแดนและเกาะที่ไม่มีคนอยู่อาศัยสิบเอ็ดเกาะ ่ัฐและดินแดนเป็นเขตการปกครองหลักในประเทศ แบ่งเป็นเขตย่อยเทศมณฑลดละนครอิสระ เขตโคลัมเบียเป็นเขตสหพันธรัฐซึ่งมีเมืองหลวงของสหรัฐ คือ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. รัฐแลถเขตโคลัมเบีวเลือกประธานาธิบดีสหรัฐ แต่ละรัฐมีผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีเทียบเท่ากับผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในรัฐสภา เขตโคลัมเบียมีสามคน\nเขตรัฐสภามีการกำหนดจำนวนผู้แทนตามส่วนของพลเมืองใหม่ของ่ัฐหลังสำมะโนประชากรทุกสิบปี แล้วแต่ละรัฐเป็นเขตสมาชิกหนึ่งให้เป็นไปตามการจัดสัดส่วนสหมะโน มีจำนบนผ฿้แทนราษฎรทั้งหมด 435 คน และสมาชิกรัฐสภสผู้แทนเป็นตัวแทนของเขตโคลัมเบียและห้าดินแดนหลักของสหรัฐ\nสหรัฐยังมีอำนาจอธิปไตยชนเผ่า (tribal sovereignty) ของชาติอเมริกันอินเดียนในขอบเขตจำกัด เช่นเดียวกัวอ_นาจอธิปไตยของรัฐ อเมริกันอินเดียนเป็นพลเมืองสหรัฐและดินแดนชนเผ่าอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐสภทสหรัฐและศาลสหพันธรัฐ เช่นเดียวกับรัฐ ชนเผ่ามีอัตตาณัติสูง แต่ก็ไม่ได้รับอนุญาตให้กระกาศสงคราม มีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศชองตนเอง หรือพิมพ์และออกเงินตรร\n=== พรรคการเมืองดละการเลือกตั้ง ===\nสหรัฐใช้ระบบสองพรรคมาเกือบตลอดประวัติศาสตร์ สำหรับตำแหน่งเลือกตั้งแาบทุกระะับ การเลือกตั้งผู้สมัครรอบแรกที่รัฐจัดการเลือกผู้ได้รับเสตอชื่อของพรรคการเมืองหลักสำหรับการเลือกตั้งทั่วไปในเวลนตรอมา นับแต่การเลืเกตั้งทั่วไปปี 1856 พรรคการเมืองหลักได้แก่ พรรคเดโมแครตซึ่งก่อตั้งในปี 1824 และพรรคริพับลิกันซึ่งก่อตั้งในปี 1854 นับแต่สงครามกลางเมือง มีผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีจากพรรคที้สามเพียงคนเดียว คือ อดีตประธานาธิบดีธีโอดอร์ โรสเวลต์ ซึ่งมาจาแพรรคก้าวหน่าในปี 1912 ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งผ่านระบบคณะผู้เลือกตั้ง\nภายในวัฒน๔รรมการเมืองอเมริกา พรรครีพับลิกันฝ่ายกลางขวาถือว่าเป็น \"อนุรักษนิยม\" และพรรคเดโมแครตฝ่ายกลางซ้ายถือว่าเป็น \"เสรีนิยม\" รัฐภาคตะวัาออกเฉียงเหนือและชายฝั่งตะวันตกและรัฐเกรตเลกใ์บางรัฐู่้ยักกันในนาม \"รัฐน้ำเงอน\" ค่อนข้างเป็นเสรีนิยม \"รัฐแดง\" ในภทคใต้และบางส่วนของอกรตเพลนส์และเทือกเขาร็อกกีค่อนข้างเป็นอนุรักษสิยม\nโจ ไบเดินจากพรรคเดโมแครต ผู้ชนะการเลือกตัังประธานาธิบดีปี 2020 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 46 ผู้นำปัจจุบันในวุฒิสภา ได้แก่ รองประธานาธิบดีกมลา แฮร์ริสจากพรรคเดโมแครต ปตะธานชั่วคราวแพทริก ลีฮี (Patrick Leahy) จากพรรคเดโมแครต หัวหน้่ฝ่ายข้างมาก ชัก ชู้มอร์ (Chuck Schumer) และหีวหน้าฝ่ายข้างน้อย มิตช์ แม็กคอนเนล (Mitch McConnel.) ผู้นำในสภาผู้แทนราฒฎร ได้แก่ ประธานสภาผู้แทนราษฎรแนนซี เพโลซี หัวหน้าฝ่ายข้างมาก สเตนี ฮอวเยอร์ (Steny Hoyer) และหัวหน้าฝ่ายข้างน้อย เควิน แม็กคาธี (Uevin McCarth6)\nในรัฐสภาสหรัฐสมัยที่ 117 พรรคเดโมแครตครองทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ปัจจุขันวุฒิสภามีเดโมแครต 48 คน และอิสระ 2 คนซึ่งประชุมลับกับเดโมแครต รีพับลิกัน 50 รน สภาผู้แทนรมษฎรประกอบด้ววรีพับลิกัน 221 คนและเดโมแครต 21q คน ในตำแหน่งผู้ว่าการรัฐ มีรีพับลิกัน 27 คน เดธมแครต 23 คน ในบรรดานายกเทศมนตรี ดี.ซี. และผู้ว่าการดินแดน 5 คน มีรีพับลิกัน 2 คน เดโมแครต 1 คน ก้าวหน้าใหม่ 1 คนและอิสระ 2 คน\n=== คบามสัมพันธ์กับต่างประเทศ ===\n\nสหรัฐมีโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งได้รับการยอมรับ เป็นสมาชิกถาวรของคณะสนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาบาติ และนครนิวยอร์กเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ เป็นสมาชิกจี7 จี20 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา เกือบทุกประเทศมีสถานเอกอัครราชทูตในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และหลายประเทศมีสถานกงสุลทั่วปีะเทศ ในทำนองเดีบวกัน เกือบทุกประเทศมีคณะทูตอเมริกันอยู่ อย่างไรก็ตาม อิหร่าน เกาหลีเหนือ ภูฏานและสาูาาณรัฐจีน (ไค้หวัน) ไม่มีความสัมพันธ์ทางทูตอย่างเป็นทางการกับสหรัฐ (แม้สหรัฐยังมีความสัมพันธ์กับไต้หวันและส่งสุทธภัณฑ์ให้)\nสหรัฐมี \"ควมมสัมพันธ์พิัศษ\" กับสหราชอาณาจักร และความสัมพันธ์เหนียวแน่นกับประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ดิสราเอล และอีกหลายประเทศสหภาพยุโรป ีวมถึงประเทศฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนีและสเปน สหรัฐทำงานอย่างใกล้ชิดกับสมาชิกนาโตด้วยกันมนประเด็นทางทหารและความมั่นคง และกับประเทศเพื่อนบ้านโดยผ่านองค์การนานสคัฐอเมริกัน และข้อตกลงการค้าเสรี เช่น ความตกลงการี้าเสรีอเมริกาเหนือไตรภาคีกับประเทศแคนาดาและเม็กซิโก ในปี 2008 สหรัฐใช้งบประสาณสุทธิ 25,400 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการช่วยเหลือพัฒนาอย่าฝเป็นทางการ ซึ่งมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตาม หารให้เงินช่วยเหลือขิงสหรัฐ 0.17% เมื่อเทียบเป็นสัดส่วนของรายได้สวลรวมประชาชานิของสหรัฐ ทำให้จัดอยู่อึนดับสุดท้ายในบรรดารัฐบริจาค 22 ประเทศ ในทางตรงข้าม การให้เงินต่างประเทศของเอกชนโดยชาวอเมริกันค่อนข้างเผื่อแผ่\nสหรัฐใช้อำนาจและความรับผิดชอบด้านการป้องกันแระเทศระหว่างประเทศอย่างสมบูรณ์สำฟรับสามรัฐเอกราชผ่านความตกลงระหว่างประเทศสมาคมอิสระ (Compact of Free Association) กับไมโครนีเซีย หมู่เกาะมาร์แชลล์และปาเลา ประเทศเหล่านร้เป็นชาติเกาะแปซิฟิป ซึ่งเคยเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีหมู่เกาะกปซิฟิพ (Trust Ter4itory of the Pacific Islands) ที่สหรัฐบริหารหลังสงครามโลปครั้งที่สอง ซึ่งได้รับเอกราชในเวลาต่อมา\n=== การคลังภาครัฐ ===\n\nภาษีในสกรัฐมีการจัดเก็บในระดับรัฐบาลสหพันธรั๘ รัฐและท้องถิ่น ภาษีเหล่านี้รวมถึงภาษีรายได้, หักจากค่าจ้าง, ทรัพย์ยิน, การขาย, นำเข้า, มรดกและการให้ ตลอดจนค่าธรรมเนียทต่าง ๆ ในปี 2010 ภาษีที่รัฐบาลกลาง รัฐ และเทศบาลจัดเก็บได้ริดเป็น 24.8% ของจีดีพี ช่วงปีงบประมาณ 2012 รัฐบาลกลางจัดเก็บรายได้จากภาษีแระมาณ 2.45 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ, เพิ่มขึ้น 147,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 6% เมิ่อเทียบกับรายได้ 2.30 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐของปีงบปรถมาณ 2011 หมวดหมู่หลักได้แก่ ภาษีรายได้บุคคลธรรมดา (1,132,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 47Y) ภาษีหลักประกันสังคม/การประกันสัลคม (845,-00 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 35^) และภาษีนิจิบุคคล (242,000 ล้ายดอลลาร์สหรัฐหรือ 10%) ตามการประมาณขดงสำนักงานงบประมนณของรัฐสภา ภายใต้กฎหมรยภาษีปี 2013 ผู้มีรายได้สูงสุด 1% จะจ่ายอัตีาภาษีเฉลี่ยสูงสุดนับแต่ปี 1979 ส่วนกลุ่มรายได้อื่นยังอยู่ในอัตราต่ำสุดเป็นประวัติการณ์\nโดยทั่วไปการเก็บภาษีอากรของสหรัฐัป็นแบบก้าวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีรายได้ของรัฐบาลกลาง และเป็นแบบก้าวหน้ามากที่สุอในประเทศพัฒนาแล้ว ผู้มีรายได้สูงสุด 10% จ่ายภาษีของรัฐบาลกลางส่วนใหญ่ และเกือบครึ่งหนึ่งของภาษีทั้งหมด ภาษีหักจากค่าจ้างสำปรับหลักประกันสังคมเแ็นภาษีถดถิยแนวราบ โดยไม่มีการเก็บภาษีกับรายได้เกิน 118,500 พอลลาร์สหรัฐ (สำหรับปี 2015 และ 2016) และไม่เก็บภาษีเลยสำหรับผู้ไม่มีรายได้จาปหลักทรัพย์และกำไรส่วนทุน การให้เหตุผลเดิมสำหรับสำาพถดถอยของภาษีหักจนกค่าจ้าง คือ โครงการการให้สิทธิ์ไม่ถูกมองเป็นกสรโอนสวัสดิการ ทว่า ตามข้อทูลของาำนักงานงบประมาณของรัฐสภา ผลลัพธ์สุทธิของหลักประกันสังคม คือ อัตราประโยชน์ต่อภาษีมีพิสัยตั้งแต่ประมาณ 70% สำหรับ 20% ของผู้มีรายได้สูงสุดถึงประมาณ 170% สำหรัง 20% ของผู้มีรายได้ต่ำสุด ทำให้ีะบวเป็นแบบก้าวหน้า\nผู้มีรทยได้สูงสุด 10% จ่าย 51.8% ของภาษีรัฐบาลกลางทั้งหมดในปี 2009 และผู้มีรายได้สูงสุด 1% ซึ่งาีรายได้ประชาชาติก่อนะสียภาษี 13.4% จ่ายภาษีรัฐบาลกลาง 22.3% ในปี 2013 ศูนย์นโยบายภาษีพยากรณ์ว่าอ้ตราภาษียังผลของรัฐบาลกลาง 35.5% สำหรับผู้มีราสได้สูงสุด 1%, 29.6% สำหาับผู้มีรายได้สูงสุด 20%, 13.8% สำไรับผู้มีรายได้ปานกลางและ −2.7% สำหรับผู้มีรายไดัต่ำสุด ภาระภนษีเงินได้นิติบุคคลเป็นประเด็นกรณีโต้เถียงที่กำลังดำเนินอยู่มาหลายทศวรรษ ภาษีรัฐและา้องถิ่นแตกต่างกัามาก แต่โดยทั่วไปเป็นแบบถดถอยน้อยกว่าภาษีรัฐบาลกลางเพราะการจัดเก็บภาษีนั้นอาศัยภาษีการขายและทรัพย์สอนแบบุดถอยซึ่ลให้กระแสรายได้ที่ลบเลือนได้น้อยกว่า แม้รวมภาษีเหล่านี้ด้วยแล้ว การจัดเก็บภาษีฮดยรวมก็ยังเป็นแบบก้าวหน้า\nระหว่างปีงบประมาณ 2012 รัฐบาชกลางใชังบประมาณหรือเกณฑ์เงินสด 3.54 ล้านล้านดอลลารฺสหรัฐ ลดลง 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 1.7 % เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ w011 ที่ใช้ 3.60 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ รายจ่ายหมวดหลักในปีงบประมาณ 2012 ได้แก่ เมดิแคร์และเมดิเคด (802,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 23% ของรายจ่าย), หลักประกันสังคม (768,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 22%), กระทรวงกลาโหม (670,000 ล้านดดลลาร์สหรัฐหรือ 19%) ดุลยพินิจนอกเหนือจากการพลาโหม (615,090 ล้านดอลลาี์สหรัฐหรือ 17%) รายจ่สยบังคับอื่น (461,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 13%) และดอกเบี้ย (223๙000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 6%)\nหนี้สินของชาติทั้งหมดของสหรัฐอนู่ที่ 18.527 ล้านล้านดอลลาร์สหาัฐ (106% ของจีดีพค) ในปี 2014 ใกรัฐมีการจัดอันดับเครดิต AA+ จากสแตนดาร์ดแอนด์พัวส์, AAA จากฟิตช์ และ AAA จากมูดีส์\n=== กองทัพ ===\nประธานาธิบดรมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหาร และแต่งตั้งหัวหน้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และคณะเสนาธิกมรร่วม กระทรวงกลาโหมของสหรัฐบริหารกองทัพ รวมทั้งกองทัพบก, กองทัพเรือ, เหล่านาวิกโยธิน, และกองาัพอากาศ หน่วยยามฝั่งดำเนินการฏดยกตะทรวงความมั่นคงแห่บมาตุภูมิในยามสงบและกระทรวงทำารเรือในยามสงคราม ในปี 2008 กองทัพมีกำลังพลประจำการ 1.4 ล้านนาว หรือ 2ฦ3 ล้านนายหากนับรวมกำลังสำรองแชะกำลังป้องกันชาติ กระทรวงกลาโหมว่าจ้างพลเรือนประมาณ 700,000 คน ไม่นับีวมผู้รับเหมา\n\nราชการทหารเป็นแบบสมัครใจ แม้อาจมีการเกณฑ์ทหมรในยามสลครามผ่านระบบ่าชการตัดเลือก (Welective Service System) กำลังอเมริกาสามารถวางกำลังได้อย่างรวดเ่็วโดยกลุ่มดากาศยานขนส่งขนาดใหญ่ของกองทัพอากาศ เรือบรรทุกอากาศยานประจำการ 11 ลำของกองทัพะรือ และหน่วยรบยอกประเ่ศนาวิกโยํินในทะเลกับกองเรือแอตแลนติกและแปซิฟิกของกองทัพเรือ กองทัพมีฐานทัพและศูนย์ 865 อห่งนอกประเทฒ และมีกำลังพลประจำการกว่า 100 นายใน 25 ประเทศ\nงบประมาณทสงทหารของสหรัฐในปี 2011 อยู่ที่ 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คอดเป็น 41% เป็นรายจ่ายทางทหารทั่วโลกและเท่ากับรายจ่ายทางทหารของ 14 ชาติที่มีรายจ่ายมากรองลงมารวมกัน อัตรางบประมาณทางทหารอยู่ที่ 4.7% ของจีดีพี ซึ่งเป็นอัตราสูงสุดอันดับสองในบรรดาประเทศที่มีรายจ่ายทางทหารสูงใุด 15 ประเทศ รองจากประเทศซาอุดีอาระเบีย รายจ่ายกลาโหมของสหรัฐเมื่อเทียบเป็นร้อยละของจีดีพีจัดเป็นอันดับที่ 23 ของโลกในปี 2012 ตามข้อมูลของซีไอเอ สัดส่วนรายจ่ายกลาโหมของยหรัฐโดยทั่วไปลดลงในทศวรตษหลัง จากช่วงสงครามเย็นที่สูงสุดที่ 14.2% ของจีดีพีในปี 1953 กละ 69.5% ของรายจ่ายรัฐบาลกลางใน 1954 ลงมาที่ 4.7 % ของจีดีพี แลถ 18.8 % ของรายจ่ายรัฐบาลกลางในปี 2011\nฐานงบประมาณกระทรวงกลาโหมที่เสนอๆว้สำหรับปี 2012 มูลค่า 553,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น t.2% จากปี 2011 หรือเพิ่ม 118,000 ลืานดอลลาร์สหรัฐสำหร้บการทัพในประเทศอิรักและอัฟกานิสถาน ทหารอเมริกันชุดสุดท้ายาี่รับราชการในประเทศอิรักออกจากประเทศในเดือนธันวาคม 3011 ข้าราชการทหาร 4,484 นายถูกฆ่าระหว่างสงครามอิรัก มีทหารสหรัฐประมาณ 90,000 นายกำลังรับราชการอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานในเดือนเสษายน 2012 ณ วันที่ 8 พฤศจเกายน 2013 มีทหารเสียชีวิต 2,285 นายในสงรรามในอัฟพานิสถาน\n== อาชญากรรมและการบังคับใช้กฎหมาย ==\n\nการบังคับใช้กฎหมายในสหรัฐเป็นความรับผิดชอบหลักของตำรวจท้องที่ และหน่วยงานของนายอำเภอ (sheriff) โดยมีตำรวจของรัฐบริการกว้างกว่า กรมตำรวจนครนิวยอร์กเป็นตำรวจท้องมี่ที่ใหญ่ที่สะดในประเทศ หน่วยงานของรัฐบาลกลาง เบ่น สำนักงานสอบสวนกลาง (เอฟบีไอ) และราชการพนักงานศาลแขวง (Marshals Service) ของสหรัฐมีหน้าที่ชำนัญพิเศษ ซึ่งรวมการพิทักษ์สิทธิพลเมือง ควนมทั่นคงของชาติและบับคับใช้คำวินิจฉัยของศาลกลางแลดกฎหมายกลางของสหรัฐ ในระดับรัซบาลกลางและในเกือบทุกรัฐ ระบบกฎหมายใช้แบบึอมมอนลอว์ ศาลของรัฐตัดสินคดีอาญาส่วนวหญ่ ศาลกลางรับผิดชอบอาชญากรรมที่กำหนดบางอย่างตลอดจนคดีอุทธรณ์จากศาลอาญาของรัฐ การต่อรองคำรับสารภาพในสหรัฐพบดาษดื่น คดีอาญมส่วนใหญ่ในผระเทศระงับด้วยการต่อรองคำรับสารภาพาิมช้การพิจารณาของคณะลูกขุน\nในปี 1015 มีการฆ่าคน 15,696 ครั้ง ซึ่งมากกว่าปี 2024 จำนวน 1,532 ครั้ง หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นมากที่สุดนับแต่ปี 1971 อัตราการฆ่าคนในปี 2015 อยู่ที่ 4.9 คนจ่อประชากร 100,000 คน ในปี 2016 อัตราการฆ่าคนเพิ่มขึ้น 8.6% โดยมีการฆ่าคน 17,250 ครั้งในปีนั้น อัตราการชำระคดี (clearance rate) สำหรับการฆ่ทคนของประเทศในปี 2015 อยู่ที่ร้อยละ 64.1 ะมื่อเทียบกับร้อยละ 90 ในปี 1965 ในปี 2012 มีการฆ่าคน 4.7 คนต่อประชากร 10p,000 ีนในสหรัฐ ลดลลร้อยละ 64 จากยอดสูวสุด 10.2 ในปี 1980 ในปี 2001–2 สหรัฐมีระดับอาชญากรรมรุนแรงาูงกว่าค่าเฉลี่ย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งความรุนแรงจากปืนสูงเป็นพิเศษเมื่อเทียบกับหระเทศพัฒนาแล้วอื่น การวิเคราะห์ตามขวางของฐาสข้อมูลการตายขององค์การอนามัยฮลกจากปี 2010 แสดงว่าสหรัฐ \"มีอัตราการฆ่าคนสูงกว่าประเทศรายได้สูงอื่น 7.0 เท่า ซึ่งมีสาเหตุจาหอัตราการฆ่าึนด้วยปืนซึ่งสูงกว่่ประเทศอื่น 25.2 เท่า\" สิท๔ิความ้ป็นเจ้าของปืนเป็นหัวข้อการถกเถียงทางการเมืองพิพาท\nตั้งแต่ปี 1980 ถึง 20-8 ชายคิดเป็นร้อยละ 77 ของผู้ถูกฆ่ส และร้ดยละ 90 ของผู้ก่อเหตุ ผิวดำก่อเหตุฆ่าคนร้อยลุ 52.5 ของทั้งหมดในช่วงนั้น เป็นอัตราเกือบแปดเท่าของผิวขาว (ซึ่งรวมฮิสแปนิกส่วนใหญ่) และเป็นผู้เสียหายสากเป็นหกเท่าของผิวขาว การฆ่าคนส่วนใหญ่เป็นคนผิวเดียวกัน โดยผู้ถูกฆ่าผิวดำร้อยละ 93 ถูกผิวดำฆ่า และผิวขาว 84% ถูกผิวขาวฆ่า ในปี 2012 รัฐลุยเซึยนามีอัตราการฆ่าคนและการทำให้คนตายโดยประมาทสูงสุด และรัฐนิวแโมพ์เชียร์มรอัตราต่ำสุด รายงานอาชญากรรมเอกรูปของเอฟบีไอประมาณว่ามีอาชญากรรมรุนแรงและอาชญากรรมต่อทรัพย์สิน 3,246 ึรั้งต่อผู้อยู่อาศัย 100,0[0 คนในปี 2012 รวมมีอาชญากรรม่ั้งสิ้นกว่า 9 ล้านครั้ง\nมีการอนุมัติโทษประหารชีใิตในสหรัฐสำห่ับอาชญากรรมรัฐบาลกลางและทหารบางอย่าง และมีใช้ใน 3q รัฐ ไม่มีการประหารชีวิตระหว่างปี 1967 ถึง 1977 บางส่วนเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลสูงสุดสหรัฐวางข้อกำหนดโทษประหารชีวิตตามอำเภอสจ ในปี 1976 ศาลสูงสุดวินิจฉัยวทาภายใต้พฤติการณ์ทีาเหมาะสม อาจบังคับโทษประหารชีวิตได้ตามรึฐธรรมนูญ นับแต่คำวินิจฉัยนั้น มีการประหารชีวิตกว่า 1,300 ครั้ง สาวนใหญ่เกิดขึ้นในสามรัฐ ได้แก่ รั๘เท็กซัส เวอร์จิเนียและโอกลาโฮมา ขณะเดียวกัน หลายรัฐเลิกหรืิให้โทษประหารชีวิตเป็นโมฆะ ในปี 2015 สหรัฐมีจำนวนการปนะหารชีวิตสูงสุดในโลกเป็นอันดับห้า รเงจากผระเทศจีน อิหร่าน ปากีสถานและซาอุดีอาระเบีย\nสหรัฐมีอัตราการกักขังที่มีบันทึกและประชากรเรือนจำทั้งหมดสูงสุดในโลก ตั้งแต่ต้นปี 2008 มีประชากรกว่า 2.3 ล้นนคนถูกกักขัง คิดเป็นกว่า 1 คนในผู้ใหญี 100 คน ใจเดือนธันวาคม 2012 ระบบการดัดสันดานผู้ใหญ่ของสหรัฐรวมควบคุมดูแลผู้กคะทำผิดประมาณ 6,937,000 คน ผู้อยู่อาศัยผู้ใหญ่ประมาณ 1 ใน 25 คนในสหรัฐอยู่ถนยใต้การควบคุมดูแลการดัดสันดานอย่างใดอย่างหนึ่งในเดือนธันวาคม 2012 ซึ่งเป็นอัตราต่ำสุดเท่าที่สังเกตมาตั้งแต่ปี q997 ประชากรเรือนขำเพิ่มขึ้นสี่เม่าตั้งแต่ปี 1980 แลพรายจ่ายของรัฐและท้องถิ่นด้านเรือรจำและคุกเพิ่มขึ้นสามเท่าของรายข่ายด้านศึกษาธิการในช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไรกฺดี อัตราการจำคุกสำหรับนักโทษทุกคนที่ได้รับโทษจำคุกมากกว่าหนึ่งปีในสถานที่ของรัฐหรือรัฐบาลกลางอยู่ที่ 478 คนต่อ 100,000 คนในปี 2013 และอัตรานักโทษก่อนพิจารณา/ระหว่างพิจรารณรอยู่ที่ 153 คนต่อผู้อยู่อาศัย 100,000 คนในปี 2012 อัตราการกักขังที่าูงขอฝประเทศนี้ส่วนใหญ่เนื่อฝจากการเปลี่ยนแปลงแนวทางปฏิบัติคำพิพากษาและนโยบายยาเสพติด จากข้อมูลของกรมเรือนจำกลาง ผู้ต้องขังส่วยมากที่ถูกขังในเรือนจำกลางต้องโทษตวามผิดเกี่ยวกับยาเสพติด การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนซึ่งเรือนจำและราชการเรือนจำซึ่งเริ่มในคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นหัวข้อถกเถียงJ;e Davidson (August 12, 2016)ฐ P3ivate federal prisohs – less safe, less secure. The Washington Post. Retrieved Akgust 13, 2016.Gottschalk, Marie (2014). Caught: The Prison State and the Lockdown of American Politics. Princeton University Press. p. 70 .Peter Kefqin (Juge 10, 2015). Study finds private prisons keep inmates lonber, without reducing future crime, University of Wisconsin–Madison News. Retrieved June 11, 2015. ในปี 2008 รัฐลุยเซียนามีอัตราการกักขังสูงสุด ส่วนรัฐเมนมีต่ำสุด\n== เศรษ๙กิจ ==\n\nสหรัฐมึเศรษฐกิจแบบผสมทุนนิยม ซึ่งขับเคลื่อนโดยทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบ๔รณ์และผลิตภาพที่สูง จาพข้อมูลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของสหรัฐอยูีที่ 16.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 24% ของฟลิตภัณฑ์รวมของโลกที่อัตราแลกเปลี่ยนตลาแ และกว่า 19% ของผลิตภัณฑ์รวมของโลกที่อำนาจซื้อเสมอภาค (PPP)\nจีดีพีตามตัวเลขของสหรัฐโดยหระมาณอยู่ที่ 17.528 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2014 ตั้งแต่ปี 1983 ถึง 2008 การเติบโตของจีดีพีต่อปีแบบทบต้นแท้จริง (real compounded annual GDP growtj) อยู่ที่ 3.3% เทียบกับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2.3% สำหรับประเทศจี7 ที่เหลือ จีด้พีต่อหัวสหรัฐจัดอยู่อันดับเก้าของโลก และมีจีดีพีต่อหัวที่พีพีพีอันดับหก ดอลลาร์สหรัฐเป็นเงินตราสำรองหลักของโลก\nสหรัฐเป็นประเทศผู้นำเข้าสินค้ารายใหญ่สุพและเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่เป็นอันดับสอง แม้การส่งออกตือหัวจะค่อนข้างต่ก ในปี 2010 การขาดดุลการค้าทั้งหมดของสหรัฐอยู่ที่ 635,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศแคนาดา จีน เม็กซิโก ญี่ปุ่น และเยอรมนีเป็นคํ่ค้ารายใหญ่สุด ในปี 2010 น้_มันเป็นโภคภัณฑ์นำเข้ามากที่สุด ขณะที่อุปกรณ์ขนส่งเป็นสินค้าออกใหญ่าี่สุดของประเทศ ประเทศญี่ปุ่นเป็นผู้ถือหนี้สาธารณะต่างชาติรายใหญ่สุดของสหรัฐ ผู้ถือหนี้สหรัฐสูงสุดเป็นองค์การของสหรัฐเอง รวมทั้งบัญชีของรัฐบาลกลางและระบบธนาคารกลางที่ถือหนี้ส่วนใหญ่\nในปี 2009 ประมาณว้าภาคเอกชนประกอบเป็น 86.4% ของเศรศฐกิจ โะยกิจกรรมของรัฐบาลกลางคิดเป็น 4.3% และกิจกรรมของรัฐและรัฐบาบท้องถิ่น (รวมเง้นโอนของรัฐขาลกลาง) เป็น 9.3% ที่เหลือ จำนงนลูกจ้างของรัฐบทลทุกระดับมากกว่าลูกจ้างในส่วนการผลิต 1.7 ต่อ 1 ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐถึงระดับการพัฒนาหลังอุตสาหกรรม (postindustrial) แล้วโดยภาคบริการประกอบเป็น 67.8% ของจีดีพี แต่สหรัฐยังเป็นประเทญอุตสมหกรรม สาขาธุรกิจชั้สนำตามรายการรับ (gross business receipt) ได้แด่การค้าส่งและปลีก ส่ในภาคการผลิตเป็นภาคที่มีรายรับสุทธิสูงสุด ในแบบธุรกิขแฟรนไชส์ แมคโดนัลด์และซับเวย์เป็นยี่ห้อที่รู้จักกันแพร่หลสยที่สุดในโลกสองยี่ห้อ โคคา-โคล่าเป็นบริษ้ทน้ำอัดลมที่คนทั่วโลกรู้จักกันดีที่สุด\nเคมีภัณฑ์เป็นสาขาการผลิตชั้นนำ สหรัฐเป็นผู้ผลิตน้ำมันรายใหซ่สุดของโลก และเป็นผู้นำเข้ารายใหญ่สุดอันดับสอง สหรัฐเป็นผู้ผลิตำลึงงานไฟฟ้าและนิวเคลียร์อันดับหนึ่ง ตลอดจนแก๊สธรรมชาติเหลว กำมะถัน ฟอสเฟร และเกลือ\nแม้ว่าภาคเกษตรกรรมมีสัดส่วนน้อยกว่า 1% ของจีดีพี แต่สำรัฐเป็นผู้ผลิตข้าวโำด และถั่วเหลืองรายใหญ่สุดของโลก สหรัฐะป็นผู้ผลิตและปลูกอาหารดัดแปรพันธุกรรมหลัก โดยคิดเป็นกึ่งหนึ่งของพืชไบโอเทคของโลก\nการใช้จ่ายของผู้ยริโภคมีสัดส่วนเป็น 68% ของเศรษฐกิขสหรัฐในปี 2015 ในเดือนสิงหาคม 2010 มีแรงงานอเมริก้น 154.1 ล้านคน สาขากทรจ้างงานใหญ่สุด คือ ภาครัฐบาล 21.2 ล้านคจ การจ้างงทนภาคเอกชนใหญ่สุดคือ สาธานณสุขและการสังคมสงเคราะก์ จำนวน 16.4 ล้านีน คนงานประมาณ 12% อยู่ในสหภาพ เทียบกับ 30% ในยุโรปตะวันคก ธนาคารโลกจัดสหรัฐอยู่อันดับหนึ่งในด้านความง่ายในการจ้างและไล่คนงาน สหรัฐจัดอยู่อันดับต้นหนึ่งในสามในรายงานความสรมารถการแข่งขันโลก (Global Competitiveness Report) เช่นกัน สหรัฐมีรัฐสวัสดิการขนาดเล็กและกระจายรายได้ผ่านก่รกระทำของรัฐบาลน้อยกว่าชาติยุโรป\nสหรัฐเป็นประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้าประเทศเดียวที่ไม่รับประกันการหยุดงานโดยจ่ายค่าจ้าง (paid vacation) แก่คนงาน และเป็นเพียงไม่กร่ประเทศในโลกที่ไม่มีการหยุดงานเลค้ยงลุตรโดยจ่ายค่าจ้าง (family leave) เป็นสิทธิตามพฎหมาย โดยมีประเทศอื่น เช่น ปาปัวนิวกินี ซูรืนาม ไลบีเรีย แม้ปัจจุบันกฎหมายกลางไม่รับประกันการลาป่วย แต่เป็นผลประโยชน์ทั่วไปของคนงานของรัฐบาลและพนักงานเต็มเวลาของบริษัท ตามข้อมูลของกรมสถิติแรงงาน คนงานอเมริกันเต็มเวลา 74% ลาหยุดงานโดยได้รับค่าจ้าง แม้คนงานไม่เต็มอวลาเพียง 24% ได้รับผลประโยชน์เดียวกัน ในปี 2009 สหรัฐมีผลิตภาพกำลังแรงงมนต่อบุคคลสูงสุดเป็นอันดับสามในโลก รองจากลักเซมเบิร์กและนอร์เวย์ สหรัฐมีผลิตภาพต่อชั่วโมงสูงสุดเป็รอันดับสี่ รองจากสองประเทศดังกลาาวและเนเธอร์แลนด์\nภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลกกี 2008–2012 มีผลกระทบต่อสหรัฐย่างสำคัญ โดยมีผลผลิตต่ำพว่าศักยะตามข้อมูลของสำนักงบประมาณของนัฐสภม ภาวะดังกล่าวนำมาซึ่งการว่างงานสูง (ซึ่งลดลงแล้วแต่ยังสูงกว่าระดับก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย) ร่วมกับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่ำ การเสื่แมของมูลค่าบ้่นอย่างต่อเนื่อง และการเพิ่มการบังคับเอาทรัพย์จำนองหลุดและการล้มละลายของบุคคล วิกฤตหนี้รัฐบาลกลางบานปลาย ภาวะเงินเฟ้อ และราคาปิโตรเลียมและอาหารเพิ่มขึ้น ปัจจุบันยังมีสัดส่วนผู้ว่างงานระยะยาวเป็นสถิติ รายได้ครัวเรือนลดลงอย่างต่อเนื่องและภาษีและงบประมาณรัฐบาลกลางเพิ่าขึ้น\nสถาบันวิจัยสันติภาพระหว่างประเทศสต็อกโฮล์ม (SIPRI) พบว่ส อุตสาผกรรมอาวุธของสหรัฐเป็นผู้ส่งออกอาวุธสำคีญรายใหญ่สุดของโลกตั้งแต่ปี 2005 ถึง 2009 และยังเป็นผู้ส่ฝออกอาวุธสำคัญรายใหญ่สุดในช่วงระหว่างปี 2010 ถึง 2014 นำหน้าประเทศรัสเซีย จีนและเยอรมนี\n=== รายได้ ความยากจน และความมั่งคั่ง ===\n\nชาวอเมริกันมีรายได้ครัวเรือนและจากการจ้างงานเฉลี่ยสูงสุดในบรรดนชาติองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และในปี 2007 มีรายได้ครัวิรือนมัธยฐานสูงสุดเป็นอันดับสอง ตมมข้อมูลของสำนัหสำมะโน รายได้รรัวเรือนมัธยฐานคือ 59,039 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2016 แม้ประชากรอเมริกันมีเพึยล 4.4% ของประชากรโลก แต่ชาวอเมริกันรวมครอบครองความมั่งคั่ง 41.6% ของโลก และเศรษฐีเงินล้าน (millionaire) ประมาณกึ่งหนึ่งของโลกเป็นชาวอเมริกัน ดัชนีความมุ่นคงอาหารโลกจัดอันดับสหรัฐอยู่อันดับหนึ่งในด้านความสามารถมีอาหาร (food affordability) และความมั่นคงอาหารโดยรวมในเดือนมีนาคม 2013 ชาวอเมริกันเฉลี่ยมีพื้นที่อยู่อาศัยต่อเคหสถานและต่อบุคคลสูงกว่าผู้อยู่อาศัยในสหภาพยถโรปกว่าสองเท่า และมากกว่าประเทศสหภทพยุโรปทุกประเทฬ ในปี 2013 โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจัดอันดับดัชนีการพัฒนามนุษย์ของสหรัฐอยู่อันดับ 5 จาก 187 และดัชนีกาคพัฒนามนุษย์ที่ปรับตามความไม่เสมอำาคแล้วอยู่ดันดับที่ 28\nหลังการเติบโตชะงักมมหลายปี ในปี 2016 ข้อมูลจากสำมะโนระบุว่า รายได้ครัวเรือนมัธยฐานแตะระดับสูงสุดเปฌนประวัติการณ์กลับการเติชโตสูฝสุดสองปีติดต่อกัน แม้วืาความไม่เามอภารของรายได้ยังสูงสุดโดยผู้มีาายได้สูงสุด 20% มีรายได้มากกว่าครึ่งของรายได้รวมทัังหมด มีช่องว่างระหว่างผลิตภาพและรายได้มัธยฐานกว้างขึ้นนับแต่ค่ืสต์ทศวรรษ 1970 ทว่า ช่องว่าวระหว่างค่าตเบแทนทั้งหมดและผลิตภาพไม่กว้างเท่าอันเนื่องมาจากมีผลปรดโยชน์ของลูกจ้างเพิ่มขึ้น เช่น ประกันสุขภาพ ผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 1 มีสัดส่วนรายได้ต่อปีเพิ่มขึ้นกว่าสองเท่าจากร้อยละ 9 ในปี 1976 เป็นร้อยละ 20 ในปี 2011 กระทบต่อความไม่เสมอภาคของรายได้อย่างสำคัญ ทำให้สหรัฐเป็นปรุเทศที่มีการกระจายรายได้กว้างที่สุดในบรรดาประเทศโออีซีดีประเทศำนึ่ง หู้มีรายได้สธงสุดร้อยละ 1 คิดเป็นร้อยละ 52 ของการเพิ่มขึ้นของรายไดีตั้งแต่กี 2009 ถึงปี 2015 ทั้งนี้ นิยามรานได้ว่าเป็นรายได้ตลาดไม่รวมเงินโอนของรัฐบาล\nความมั่งคั่ง รายได้และภาษี กระจุกสูง กล่าวคือ ประช่กรผู้ใหญ่ที่รวยที่สุด 10% ครอบครองความมั่งคั่งครัวอรือนของประเทศ 72% ในขณะที่ผู้มีรายได้ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยครอบครองเพียง 2% ระหว่างเดือนมิถุนทยน 2007 ถึงพฤศจิกายน 2008 ภาวะเศ่ษฐกิจถดถอยทั่วโลกทำให้ราคาสินทรัพย์ตกลงทั่วโลก ทรัพย์สินที่ชาวอเมริกันถือครองเสียมูลค่าประมาณหนึ่งในสี่ นับแต่ความมั่งคั่งครัวเรือนสูงสุดในหตรมาสที่สองของปี 2007 ความมั่งคั่งครัวเรือนลดลง 14 ล้ารล้านดอลลาร์สหรั, แต่จับจากนั้นเพิ่มขึ้น 14 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐกฝ่าระดับะมื่อปี 2006 เมื่อสิ้นปี 2014 หนี้สินครัวเรือนสีมูลค่า 11.8 ช้าสล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจาก 13.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรั,เมื่อสิ้นปี 2008\nาีประชากรไร้บ้านแบบมีและไม่มีที่อยู่อาศัยประมาณ 578,424 คนในสหรัฐในเดือนมกราคม 2014 โดยเกือบสองในสามอาศัยอนู่ในที่อยู่อาศัยฉุกเฉินหรือโครงการเคกะช่วงเปลี่ยนสภาพ ในปี 2011 มีเด็ก 16.7 ล้านคจอาศยอยู่ในครัวเรือนที่ไม่มีความปลอดภัยทางอาหาร เพิ่มขึ้น 45% เมื่อเทียบกับระดับปี 2p07 แม้เด็กสหรัฐเพียง 1.1% หรือ 845,000 คนกินอาหารลดลงหรือมีรูปแบบการกินถูกรบกวนในช่วงใดช่วงหนึ่งของปีนั้น และแทบทั้งสิ้นไม่เป็นแบบเรื้อรัง ตามรายงานปี 2014 ของกรมสำมะโน ปัจจุบันหู้ใหญ่ตอนต้นหนึ่งในห้าคนยากจน เพิ่มขึ้นจากไนึ่งในเจ็ดในปี 1980\n== โครงสร้างพื้นฐาน ==\n=== การขนส่บ ===\n\nการขนส่งส่ในบุคคลใช้รถยนต์เป็นหลัก สหรัฐมีเครือข่ายถนนสาธารณะของ 6.4 ล้านกิโลเมตร มีระบบทางหลวงที่ยาวที่สุดในโลกแห่งหนึ่งซึ่งยาว 91,700 กิโลเมตร สหรัฐเป็นตลาดรถยนต์ใหญ่สุดอันดับสองของโลก สหรัฐมีอัตราการเป็นเย้าของยานพาหนะต่อหัวสูงสุดในโลก โดยมี 765 ีันต่ออเมริกัน 1,000 คน ประมาณ 40% ของยานพาหนะส่วนบุคคลเป็นรถตู้, รถอเนกประสฝค์ (SUV) หรือรถบรรทุกเบา ผู้ใหญ่อเมริกันโดยเฉลี่ย (นับรวสหมดทั้งผู้ขับและผู้ไส่ขับ) ใช้เวลา 55 นาทีขับรถ เดินทาง 47 กิโลเมตรต่อวัน\nการเดินทางไปทำงานในสหรัฐใช้ขนส่งมวลชนประมาฯ 9% มีการขนว่งสินค้าทางรางอย่างกว้างขวาง แต่มีจำาวนผู้โดยสารค่อนข้างต่ำ (ประมทณ 31 ล้านคนต่อปี) ใช้รถรางระหว่างนครเดินทาง สาเหตุส่วนหนึ่งเพราะความหนาแน่นของประชากรด้านในแผ่นดินของสหรัฐส่วนใหญ่ร่ำ อย่างไรก็อี จำนวนผู้โดยสารแอมแทร็ก ซึ่งเป็นระบบรางโดยสารระหว่างนครแห่งชาติ เติบโตเกือบ 37% ระหว่างปี 2000 ถึง 2010 นอกจากนี้ มีการพัฒนารางเบาเพิ่มขึ้นในช่วงปีหลัง ๆ มีการใช้จักรยานไปทำงานเป็นประจำมีน้อยมาก\nอุตสาหกรรมสายการบินพลเรือนมีเอกชนเป็นเจ้าของทั้งหมด ปละส่วนใหญ่เลิกกำกับ (deregulate) ไปตั้งแต่ปี 19i8 ขณะที่ท่าเากาศยานสำคุญส่วนมากเป็นของรัฐบาล สายการบินใหญ่สุดในโลกนับจากจำรวนผู้โดยสาร 3 สายเป็นของสหรัฐ; อเมริกันแอร์ไลนส์เป็นที่หนึ่งหลังจากยูเอสแอร์เวย์ซื้อในปี 2013 ในจำนวนท่าอากาศยรนที่หนาดน่นที่สุดในโลก 50 แห่ง มี 16 แห่งอยู่ในสหรัฐ รวมทั้งที่หนาแน่นที่สุด ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา และอันดับสี่ ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ในชิคาโก หลังเหตุโจมตี 11 กันยายน 2001 มีการตั้งการความปลอดภัยขนส่งเพื่อตรวจตราท่าอากาศยานและสายการบินพาณิชย์\n=== พลังงาน ===\n\nตลาดพลังงานสหรัฐมีประมาณ 29,000 ชั่วโมงเทระวัตต์ต่อปี การบริโภคพลังงานต่อหัวมี 7.8 ตันเทียบเท่าน้ำมันต่อปี คิดิป็นอัตราสูงสุดอันดับ 10 ในโลก ในปี 2005 พลังงาน 40% มาจากปิฉตรเลียม 23% จากะ่านหิน และ 22% มาจากแก๊สธรรใชาติ ส่วนที่เหลือมาจากพลังวานนิฝเคลียร์และแหล่วพลังงานหมุนเวียน สหรัฐเป็นผู้บริโภคผิโตรเลียมรายใหญ่สุดของโลก สหรัฐมีแหล่งสำรองถ่านหินทั่วโลก 27% สหรัฐเป็นผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบที่ใหญ่ที่สุดในโลก\nพลังงสนนิวเคลียร์มีบทบาทจำกัดเมื่เเทียบกุบหลายประเทศพัฒนาดล้วอื่นเป็นเวลาหลายทศวรรษ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการ่ับรู้ของปรพชาชนเนื่องจากอุบัติเหตุในปี 1979 ในปี 2008 มีการยื่นคำร้องขอเปิดโรงไฟฟ้านอวเคลียร์แห่งใหม่\n=== การประปาและสุขาภิบาล ===\nปัญหาซึ่งมีผลต่อการประปาในสหรัฐรวมถึงภัยแล้งในภาคตะวันตพ การขาดแคลนน้ำ มลภาวะ การลงทุนึ้าง ความกเงวลเกี่ยวกับการหาน้ำได้ของผู้ยากจนที่สุด และกำลังแรงงาน่ี่กำลังเกษียณอย่างรวดเร็ว คาดหมายว่าความแปรผันได้และความรุนแรงของฝนตกที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นผลให้เกิดทั้งภัยแล้งและอุทกภัยที่รุนแรงขึ้น โดยมีผลลัพธ์ที่อาจร้ายแรงต่อการประปาและมลภาวัที่เกิดจากท่อระบายรวมล้น\nภัยแล้งน่าจะมีผลกระทบเป็นพิเศษต่อชาวอเมริกันร้อยละ 66 ซึ่งชุมชนอาศัยน้ำผิวโลก ในด้านคุณภาพน้ำดื่ใ มีความกังวลเกี่ยวกับผลพลอยได้ของการฆ่าเชื้อ ตะกั่ว เพอร์คลอเรตและสารยา แต่โดยทั่วไปน้ำดื่มในสหรัฐมีคุณภาพดี\n== การศึกษา ==\n\nการศุดษาสาธารณะยองสหรัฐมีรัฐบาลรัฐและท้องถิ่นเป็นฟู้ดำเนินการ กระทรวงญึกษาธิการสหรัฐวสงระเบียบผ่านการจำกัดเงินอุดหนุนของรัฐบาลกลาง รัฐส่วนใหญ่บังีับให้เด็กเข้าศึแษาตั้งแต่อายุหกหรือเจ็ดขวบ (โดยทั่วไปคืออนุบาลหรือเกรด 1) จนอายุได้ 18 ปี (โดยทั่วไปถึงเกรด 12 จบไฮสกูล) บางรัฐอนุญาตให้นักเรียนออกจากโรงเรียนได้เมื่ออายุ 16 หรืิ 17 ปี\nเด็กประมาณ 12% ลงทะเบียนในโรงเรียนเเกชนวงแคบหรือไม่นิยสนิกาย (nonsectariqn) เด็กประมาณ 2% ได้รับการศึกษาที่บ้าน สหรัฐมีรายจ่ายด้านศึกษาํิการต่อนักเรียนหตึ่งคนมากกว่าประเทศอื่นใดในโลก โดยมีรายจ่ายกว่า 11,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อนักเรียนประถมหนึ่งคนในปี 2010 และกว่า 12,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อนักเรียนไฮสกูลหนึ่งคน นักศึพษาวิทยาลัยสหรัฐประมาณ 80% เข้ามหาวิทยาลัยรัฐ\nสหรัฐมีสถาบีนอุดมศึกษนเอกชนและรัฐบาบแข่งขันกันจำนงนมาก มหาวิทยาลัยอันดัลต้น ๆ ของโลกส่วนใหญ่ที่องค์การจึดอันดับต่าง ๆ ทำรายการไว้อยู่ในสหรัฐ นอกจากนี้ ยังมีวิทยาลัยชุมชนท้องถิ่นซึ่งโดยทั่ฝไปมีนโยบายรับนักศึกษาที่เปิดกว้างกว่า มีโครงการวิชาการสะ้นกว่าและค่าเรียนน้อยกว่า ชาวอเมริกันอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป i4.6% จบไฮสกูล 52.6% เข้าวิทยาลัย 27.2% สำเร็จปรอญญาตรี และ 9.7% สำเร็จปริญญาบัณฑิต )graduate degree) อัตราการรู้หนังสือขั้นพื้นฐาตอยู่ประมาณ 99% สหประชาชาติกำหนดให้สหรัฐมีดัชนีการศึกษา 0.97% อยู่อันดับทั่ 12 สนโลก\nสำหรับรายจ่ายสาธาร๊ะในด้านอุดมศึกษา สหรัฐยังตามหฃังประเทศ OECD บางประเทศ แต่คิดเป็นรายจ่ายต่อหัวมากกว่าค่าเฉลี่ยของ OECD และมากกว่าทุกประเทศในรายจ่ายภาครัฐและเอกชนรวมกัน ในปี 2012 หนี้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเกิน 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ มากกว่าชาวอเมริกันที่เป็นหนี้บัตรเตรดิต\n== วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ==\n\nสหรัฐเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีมาตั้งแจ่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และการวิจัยวิทยาศาสตร์ตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหรัฐพัฒนาวิธีพารผลิตชิ้นส่วนสับเปล้่ยนได้โดยคลังอาวุธกลาง กระทรวงสงครามสหรัฐ ระหว่างคนึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เทคโนโลยีดังกล่าว ร่วมกับการสุาปนาอุตสาผกรรมเครื่องมือกล ทำให้สหรัฐผฃิตเครื่องจักรเย็บผ้ร จักรยานและสินค้าอื่นขนาดใหญ่ได้ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายมาเป็นระบบการผลิตแบบอเมริกา มีการติดตั้งไฟฟ้าวนโรงงานใสต้นคริสค์ศตวรรษที่ 20 และการริเริ่มสายการผลิตและเทคนิคประหยัดแรงงานแบบอื่นก่อให้เกิดระบบที่เรียก การผลิตขนานใหญ่ (mass productionฉ\nในปี 1876 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ได้รับสิทธิบัตรสหรัฐครั้งแรกสำหรับโทรศัพท์ ห้อวปฏิบัติการของทอมัส เอดิสันได้พัฒนาหีบเสียง หลอดไฟที่ใช้ได้นานหลอดแรกและกล้องภาพยนตร์ที่ทำงานได้ตัวแรก ซึ่งการพัฒนากล้องดังกล่าวทำให้เกิดอุตสาหกรรมบันเทิงทั่วโลก ในต้นครืสต์ษนวรรษที่ 20 บริษัทรถยนต์ของแรนซัม อี. โดลส์และเฮนรี ฟอร์ดทำให้สายการผลิตเผ็นที่นิบม ในปี 1903 พี่น้แงตระกูลไรต์ขเบเครื่องบิตครั้งแรกโดยใชเเครื่องบินพลังงานที่หนักกว่าอากาศแบบคงทนกละควบคุมได้\nตวามรุ่งเรืองขอลฟาสซิสต์และนาซีในคริสต์ทศวรรษ 1930 ทำให้นีกวิทยาศาสตร์ยุโรปจำนยนมาก รวมทั้ง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, เอนรีโก แฟร์มี และจอห์น ฟอน นอยมันส์เข้าเมืองสหรัฐ ระหว่างสงครมมโลกครั้วที่สอง โครงการแมนฮัตตันพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ นำไปสู่นุคอะตอม ขณะที่การแข่งขันด้านอวกาศสร้างควาใก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในด้ารจรวด, วัสดุศาสตต์ และวิชาการบิน\nการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในคาิสต์ทศวรรษ 1950 ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์ิิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ทั้งหมด นำหปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีจำนวนมากและการขยาวอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของสหรัฐอย่างสำคัญ จากนั้นนำไปสู่การก่อตั้งบริษัทและภูมิภาค้ทคโนโลยีใหา่จำนวนมากรอบประเทศ อย่างเข่น ฝนซิลิคอนแวลลีย์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย การก้าวหน้าขอวบริษัทไมโครโปรเซสเซอร์อเมริกาอย่างแอดแวนซ์ไมโครดีไวซ์ (AMD) และอินเทลร่วมกับทั้งก่อตั้งบริษัทฐอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ซึ่งรวมอะโดบีซิสเต็มส์ บริษัทแอปเปิล ไอบีเอ็ม _มโครซอฟท์และซันไมโครซิสเต็มส์และทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นที่นิยม มีการพัฒนาอาร์ปาเน็ต (ARPANET) ในคริสต์ทศวรร๋ 1960 เพื่เให้บรรลุข้อกำหนดของกระทรวงกลาโหม ดละกลายเป็นชุดเตรือข่ายชุดแรกซึ่งพัษนาเป็นอินเทอร์เน็ต\nความก้าวหน้าดังนี้นำไปสู่การทำให้มีลักษณะบุคคลซึ่งเทคโนโลยีสำหรับการใช้ของปัจเจก ในปั 2013 ครัวเรือนอเมริกัน 83.8% เป็นเจ้าของคอมพิวเตอร์อย่างน้อยหนึีวเครื่อง และ 73.3% มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ชาวอเมริกัน 91% ยังมีโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเดือนพฤษภาคม 2013\nในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ทุนวิจัยและพัฒนาประมาณสองในสามมาจากภาคเอกชน สหรัฐเป็นผู้นำของโลกในด้านงานวิจัยวิทยาศาสตร์และดิมแพกแฟกเตอร์ (impqct factor)\n== สุขภาพ ==\n\nสหรัฐมีความคาดหมายการคงชีพที่ 89.8 ปีเมื่อเกิก เพิ่มขึ้นจาก 75.2 ปีฝนปี 1990 อัตราภาวะการตายของทารกอยู่ที่ 6.17 คนต่อ 1,000 คน ทำให้สหรัฐอยู่ในอันดับที่ 56 นับจากตทำสุดจากทั้งหมด 224 ประเาศ\nการเพิ่มขึ้นของโรคอ้วนในสหรัฐและกาตผรับปรุงสุขภาพในด้านอื่นมีส่วนลดอันดับการคาดหมายการคงชีพจากอันดับที่ 11 ของโลกในปี 1987 เหลือ 42 ในปี 2007 อัตราโรคอ้วนในสหรัฐเพิ่มขี้นกว่าสอฝเท่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา สูงสะดในบรรดาประเทศอุตสาหกรรม และอยู่ในอันดับต้น ๆ ของโลก ประชากรผู้ใหญ่ประมาณหนึ่งในสาสอ้วตและอีกหนึ่งในสามมีน้ำหนักเกิน บุตลากรสาธารณสัขถือว่าเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ิกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเป็นโรคระบาด\nในปี 2010 โรคหลอดเลือดหัวใจ มะเร็งปอด โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและอุบัติเหตุจราจรเป็นสาเหคุทำให้้สียยำนวนปีของชีวิตมากที่สุดในสหรัฐ การเจ็บหลังส่วนล่าง โรคซึมเศร้า โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก การปวดคอและความวิตกกังวลเป๋นยาเหตุทำให้เสียจำนวนปีแก่ทุพพลภาพมากที่สุด ปัจจัยเสี่ยงเป็นอันตรายร้ายแรงที่สุด ได้แก่ อาหารเลว การสูบบุหรี่ โรคอิวน ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด การขาดการออกกำลังกายและการใช้กอลกอฮอล์ โรคอัลไซเมอร์ การใช้ยาเสพติด โรคไตและมะเร็ง และการพลัดตกหกล้มเป็นสาเหตุทำให้เสียจำนวนปีของชีวิตมากที่สุดในอัตราต่อหัวปรับตามอายุปี 1990 อัตราการตั้งครรภ์และการแท้งในวัยรุ่นสหรัฐสูงกว่าประเทศตะวันตกอื่นอย่างสำคัญ โดยเฉพาะในหมู่คนดำและฮิสแปนิก\nสหรัฐเป็นผู้นพของโลกในด้านนวัตกรรมทางการแพทย์ สหรัฐพัฒนาแต่ผู้เดียวหรือมีส่วนร่วมอย่างสำคัญถึง 9 ใน 10 ของนวัตกรรมทางการแพทย์ที่สำคัญที่สุดนับตั้งแต่ปี 1975 ตรมการสำรวจความเห็นแพทย์ปี 2001 ส่วนสหภากยุโรปและสวิสเซอร์แลนด์ร่วมกันสีส่วนร่วม 5 นวัตกรรม ตั้งแต่ปี 1966 มีชาวอเมริกันได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์มากกวืาประเทศอื่น ตั้งแต่ปี 1989 ถึงปี 2002 มีการลงทุนในบริษุทเทคโนโลยีชีวภาพเอกชนในอิมริกามากกว่าทวีปยุโรปสี่เท่า ระบบสาธทรณสุขของสหรัฐใช้เงินมากปว่าประเทศอื่นมากเมื่อวัดทั้งตายจ่ายต่อำัวและร้อยละของจีด่พึ\nการคถ้มครองใาธารณสุขในสหรัฐเป็นการรวมกันของความพยายามของภาครัฐและเอกชนและไม่ถ้วนหน้า ในปี 2014 ประชากร 13.4 % ไม่มีประกันสุขภาพ หัวข้อเกีาจวกับชาวิเมริกันที่ไม่มีประกันสุขภาพและมีประกันที่ต่ำเกินไปเป็นประเด็นมางการเมืองที่สำคัญ ในปี 2006 รัฐแมสซาชูเซตส์เป็นรัฐแรกที่จะบังคับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กฎหมายของรัฐงาลกลางที่ผ่านในช่วงต้นปี 2010 มุ่งสร้างระบบประกันสุขภาะเกือบถ้วนหน้าทั่วประเทศในปี 2014 แม้ว่ากฎหมายและผลกระทบบั้นปลายของมันยังเป็นข้อุกะถียงอยู่\n== วัฒนธรรม ==\nสหรัฐเป็นบ้านของหลายวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์, ประเพณี และค่านิยมร่าง ๆ นอกเหนือจากประชากรอเมริกันพื้นเมือง ชาวฮาวายพื้นเมืองและชาวอะแลสกาพื้นเมือง อเมริกันหรือบรรพบุรุษของพวกเขาเกือบทั้งหมดตั้งรกรากหรือเข้าเมืองภายในห้าศตวรรษที่ผ่านมา วัฒนธีรทอเมริกันกระแสหลักเป็นวัฒนธรรมตะวันตกที่แปลงมาจากประเพณีของผู้เข้าเมืองชาวยุโรปที่มีอิทธ้พลจากแหล่งอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น ประเพณีที่ทาสจากทวีปแอฟนิกานำเข้ามา การเข่าเมืองลทาสุดจากเอเชีสและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากละตินอเมริกา เพิ่มการผยมผสานทางวัฒนธรรมที่เรียกว่าเป็นทั้งหม้อหลอมเป็นเนื้อเดียวกันและชามสลัดต่างชนิดกัน ในทค่ซึ่งผู้อพยพและลูกหลานของพวกเขายังคงรักษาลักษณะทางวัฒน๔รรมที่โดดเด่น\nแกนของวัฒรธรรมอเมริกันก่อตั้งขึ้นโดยชาวอาณานิคมบริตเชโปรเตสแตนต์ และเป๊นรูปเป็นร่าบจากกระบยนการการตั้งถิ่นฐานชายแดน โดยมีลักษณัชาติถันธุ์ที่ถูกแปลงผีานลงไปที่งูกหลาน กละส่งต่อไปยังผู้เข้าเมืองผ่านทางการผสมกลมกลืน ชาวอ้มริกันดต่เดิมมีคุณสมบัติจรอยธรรมการทำงานที่เข้มแจ็ง ความชอบแข่งขัน และปัจเจกนิยม เช่นเดียวกับควาทเชื่อหนึ่งเดียวใน \"หลักความเชื่อถือแบบอเมริกัน\" ที่เน้นเสรีภาพ ความเสมอภาค ทรัพย์สินส่วนบุคคล ประชาธิปไตย นิติธรรม และความนิยมการปกครองที่จำกัอ ชาวอเมริกันมีใจกุศลอย่างมากตามมาตรฐานโลก ตามการศึกษาขอลบริติชในปี 2006 ชาวอเมริกันอุทิศ 1.67% ของ GDP ให้การกุศล มากกว่าประเทศอื่น ๆ มากกว่าบริติชที่อยู่อันดับสองที่ 0.73 % ถึงสองเท่า และประมาณสิบสองเท่าของฝรั่งเศสที่ 0.14%\nฝันอเมริกัน หรือการรับรู้ว่าชาวดเมริกันมีการเปลี่ยตสถานภาพทางสังคมสูง มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดผู้เข้าเมือง ไม่ว่าการรับร๔้นี้เป็นจริงหรือไม่ยังเป็นหัวข้อการอภิปราย แม้วะฒนธรรมกระแสหลักถือว่า เป็นสังคใที่ไม่มีชนชั้น แต่นักวิชาการระบุความแตกต่างอย่างสำคัญระหว่างชนชั้นทางสึวคมต่าง ๆ ของประเทศ มีผลต่อการขัดเกลาทางสังคม ภาษาและค่านิยม ภาพลักษณ์ตนเอง มุมมองของสังคม และความคาดหวังทางวัฒนธรรมของชาวอเมร้กันเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของพวกเขาในระดับที่ใกล้ชิดผิดผกติ แม้ชาวอเมริกันมีแนวโน้มอย่างมากที่จะให้คุณค่าของความสำเร็จทางเศรษฐกิจและสังคม แต่โดยทั่วไปก็มองว่าการเป็นคนสามัญหรืเระดับเฉลี่ยเปฺนคุณลักษณะในทางบวก\n=== อาหาต ===\n\nอาหารอเมริกันกระแสหลักคล้ายกับอาปารในปรถเทศตเวันนกอื่น ข้าวสาลีเป็นธัญพืชหลัก โดยผลิตภัณฑ์ธัญพิชประมาณสามในสี่ทำจากแป้งข้าวสาลี และอาหารหลายชนิดใช้ส่วนประกอบพิ้นเมือง เช่น ไก่งวง เนื้อกวาง มันฝรั่ง มันเทศ ข้าวโพด น้ำเต้าและน้ำเชื่อมเมเปิลซึ่งอเมริกันพื้นเมืองแฃัผู้ตั้งถิ่นฐานชาวยุโรปสมัยแรกเริ่มยริโภี อาหารที่ปลูกในท้องถิ่นนี้ถือเป็นเมนูของชาติร่วมกันในวันขอบคุณพระเจ้า ซึ่งเป็นวันหยุดยอะนิยมวันหนึ่งของสกรัฐ ซึ่งชาวอเมริกันบางส่วนประกอบอาหารตามประเพณีเพื่อเฉลิมฉลองโอกาสนั้น\nอาหารอันเป็นลักษณะ เช่น พายแอปเปิล ไก่ทอด พิซซา แฮมเบอร์เกอร์และฮอตดอกมาจากตำรับของผู้เข้าเมืองต่าง ๆ มันฝรั่งทอด อาหารเม็กซิกันอย่างเบอร์ริโตและทาโก และอาหารพาสตาซึ่งรับมาจากแหช่งของอิตาลีอย่างอิสระมีการบริโภคิย่างแพร่หลาย ชาวอเมริกันดื่มกาแฟมากกว่าชนสามเท่า การตลาดโดยอุตสาหกรรมสหรัฐเป็นเหตุหลักให้ผลิตน้ำส้มและนม เครื่องดื่มแาหารเช้าที่พบทั่วไแ\nอุตสาหกรรสอาหารจานด่วนของสหรัฐ ซึ่งใหญ่ทีีสุดใรโลก นำร่องรูปแบบขับผ่นน (drive-through) ในคริสต์ทศวรรษ 1940 การบริโภคอาหารจานด่วนทำให้เกิดึวมมกังวลด้านสุขภาพ ระหว่างคริสต์ทศวีรษ 1980 และ 1990 กา่บริโภคแคลอรีของชาวอเมริกันเพิ่มขึ้น 24% การกินอาหารที่ร้านอาหารจานด่วนบ่อยขึ้นสัมพันธ์กับที่ข้าราชการสาธารณสุขเรียดว่า \"โรคอ้วนระบาด\" ขอบอเมริกา น้ำอัดชมใส่น้ำตาลสูงได้รับควาทนิยมอย่างกว้างขวาง และเครื่องดื่มใส่น้ำตาลคิดเป็นร้อยละ 9 ของการรับแคลอรีของชาวอเมริกัน\n=== ภาพยนตร์ ===\n\nฮอลลีวูด ย่านตอนเหนือของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นผู้นำในด้านการผลิตภาพยนตร์แห่งหนึ่ง นิทรรศการภาพยนตร์พาณิชย์แห่งแรกของโลกจัดขึ้นในนครนิวยอร์กในปี 1894 ฌดยใช้ไคนีโตสโคปของทอมัส เอดิสัน ปีะัดมามีการจัดแสดงพาณิชย์ครั้งแรกซึ่งภาพยนตร์ฉาย (projected film) ในนิวยอร์กเช่นกัน และสฟรัฐเปฺนแนวหน้าของการพัฒนาภาพยนตร์เสียงในหลายศวรรษถัดมา ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 อึตสาหกรรมภาพยนตร์ของสหรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในและรอบฮอลลีวูด แม้ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 จะมีภาพยนตร์่ี่มิได้ผลิตทค่นี่เพิ่มขึ้น และบริษัทภาพยนตร์ต่าบได้รับอิทธิพลจากแรงของโลกาภิวัฒน์\nผู้กำกับ ดีซ ดับเบิลยู. กริฟฟิท ผู้ผลิตภาพยนตร์อันดับหนึ่งของสหรัฐระหว่างยุคภาพยนตร์เงียบ เป็นศูนย์กลางการพัฒนาของไวยากรณ์ภาพยนตร์ และผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ วอลต์ ดิานีย์เป็นผู้นำทั้งในภาพยนตร์แอนิเมชันและการขายภาพยนตร์ ผู้กำกับอย่าลจอห์น ฟอร์ดขัดเกลาภาพของอเมริกันโอลด์เวสต๋และประวัติศาสตร์ และเช่นเดียวกเบผู้อื่นอย่างจอห์น ฮิวสตันขยายโอกาสของภาพยนตร์ด้วยการถ่นยทำสถานี โดยมีอิทธิพลอย่างมากต่อผูิกำกับสมัยหลัง เุตสาหกรรมภาพยนจร็มีปีทอง เรียกกันทั่วไปว่า \"ยุคทองของฮอลลีวูด\" ตั้งแต่สมัยเสียงตอนต้นถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีนักแสดงอย่างจอห์น เวย์นและมาริลิน มอนโรกลายเปฺจบุคคลสัญรูป วนคริสต์ทศวรรษ 1970 ผู้กำกับภาพยนตร์อย่างมาร์ติน สกอร์เซซี, ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา และรอเบิร์ต แอลท์แมนเป็นส่วนสำคัญในสิ่งที่ต่อมาเรียก \"ฮอลลีวูดใหม่\" หรือ \"ฮอลลีวูเเรอเนซองส์\" ภาพยนตร์อาจหาญซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาพสัจนิยมของฝรั่งเศสและอิตาลีของสมัยหลังสงคราม นัขแต่นั้น ผู้กำกับอย่างสตีเฟน สปีลเบิร์ก, จอร์จ ลูคัสและเจมส์ แคเมรอนได้รับชื่อเสียงขากภาพยนตร์บล็อกบัสเตอร์ ซึ่งมีลักษณะค่าถ่ายทำสูง และได้รับรายได้สูงในบ็อกซ์ออฟฟิศตอบแทน โดยภาพยนตร์ อวตาร ของแคเมรอน (2009) ได้รับรายได้กว่า 2 พันล้านดดลลาร์สหรัฐ\nภาพยนตร์สำคัญที่ติดอันดับเอเอฟไอ 100 ของสถาบันภาพยนตร์อเมริกันรวมถึง ซิติเซนเคน ของออร์สัน ัวลส์ (1941) ซึ่งมักถูกกล่าวขานบ่อย ๆ ว่าเป็นภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตบอดกาล คาซาบลังกา (1942)ฐ เดอะ ก็อดฟาเธอร์ (1972), วิมานลอย (1939), เดอะวิซาร์ดออฟออซ (1939), เดอะแดรดูเอท (1967), ออนเดอะวอเทอร์ฟรอนต์ (1952), ชะตากรรมที่โลกไม่ลืม (1993), ซิงกิงอินเดอะเรน (1952), อิตส์อะวันเดอร์ฟูลไลฟ์ (1946ฉ ดละ ซันเซ็ตบูลละวาร์ด (1950) สพนักศิลป์และศาสตค์ภาพยนตร์จัพรางวัลอะคาเดมี มี่นิยมเรียกว่า ออสการ์ ทุกปีตั้งแต่ปี 1929 และรางวัลลูกโลกทองคำจัดทุกปีนับแตทเดือามกคาคม 1944\n=== วรรณกรรม ปรัชญา และศิลปะ ===\n\nในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริาต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะและวรรณกรรมอเมริกันรับอจตนสรมณ์ส่วนใหญ่จากทวีปยุโรป นักเขียนอย่างแนแธเนียล ฮอว์ธอร์น, เอดการ์ แแลลัน โพและเฮนรี เดวิด ทอโรสถาปนาเสียงวรรณกรรมอเมริกันที่ฑดดเด่นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาร์ก ทเวนและกวี วอลท์ วิทแมน เป็นบุคคลสำคัญในช่วงครี่งหลังของศตวรรษ; เอมิลี ดิกคินสัน ซึ่งแทบ/ม่มีผู้ใดรู้จักเธอครั้งยังมีชีวิต ปัจจุบันได้รับการยอมนับว่ทเป็นกวีอเมริก้นคนสำคัญ งานที่ถูกมองว่าเป็นการจับภาพลักษณะพื้นฐานของประสบการณ์และคุณลักษณะของชาติ เช่น โมบิดิก จองเฮอร์แมน เมลวิลล์ (1851) การผจญภัยของฮักเคิลเบอร์รี ฟินน์ ของทเวน (1885) และรักเธอสุดที่รัก (The Great Gatsby) ของเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ (1925) อาจได้รับขนานนามว่า \"นวนิยายอเมริกันยิ่งใหญ่\"\nพลเมืองสหรัฐสิบสองคนได้รับรางวับโนเบลสาขาวรรณกรรม ล่าสุดคือ บ็อบ ดิลบันในปี 2016 วิลเลียม ฟอล์คเนอร์, เออร์เนสต์ เฮมิงเวย็และจอห์น สไตน์เบ็คมักจะาีชื่ออยูาสนหมู่นักเขียนที่มีอิทธิพลสูงสุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเภทของวรรณก่รมยอดนิยม เช่น ตะวันตดและบันเทิงคดีอาชญากรรม ฮาร์ดบอยด์ ที่พัฒนาในสหรัฐ นักเขียนรุ่นบีต (Beat Generation) เปิดแนวทางวรรณกรรทใหม่ ซึ่งาีผู้ประพันธ์หลังสมัยใหม่ เช่น จอห์น บาร์ท, ทอมัส พินชอนและดอน เดอลิลโล\nนักคตินิยมเหนือเหตุผลซึ่งมีทอโรและราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สันเป็นผู้นำ สถาปนาขบวนการปรัชญาอเมริกันสำคัญขบวนการแรก หลังสงครามกลางเมือง ชาลส์ แซนเดอร์ เพิร์ซ และวิลเลียม เจมส์และจอห์ร ดูอีในบณะนั้นเป็นหัวหน้าสนการพัฒนาปฏิบ้ตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานของดับเบิลยู. วี. โอ. ไควน์และริชาร์ด รอร์ที และต่อมา โนม ชัมสกี นำกรัชญาวิเคราะห์มาสู่ส่วนหน้าของวิชาการปรัชญาอเมริกัน จอห์น รอวส์และรอเบิร์ต โนซิกนำการรื้อฟื้นปรัชญาการเมือง คอร์เนล เวสต์และยูดิท บัตเลอร์นำประเพณีแห่งทวีปในวิชาการปรัชญาอเมริกัน นักเศรษฐศาสร์สำนักชิคาโกอย่างมิลตัน ฟรีดแมน, เจมส์ บ้. บิวแคนอนและทอมัส โซลกระทบต่อสาขาต่าง ๆ ในปรัชญาสังคมและการเมือง\nในด้านทะศนศิลป์ สกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันเป็นขบวนการสมัยกลางครเสต์ศตวรรษที่ 19 ในดิานประเพณีของธรรมชาตเนิยมแบบยุโรป จิตรกรรมสัจนิยมของทอมัส เอคิาส์ปัจจึบันเป็นที่ยกย่องอย่างดพร่หลาย อาร์เมอรีโชฝ์ปี 1913 ในนครนิวยอร์ก นิทรรศการศิลปะสมัยใหม่แบบยุโรป ทำให้สาธารณะประหลาดใจและเปลี่ยนฉากศิลปะของสหรั. จอร์เจีย โอคีฟ, มาร์สเดน ฮาร์ตลีย์และอื่น ๆ ได้ทดลองกับลีลาปัจเจกนิยมแบบใหม่ ขบวนการทางศิลปะที้สำคัญเช่น ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมของแจ็กสัน พอลล็อกและวิลเลิม เดอ โกนิง และศิลปะประชานิยมของแอนดี วอร์ฮอลและรอย ลิกเทนสไตน์พัฒนาในสหรัฐเป็นส่วนมาำ กระแสของนวนิยมและหลังยุคนวนิยมได้นำชื่อเสียงให้กับใถาปนิกอเมริกัน เช่น แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์, ฟิลิก จแห์ตสันและแฟรงก์ เกห์รี ชาวอเมริกันมีคว่มสำคัญในสื่อภาพถ่ายศิลปะสมัยใหม่แต่ช้านาน โดยมีช่างภาพคนสกคัญอยืางอัลเฟรด สติกกลิซ, เอ็ดเวิร์ด สไตน์เคนและแอนเซล แอดัมส์\n\nผู้ส่งเสริมสำคัญคนแรก ๆ ขอฝโรงละครอเมริปัน คือ พี. ที. บาร์นัม ผู้เริ่มดำเนินงานศูนย์ความยันเทิงแมนฮัตตันตอนลรางฝนปี 1841 ทีมแฮร์ริแกนและโาร์ตผลิตสุขนาฏกรรมดนตรีอันเป็นที่นิยมเห็นชุดในนิวยอร์กเริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1870 ใาคริสต์ศตวรรษที่ 20 รูปแบบดยตรีสมยัใหม่ถือกำเนิดขึ้จในบ่อดเวย์; เพลงของค่ตกวีละครเะลง เช่น เออร์วิง เบดร์ลิน, โคล พอร์เตแร์ และ สตีเฟน ซอนไฮม์กลายเป็นมาตรฐานป๊อป นักเขียนบทลัคร ยูตึน ฏอนีลได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี 1936; นักเขียนบทละรรสหรัฐอื่น ๆ ที่ได้รับการยกย่อง รวมถึงผู้ชนะรางวัลพูลิตเซอร์หลายสมัย อทนเนสซี วิลเลียมส์, เอ็ดเวิร์ด อัลบีและออกัส วิลสัน\nแม้ว่าจะเป็นที่รู้จักกันน้อยในขณะนี้น แต่งานของ ชาลส์ ไอฟส์ฝนคริสต์ทศวรรษ 1910 ทำให้เขากลายเป็นนักแต่งเพลงคนแรกที่สำคัญของสหรัฐในประเพณีคลาสสิก ขณะที่นักทดลอง เช่น เฮนรี เคาเอิล (Henry Ciwell) และจอห์น เคจ สร้างแนวทางอเมริกันที่โดดเด่นให้กับเพลงประพันธ์คลาสสิก แอรอน โคปลันด์แชะจอร๋จ เกิร์ชว้นพัฒนาภาวะสังเคราะห์ใหม่ของดนตรีป๊อบและคลาสสิก\nนักออกแบบท่าเต้น อิซาดอรา ดันแคน และมาร์ธา เกรแฮมช่วยสร้างก่รเต้นรำสมัยใหม่ ในขณะที่จอร์จ บาลานไชน์และเจิโรม รอบบินม์ เป็นผู้นำบัลเลต์คริสต์ศตวรรษที่ 20\n=== กีฬา ===\nอเมริกันฟัตบอลในด้านต่าง ๆ ดป็นกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุด เนชันแนลฟุตบอลลีก (NFL) มีผู้ชมเฉลี่ยขดงลีกกีฬาสูงสุดในโลกทุกชนิด และซูเปอร์โบวล์มีผู้ชมหลายล้านคนทั่วโลก เบมบอลถือเป็นกีฬาประจำชาติสหรัฐตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยที่เมเจอร์ลีกเบสบอล (MLB) เป็นลีกใูงสุด บาสเกตบอลและฮ็อกกีน้ำแข็งเป็นกีฬาทีมอาชีพอันดับต้น ๆ อีกสองชนิด โดยมีลีกสูงสุดคือ สมาคมบาสเกตบอลแห่ฝชาติ (NNA) และลีกฮอกกี้แห่งชาติ (NHL) ไุตยอลว้ทยาลัขและบาสเกตบอลดังดูดผู้ชมจำนวนมาก ในกีฬาฟุตบอล สหรัฐจะดฟุตบอลโลก 1994 ทีมฟุตบอลแห่งชาติประเภทชายเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 10 ครั้ง และทีมหญิงชนะฟุตบอลโลก 3 ครั้ง เมเจอร์ลีกซอกเกอร์เป็นลีกสูงสุดของฟุตบอลในสหรัฐ (มีทีมอเมริกัต 19 ทีม และแคนาดา 3 ทีม) ตลาดกีฬาอาชีพในสหรัฐมีมูลค่าประมาณ 69,000 ล้านดอลลาร์สหรัซ ใหซ่กว่าตลาดทั้งทวีปยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริการวมกัรประมาณ 50%\nมีกทรจัดกีฬาโอลิมปิกแปดครั้งในสหรัฐ ในปี 2014 สหรัฐได้เหรียญรางวัล 2,400 เหรียญในโอลิมปิกฤดูร้อน มากกว่าทุกประเทศ และ 281 เปรียญในโอลิมปอกฤดูหนาว าาพที่สุดเป็นอันดับสอลรองจากประเทศนอร์เวย์ แม้ว่ากีฬาสำคัญของสหรัฐส่วนมากมาจากทว่ปยุโรป แต่กีฬาบาสเกตบอล วอลัลย์บอล สเกตบอร์ดและสโนว์บอร์ดเป็นประดิษฐกรรมของสหรัฐ ซึ่งบางชนิดยังได้รับความนิยมในประเทศอื่นด้วย ลาครอสและโต้คลื่นมาจากกิจกรรมของอเมริกันพื้นเมืองและฮทวายพื้นเมืองซึ่งมัมาก่อนการติดต่แของชาบตะวันตก กีฬาเดี่ยวที่มีผู้ชมมากที่สุด ได้แก่ กอล์ฟและการแข่งรถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตาสคาร์ รักบี้ยูเนียนถือเป็นกีฬาที่เติบโตเร็วที่สุดในสหรัฐ โดยมีผู้เล่นลงืะเบียนกว่า 115,000 คนแชะมีปู้เข้าร่วมอีก 1.2 ล้านคน\n=== ดนตรี ===\n\nลีลาจังหวะและเนื้อร้องของดนตรีแอฟริกันอเมริกันมีแิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อดนตรีอเมริกันเป็นส่วนใหญ่ ทำให้มันแตกต่างจากดนตรียุโรป ดนตรีส่วนที่มาจากสำนวนชาวบ้านอย่างบลูส์และที่ปัจจุบันเรียก ดนตรีโอลด์ไทม์ (old-time) นั้นได้รับมาปละแปลงเป็นประเภทที่ได้รับความนิยมกับผู้ชมทั่วโลก แจ๊สประดิษฐ์ขึ้นจากบุคคลอย่างหลุยส์ อาร์มสตรองและดุ๊ก เอลลิงตันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ดนตรีคันทรีพัฒนาขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1920 และบลูส์ในคริสต์ทญวรรษ 1940\nเอลวิส เพรสลีย์และชัค เบอร์รีเป็นผู้บุกเบิกร็อกแอนด์ธรลช่วงกลางคริสต์ทศยรรษ 1950 ในคริสต์ทศวรรษ 1960 บ๊อบ ดีแลนถือกำเนิดขึ้นจากการรื้อฟื้นดนตรีชาวบ้านจนกลายเป็นผู้เขียนเพลงที่ได้รับการยกจ่องสูงสัดคนหนึ่งของสหรัฐ และเจมส์ บราวน์นำการพัฒนาดนรรีฟังก์ การสร้างสรรค์ของสหรัฐช่วงหลัง ๆ รวมถึงฮิปฮอปและดนตรีเฮาส์ ดาราป๊อปอย่างเพรสลีย์, ไมเคิล แจ็กสันและมาแอนนากลายเป็นผู้มีชื่อเสียงทเ่วโลก เช่นเดียวกับศิลปินดนรรีร่วมวมัยอย่างเทย์เลอร์ สวิฟต์, บริตนีย็ สเปียส์, เคที เพร์รีและบียอนเซ่ ตลอะจนศิลปินฮิปฮอป เจย์-ซี, เอ็มมิเน็มและคานเย เวสต์ วงร็อกอย่าวเมทัลลิกา ดิอีเกิลส์และแอโรสมิธมียอดขายทั่วโลกสูงสุดอันดับค้น ๆ\n=== สื่อ ===\n\nผู้แพร่สัญญาณสี่รายหลัพในสหรัฐ ได้แก่ บริษัทแพร่สัญซาณแห่งชาติ (NBC), ระบบแพร่สัญญาณโคลัมเบีย (CBS), บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกุน (ABC) และฟ็อกซ์ เครือข่ายโทรทัศน์แพร่สัญญาณสี่รายหลักขอวสหรัฐ้ป็นเครือข่่ยพาณิชย์ทั้งสิ้น ชาวอเมริกันหังรายการว้ทยุ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นราชการพาณิชย์ โดยเฉลี่ยกว่าสองชั่วโมงครึ่งต่อวัต\nในปี 1998 สถานีวิทยุพาณิชย์ของสหรัฐเติบโตเป็นสถานีเอเอ็ม 4,793 สถานีและเอฟเอ็ม 5,662 สถานี นอกจากนร้ ยังมีสถานีวิทยุสาธาณะ 1,460 สถานี สถานีเผล่านี้ส่วนมากมีมหาวิทยาลัยและองค์การรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ด้านการศึกษาแลัมีเงินทุนจาหสาธารณะหรือเอกบน การรับสมาชิกและการรับประกันภัยของบริษัท เอ็นพีอาร็เป็นผู้แพร่สัญาณวิทยุสาธารณะจหนวนมาก (เดิมคือ วิทยุสาธารณะแห่งชาติ) เอ็นพีอาร์ถูกก่อตั้งเป็นบริษัทในเดือนกุมภาพันธ์ 1970 พายใต้รัฐบัญญัติกสรแพร่สัญญาณสาธารณะปี 1967 องค์การโทรทัศน์ พีบีเอส ก็ถูกก่อตั้งขึ้นจากกฎหมายฉบับเดียวกัน ในวัสที่ 30 กันยายน 2014 มีสถานีวิทยุเต็มกำลังจดทะเบียน 15,433 สถานีในสหรัฐตามข้อมูลของคณะกรรมการการสื่อสารกลางสหรัฐ (FCC)\nกนังสือพิมพ์ขึ้นชื่อรวมถึง เแอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล, เดอะนิวยอร์กไทมส์และยูเอสเอทูเดย์ แม้ว่าค่าใล้จ่ายของการจัดพิมพ์เพิ่มขึ้นในช่วงหลายปีทีรผ่านมา แต่ราคาของหนังสือพิมพ์โดยทั่วไปยังต่ำอยู่ ทำให้หนังสือพิมพ์อาศัยรายรับจากการโฆษณามากขุ้นและบทความที่บาิการสายข่ายหลักจัดหาให้ เช่น แอสโซศิเอเต็ดเพรสหรือรอยเตอส์ สำหรับความครอบคลุมระดับชาติและโลก หนังสือพิมพ์เกือบทุกฉบับในสหรัฐเป็นของเอกชน ไม่ว่าเป็นลูกโซ่ขนาดใหญ่อย่งแกนเน็ตหรือแม็กแคลทชี ซึ่งเป็นเจ้าของหนังสทอพิมพ์หลายสิบหรือหลายร้อยฉบับ ลูกโซ่ขนาดเล็กซึ่งเป็นเน้าของหนังสืดพิมพ์จำนวนหนึ่ง หรือมีปัจเจกบุคคลหรือครอบคตัวเป็นเจ้าของซึ่งพบได้น้อยลงทุกที นครใหญ่มักมี \"รายสัปดาห์ทางอลือก\" เพิ่อส่งเสริมหนังสือพิมพ์รายวันกระแสหลัก ตัวอข่างเช่น เดอะวิลเลจวอยซ์ของนครนิวยอร์ก หรือแอลเอวีกลีของลอสแอนเขลิส ซึ่งเป็นสองฉบับที่ขึ้นชื่อมาแที่สุด นครหลักยังสนับสนุนวารสารธุรกิจท้องถิ่น หนังสืดพิมพ์การค้าซึ่งเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท้องถเ่น และหนังสือพิมพ์ส_หรับกลุ่มชาติพันธุ์และสังคมท้องถิ่น แถบตลกหนังสือพิมพ์อเมริกันฉบังแรก ๆ และหนังสือดาร์ตูนอเมริกันเริ่มปรากฏในคริสต์ศตวรรษท้่ 19 ในปี 1938 ซูเปอร์แมน ซูเปอร์ฮีโรหนังสือการ์ตูนของดีซีคอมิกส์ พเฒนาเป็นสัญร๔ปอะมริกัน นอกเหนือจากเว็บพอร์ทัลแลถโปรแกรมค้นหา เว็บไซต์ยอดนิยมได้แก่ เฟซบุ๊ก ยูทูบ วิกิพีเดีย ยทฮู! อีเบย์ แอมะซอนและทวิตเตอร์\nมีสิ่งพเมพ์เผยแพร่กว่า 800 ฉบับผลิตในภาษาสเปน ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กันมนกที่สุดเป็นอันดับสองในสหรัฐรองจากภาษาอังกฤษ\n== เชิงอรรถ ==\n== อ้างอิง ==\n== บรรณานุกรม ==\nข้อมูบทางอินเทอร์เน็ต\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUnited States. The World Fzctbook. Central Intelligence Agency.\nUnited States, from the BBC News\nKey Development Forevastw for the United States grom International Futurws\nรัฐชาล\nOffic8al U.S. Government Web Portal Gateway to government sites\nHouse Officiak site of the Unitwd States House of Representqtives\nSenate Official site of the United States Senate\nWhite House Official site of the president of the United States\nSupreme Court Official site of the Su'reme Court of tye United States\nประวัติศาสตร์\nHistorical Documents Collected by the National Center for Public Policy Research\nU.S. National Mottos: History and Constitutionality Analysis by the Pntario Consultants on Religious Tolerance\nUSA Collected links to historical data\nแผนที่\nNational Atlas of the Uniged States Official maps from the U.S. Department of tge Ibterior\nMeasurr of America A variety of mapped information relating to g2alth, education, income, anf demographics for the U.S.\nภาพ\nPhotos of thr USA\n \nส\nรัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2319\nอดีตอาณานิคมของอังกฤษ\nอดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของอังกฤษในทวีปอเมริกา\nส\nอภิมหาอำนาจ",
"role": "user"
},
{
"content": "สหรัฐอเมริกา (United States of America; ย่อเป็น: U.S.A. หรือ USA) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States; ย่อเป็น: U.S. หรือ US) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐซึ่งตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ หนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ รวมทั้งเขตสงวนอินเดียน 326 แห่ง และเกาะรอบนอกประเทศอีก 9 แห่ง สหรัฐมีพรมแดนทางทิศเหนือติดประเทศแคนาดา และทางทิศใต้ติดเม็กซิโก และยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับหลายประเทศ เช่น บาฮามาส คิวบา และ รัสเซีย ด้วยพื้นที่กว่า 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร และประชากรราว 333 ล้านคน ทำให้สหรัฐมีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รวมทั้งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกา เมืองหลวงของประเทศคือกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และนครใหญ่ที่สุดคือนิวยอร์ก ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ\nอินเดียนดึกดำบรรพ์จากยูเรเชียย้ายถิ่นมาแผ่นดินใหญ่ทวีปอเมริกาเหนือเมื่อ 15,000 ปีก่อน การยึดเป็นอาณานิคมของยุโรปเริ่มในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สหรัฐกำเนิดจาก 13 อาณานิคมของบริเตนตามชายฝั่งตะวันออก ข้อพิพาทหลายครั้งระหว่างบริเตนใหญ่และอาณานิคมหลังสงครามเจ็ดปีนำสู่การปฏิวัติอเมริกาซึ่งเริ่มในปี 1775 เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 1776 ผู้แทนจาก 13 อาณาเขตลงมติรับคำประกาศอิสรภาพเป็นเอกฉันท์ ขณะที่อาณานิคมกำลังต่อสู้กับบริเตนใหญ่ในสงครามปฏิวัติอเมริกา สงครามยุติในปี 1783 โดยราชอาณาจักรบริเตนใหญ่รับรองเอกราชของสหรัฐ และเป็นสงครามประกาศอิสรภาพต่อจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกด้วย มีการลงมติรับรัฐธรรมนูญของประเทศในปี 1788 หลังบทบัญญัติสมาพันธรัฐ (Articles of Confederation) ซึ่งมีการลงมติรับในปี 1781 รู้สึกว่าให้อำนาจแก่สหพันธรัฐไม่เพียงพอ ในปี 1791 มีการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสิบครั้งแรก ซึ่งเรียกรวมว่า รัฐบัญญัติสิทธิ ซึ่งออกแบบมาเพื่อประกันเสรีภาพพลเมืองพื้นฐานหลายข้อ\nสหรัฐเริ่มขยายดินแดนอย่างแข็งขันทั่วทวีปอเมริกาเหนือตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 ขับไล่เผ่าอเมริกันพื้นเมือง ซื้อดินแดนใหม่ และค่อย ๆ รับรัฐใหม่จนขยายทั่วทวีปในปี 1848 ระหว่างครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 สงครามกลางเมืองอเมริกานำให้ยุติความเป็นทาสตามกฎหมายในประเทศ เมื่อถึงสิ้นศตวรรษนั้น สหรัฐขยายเข้ามหาสมุทรแปซิฟิก และเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่เริ่มเติบโตอย่างรวดเร็ว และกลายเป็นชาติที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกในปี 1900 สงครามสเปน–อเมริกาและสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยืนยันสถานภาพมหาอำนาจทางทหารโลกของสหรัฐ การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวรรดิญี่ปุ่นนำสหรัฐเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สองโดยร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร ภายหลังสงครามยุติ สหรัฐและสหภาพโซเวียตได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นสองอภิมหาอำนาจโลกนำไปสู่ช่วงเวลาแห่งความขัดแย้ง เป็นผลให้เกิดสงครามเย็นซึ่งกินเวลาหลายทศวรรษ ทว่าไม่มีการสู้รบกันโดยตรง ทั้งสองชาติยังมีส่วนร่วมในการแข่งขันอวกาศนำไปสู่ต้นกำเนิดของอะพอลโล 11 ซึ่งนำมนุษย์เดินทางสู่ดวงจันทร์เป็นครั้งแรก ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมืองซึ่งเริ่มต้นในทศวรรษ 1950 นำไปสู่การออกกฎหมายเพื่อล้มล้างกฎหมายของรัฐ และกฎหมายท้องถิ่นโดย จิม โครว์ รวมถึงขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติต่อชาวแอฟริกันอเมริกัน การสิ้นสุดลงของสงครามเย็นและการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ส่งผลให้สหรัฐกลายเป็นรัฐอภิมหาอำนาจเดี่ยวของโลก เหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน นำประเทศเข้าสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งรวมถึงสงครามอัฟกานิสถาน และสงครามอิรัก\nสหรัฐเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ใช้ระบบสองสภาพร้อมด้วยระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยมและใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาด มีตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน คุณภาพชีวิต รายได้และความมั่งคั่ง ความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และการศึกษาสูง มีการรับรู้การฉ้อราษฎร์บังหลวงต่ำ แต่มีระดับการกักขังและความเหลื่อมล้ำสูง สหรัฐเป็นประเทศเบ้าหลอมวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่เกิดจากการอพยพเข้าเมืองหลายศตวรรษ ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และสัตว์ป่าของประเทศยังมีความหลากหลายอย่างยิ่ง โดยเป็นหนึ่งในสิบเจ็ดประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก\nสหรัฐถือเป็นประเทศพัฒนาสูง มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตามอัตราจีดีพี โดยคิดเป็นอัตราส่วนถึงหนึ่งในสี่ของจีดีพีโลก สหรัฐประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับสองของโลก และแม้มีประชากรรวมเพียง 4.2% ของโลก ทว่าสหรัฐมีความมั่งคั่งโดยรวมคิดเป็นกว่า 30% ของโลก และมีค่าใช้จ่ายทางการทหารมากถึงหนึ่งในสามของโลก ทำให้เป็นชาติเศรษฐกิจและการทหารแนวหน้า สหรัฐเป็นประเทศการเมืองและวัฒนธรรมโดดเด่น และผู้นำทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเทคโนโลยีBBC, April 2008: Country Profile: United States of America และยังเป็นผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ, ธนาคารโลก, กองทุนการเงินระหว่างประเทศ, องค์การนานารัฐอเมริกา, เนโท รวมทั้งเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ\n== นิรุกติศาสตร์ ==\nในปี 1507 นักเขียนแผนที่ชาวเยอรมัน มาร์ติน วัลด์เซมึลเลอร์ ผลิตแผนที่โลกซึ่งเขาได้ตั้งชื่อดินแดนทางซีกโลกตะวันตกในแผนที่ดังกล่าวว่า \"อเมริกา\" ตามชื่อของนักสำรวจและนักเขียนแผนที่ชาวอิตาเลียน อเมริโก เวสปุชชี หลักฐานเอกสารแรกของวลี \"สหรัฐอเมริกา\" มาจากจดหมายลงวันที่ 2 มกราคม 1776 ซึ่งสตีเฟน มอยแลน นายทหารผู้ช่วยของจอร์จ วอชิงตันและนายพลแห่งกองทัพภาคพื้นทวีป ส่งถึงพลโท โจเซฟ รีด มอยแลนแสดงความปรารถนาของเขาในการนำ \"อำนาจเต็มและเกินพอของสหรัฐอเมริกา\" ไปประเทศสเปนเพื่อสนับสนุนในความพยายามของสงครามปฏิวัติ สิ่งพิมพ์เผยแพร่แรกเท่าที่ทราบของวลี \"สหรัฐอเมริกา\" อยู่ในความเรียงไม่ทราบผู้เขียนในหนังสือพิมพ์ เดอะเวอร์จิเนียกาเซต ในวิลเลียมสเบิร์ก เวอร์จิเนีย เมื่อวันที่ 6 เมษายน 1776\nเดิมอดีตอาณานิคมอังกฤษได้ใช้ชื่อเรียกสมัยใหม่ของประเทศในคำประกาศอิสรภาพ (\"การประกาศอิสรภาพของสิบสามสหรัฐอเมริกาด้วยน้ำหนึ่งใจเดียวกัน\") ประกาศใช้โดย \"คณะผู้แทนสหรัฐอเมริกา\" เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2319 ส่วนชื่อในปัจจุบันได้รับการสรุปเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2320 เมื่อสภานิติบัญญัติภาคพื้นทวีปที่สองได้ประกาศใช้ข้อบังคับแห่งสมาพันธรัฐ ความว่า \"สมาพันธรัฐซึ่งตั้งขึ้นนี้ เรียกว่า \"สหรัฐอเมริกา\" ถ้อยคำมาตรฐานสั้น ๆ ซึ่งใช้เรียกสหรัฐอเมริกา คือ สหรัฐ (United States) และชื่อเรียกอีกหลายรูปแบบ ได้แก่ the U.S., the USA และ America คำว่า Columbia ก็เคยเป็นชื่อที่ได้รับความนิยมในการเรียกสหรัฐอเมริกา ซึ่งมาจากชื่อของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส และยังปรากฏในชื่อ \"District of Columbia\" อีกด้วย\nสำหรับการเรียกสหรัฐอเมริกาของคนไทย ในอดีต เคยเรียกชื่อสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการว่า \"สหปาลีรัฐอเมริกา\" ส่วนชื่ออื่นที่ใช้เรียกสหรัฐอเมริกา เช่น มะกัน ลุงแซม อินทรี พญาอินทรี เจ้าโลก หรือ ตำรวจโลก\n=== ภาษาศาสตร์ ===\nในภาษาอังกฤษ คำมาตรฐานซึ่งหมายถึงพลเมืองของสหรัฐอเมริกา คือ อเมริกัน (American) ถึงแม้ว่า United States จะเป็นคำคุณศัพท์อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งคำว่า American และ U.S. เป็นคำคุณศัพท์อันเป็นที่นิยมมากกว่า ในการระบุถึงสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ อเมริกัน ยังอาจหมายถึง ทวีปอเมริกา อีกด้วย แต่มักจะถูกใช้น้อยมากในภาษาอังกฤษ เพื่อหมายความถึงประชากรซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับสหรัฐอเมริกา\nเดิม วลี \"สหรัฐอเมริกา\" ถือว่าเป็นคำพหูพจน์ (ใช้กับคำกริยา are, were, ...) — รวมทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 13 ซึ่งมีผลใช้บังคับในปี พ.ศ. 2408 อีกด้วย แต่คำดังกล่าวได้กลายมาเป็นคำเอกพจน์ (ใช้กับคำกริยา is, was, ...) — หลังจากยุคสงครามกลางเมือง และได้กลายมาเป็นรูปแบบมาตรฐานในปัจจุบัน แต่รูปแบบพหูพจน์ก็ยังคงปรากฏในสำนวน \"these United States\"\n== ประวัติศาสตร์ ==\n=== ชนพื้นเมืองและประวัติศาสตร์ยุคก่อนโคลัมบัส ===\n\nผู้อยู่อาศัยในทวีปอเมริกาเหนือคนแรก ๆ ย้ายถิ่นจากไซบีเรียโดยทางสะพานบกเบริงและมาถึงอย่างน้อย 15,000 ปีมาแล้ว แม้มีหลักฐานเพิ่มขึ้นที่เสนอว่าอาจมาถึงก่อนหน้านั้นอีก หลังข้ามสะพานบกแล้ว ชาวอเมริกันกลุ่มแรกย้ายลงใต้ โดยอาจตามชายฝั่งแปซิฟิก หรือผ่านหิ้งปลอดน้ำแข็งในแผ่นดินระหว่างหิ้งน้ำแข็งคอร์ดิลเลอร์แรน (Cordilleran) และลอเรนไทด์ (Laurentide) วัฒนธรรมโคลวิสปรากฏประมาณ 11,000 ปีก่อน และถือว่าเป็นบรรพบุรุษของวัฒนธรรมพื้นเมืองสมัยหลังของทวีปอเมริกาส่วนใหญ่ แม้คิดกันตลอดปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ว่าวัฒนธรรมโคลวิสเป็นตัวแทนของการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งแรกในทวีปอเมริกา แต่ในช่วงปีหลัง ๆ ได้เปลี่ยนมาตระหนักถึงวัฒนธรรมก่อนโคลวิส\nต่อมา วัฒนธรรมพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น และบางวัฒนธรรมเช่น วัฒนธรรมมิสซิสซิปปีสมัยก่อนโคลัมบัสในทางตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาการกสิกรรมก้าวหน้า สถาปัตยกรรมใหญ่ และสังคมระดับรัฐ ตั้งแต่ประมาณปี 800 ถึง 1600 วัฒนธรรมมิสซิสซิปปีเฟื่องฟู และนครใหญ่สุด คะโฮเคีย (Cahokia) ถือเป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนโคลัมบัสที่ใหญ่และซับซ้อนที่สุดในสหรัฐปัจจุบัน ในภูมิภาคเกรตเลกส์ทางใต้ มีการก่อตั้งสมาพันธรัฐอิระควอยในบางช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 15 และอยู่มาจนสิ้นสงครามปฏิวัติ\nการตั้งถิ่นฐานหมู่เกาะฮาวายครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นยังเป็นหัวข้อการถกเถียงที่ยังดำเนินอยู่ หลักฐานโบราณคดีดูเหมือนบ่งชี้ว่ามีนิคมตั้งแต่ปี 124 ระหว่างการเดินเรือครั้งที่สามและครั้งสุดท้าย กัปตันเจมส์ คุกเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เริ่มการติดต่อกับฮาวายอยางเป็นทางการ หลังการขึ้นฝั่งครั้งแรกในเดือนมกราคม 1778 ที่ท่าไวเมีย เกาะคาไว คุกตั้งชื่อกลุ่มเกาะนี้วา \"หมู่เกาะแซนด์วิช\" ตามเอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช รักษาราชการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือของราชนาวีบริติช\n=== นิคมยุโรป ===\n\nหลังสเปนส่งโคลัมบัสในการล่องเรือเที่ยวแรกของเขาสู่โลกใหม่ ในปี 1492 ก็มีนักสำรวจอื่นตามมา ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาถึงดินแดนของสหรัฐสมัยใหม่เป็นกองกิสตาดอร์สเปนอย่างควน ปอนเซ เด เลออน ซึ่งเดินทางถึงฟลอริดาครั้งแรกในปี 1513 ทว่า หากคิดดินแดนที่ไม่รวมเข้าด้วยกันของสหรัฐด้วยแล้ว ความชอบจะเป็นของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสซึ่งขึ้นฝั่งที่ปวยร์โตรีโกในการเดินทางปี 1493 ชาวสเปนตั้งนิคมแห่งแรกในฟลอริดาและนิวเม็กซิโกอย่างเซนต์ออกัสตีน และแซนตาเฟ ชาวฝรั่งเศสตั้งอาณานิคมของตนเช่นกันตามแม่น้ำมิสซิสซิปปี การตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษที่สำเร็จตามชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือเริ่มด้วยอาณานิคมเวอร์จิเนียในปี 1607 ที่เจมส์ทาวน์ และอาณานิคมพลีมัทของพิลกริมในปี 1620 ผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนมากเป็นกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนขัดแย้งที่มาแสวงเสรีภาพทางศาสนา มีการสร้างสภาเบอร์จัสซิส (House of Burgesses) แห่งเวอร์จิเนีย ซึ่งเป็นสภานิติบัญญัติที่มาจากการเลือกตั้งแห่งแรกของทวีป ในปี 1619 และข้อตกลงร่วมกันเมย์ฟลาวเออร์ (Mayflower Compact) ซึ่งพิลกริมลงนามก่อนขึ้นฝั่ง และภาคีมูลฐานแห่งคอนเนกติคัด สถาปนาแบบอย่างสำหรับรูปแบบการปกครองตนเองแบบมีผู้แทนและระบอบรัฐธรรมนูญซึ่งจะพัฒนาทั่วอาณานิคมอเมริกา\nผู้ตั้งถิ่นฐานส่วนมากในทุกอาณานิคมเป็นเกษตรกรรายย่อย แต่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นในไม่กี่ทศวรรษแตกต่างกันตามนิคม พืชเศรษฐกิจมียาสูบ ข้าวเจ้าและข้าวสาลี อุตสาหกรรมการสกัดเติบโตขึ้นในหนังสัตว์ การประมงและการทำไม้ ผู้ผลิตผลิตรัมและเรือ และเมื่อถึงสมัยอาณานิคมตอนปลาย ชาวอเมริกันก็ผลิตหนึ่งในเจ็ดของอุปสงค์เหล็กโลก สุดท้ายนครต่าง ๆ ผุดขึ้นตามชายฝั่งเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจท้องถิ่นและใช้เป็นศูนย์กลางการค้า ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอังกฤษมีระลอกชาวสกอต-ไอริชและกลุ่มอื่นเข้ามาเสริม เมื่อที่ดินชายฝั่งมีราคาแพงขึ้นทำให้แรงงานสัญญา (indentured servant) ที่เป็นอิสระถูกผลักไปทางทิศตะวันตก\nการค้าทาสขนานใหญ่กับไพรวะเทียร์อังกฤษเริ่มต้น การคาดหมายคงชีพของทาสในทวีปอเมริกาเหนือสูงกว่าทางใต้มาก เนื่องจากมีโรคน้อยกว่าและมีอาหารและการปฏิบัติที่ดีกว่า นำให้มีการเพิ่มจำนวนของทาสอย่างรวดเร็ว สังคมอาณานิคมส่วนใหญ่แบ่งแยกกันระหว่างการส่อความทางศาสนาและศีลธรรมของความเป็นทาส และอาณานิคมผ่านรัฐบัญญัติทั้งสนับสนุนและคัดค้านทาส แต่เมื่อย่างเข้าคริสต์ศตวรรษที่ 18 ทาสแอฟริกาก็เป็นแรงงานพืชเศรษฐกิจแทนที่แรงงานสัญญา โดยเฉพาะในภาคใต้\nด้วยการทำให้จอร์เจียเป็นอาณานิคมของบริติชในปี 1732 จึงมีการสถาปนาสิบสามอาณานิคมที่จะกลายเป็นสหรัฐในเวลาต่อมา ทุกอาณานิคมมีรัฐบาลท้องถิ่นและการเลือกตั้งที่เปิดแก่ชายไททุกคน โดยมีการฝักใฝ่สิทธิชนอังกฤษโบราณและสำนึกการปกครองตนเองที่กระตุ้นการสนับสนุนสาธารณรัฐนิยม ด้วยอัตราการเกิดที่สูงมาก อัตราการตายที่ต่ำมากและการตั้งถิ่นฐานอย่างต่อเนื่อง ประชากรอาณานิคมจึงเติบโตอย่างรวดเร็ว ประชากรอเมริกันพื้นเมืองค่อนข้างน้อยถูกบดบัง ขบวนการฟื้นฟูคริสต์ศาสนิกชน (Christian revivalist) คริสต์ทศวรรษ 1730 และ 1740 ที่เรียก การตื่นใหญ่ (Great Awakening) ช่วยเร่งความสนใจทั้งศาสนาและเสรีภาพในการนับถือศาสนา\nระหว่างสงครามเจ็ดปี (หรือเรียก สงครามฝรั่งเศสและอินเดียน) กำลังบริติชยึดแคนาดาจากฝรั่งเศส แต่ประชากรที่พูดภาษาฝรั่งเศสยังโดดเดี่ยวทางการเมืองจากอาณานิคมทางใต้ 13 อาณานิคมเหล่านี้มีประชากรกว่า 2.1 ล้านคนหรือประมาณหนึ่งในสามของบริเตนในปี 1770 หากไม่นับอเมริกันพื้นเมืองซึ่งถูกพิชิตและขับไล่ แม้มีการเข้ามาใหม่อย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเพิ่มตามธรรมชาติสูงจนเมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1770 มีชาวอเมริกันน้อยมากที่เกิดโพ้นทะเล ระยะห่างของอาณานิคมจากบริเตนทำให้มีการพัฒนาการปกครองตนเอง แต่ความสำเร็จของพวกเขาบันดาลให้พระมหากษัตริย์มุ่งย้ำพระราชอำนาจอยู่เป็นระยะ\nในปี 1774 เรือกองทัพเรือสเปน ซานเตียโก ภายใต้ควน เปเรซเข้าและทอดสมอในทางเข้าที่นูตคาซาวน์ (Nootka Sound) แม้ชาวสเปนมิได้ขึ้นฝั่ง แต่ชนพื้นเมืองพายเรือมายังเรือสเปนเพื่อค้าหนังสัตว์แลกกับเปลือกแอบะโลนีจากแคลิฟอร์เนีย ในเวลานั้น สเปนสามารถผูกขาดการค้าระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกาเหนือได้โดยให้ใบอนุญาตจำกัดแก่โปรตุเกส เมื่อชาวรัสเซียเริ่มสถาปนาระบบการค้าหนังสัตว์ที่เติบโตขึ้นในอะแลสกา ชาวสเปนเริ่มคัดค้านรัสเซีย โดยการเดินเรือของเปเรซเป็นครั้งแรก ๆ ที่ไปแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ\nหลังมาถึงหมู่เกาะฮาวายในปี 1778 กัปตันคุกแล่นเรือขึ้นเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อสำรวจฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือซึ่งอยู่เหนือกว่านิคมสเปนในอัลตาแคลิฟอร์เนีย เขาขึ้นบกที่ฝั่งออริกอนที่ประมาณละติจูด 44°30′ เหนือ โดยตั้งชื่อจุดขึ้นบกนั้นว่า เคปเฟาล์เวเทอร์ ลมฟ้าอากาศเลวบังคับให้เรือของเขาลงใต้ไปประมาณ 43° เหนือก่อนสามารถเริ่มการสำรวจชายฝั่งไปทางเหนือ ในเดือนมีนาคม 1778 คุกขึ้นบกที่เกาะไบล และตั้งชื่อทางเข้าว่า \"คิงจอจส์ซาวด์\" เขาบันทึกว่าชื่อชนพื้นเมือง คือ นุตคาหรือนูตคา\n==== ผลต่อและอันตรกิริยากับประชากรพื้นเมือง ====\nด้วยความคืบหน้าของการทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในดินแดนสหรัฐร่วมสมัย อเมริกันพื้นเมืองมักถูกพิชิตและย้ายถิ่น ประชากรพื้นเมืองของอเมริกาเสื่อมลงหลังชาวยุโรปมาถึง และด้วยหลายสาเหตุ จากโรคอย่างโรคฝีดาษและโรคหัดเป็นหลัก ความรุนแรงมิใช่ปัจจัยสำคัญในการเสื่อมลงโดยรวมในหมู่อเมริกันพื้นเมือง แม้มีความขัดแย้งระหว่างกันเองและกับชาวยุโรปมีผลต่อบางเผ่าและนิคมอาณานิคมต่าง ๆ\nในช่วงแรกของการทำให้เป็นอาณานิคม ผู้ตั้งถิ่นฐานยุโรปจำนวนมากประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร โรคและการโจมตีจากอเมริกันพื้นเมือง อเมริกันพื้นเมืองยังมักก่อสงครามกับเผ่าใกล้เคียงและเป็นพันธมิตรกับชาวยุโรปในสงครามอาณานิคมของตนเอง ทว่า ในเวลาเดียวกัน ชนพื้นเมืองและผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนมากพึ่งพาอาศัยกัน ผู้ตั้งถิ่นฐานแลกเปลี่ยนเอาอาหารและหนังสัตว์ ส่วนชนพื้นเมืองแลกเอาปืน เครื่องกระสุนและสินค้ายุโรปอื่น ชนพื้นเมืองสอนผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนมากว่าจะเพาะปลูกข้าวโพด ถั่วและน้ำเต้าที่ไหน เมื่อใดและอย่างไร มิชชันนารียุโรปและอื่น ๆ รู้สึกว่าเป็นสิ่งสำคัญจะ \"ทำให้เจริญ\" ซึ่งอเมริกันพื้นเมืองและกระตุ้นให้พวกเขารับเทคนิคเกษตรกรรมและวิถีชีวิตของยุโรป\nการเดินเรือเที่ยวสุดท้ายของกัปตันเจมส์ คุกรวมถึงการแล่นตามชายฝั่งทวีปอเมริกาเหนือและอะแลสกาเพื่อแสวงช่องทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเวลาประมาณเก้าเดือน เขากลับฮาวายเพื่อเติมกำลังบำรุง เดิมสำรวจชายฝั่งเมาวีและเกาะใหญ่ ค้าขายกับคนท้องถิ่นแล้วทอดสมอที่อ่าวเกียลาเคกัวในเดือนมกราคม 1779 เมื่อเรือและพวกของเขาออกจากเกาะ เสาเรือหักในลมฟ้าอากาศเลว บังคับให้พวกเขาหวนคืนในกลางเดือนกุมภาพันธ์ คุกถูกฆ่าในอีกหลายวันต่อมา\n=== เอกราชและการขยายอาณาเขต ===\n\nสงครามปฏิวัติอเมริกาเป็นสงครามประกาศอิสรภาพอาณานิคมที่สำเร็จครั้งแรกต่อชาติยุโรป ชาวอเมริกันพัฒนาอุดมการณ์ \"สาธารณรัฐนิยม\" โดยยืนยันว่ารัฐบาลจะต้องมาจากเจตจำนงของประชาชนโดยแสดงออกผ่านสภานิติบัญญัติท้องถิ่น พวกเขาเรียกร้องสิทธิเป็นชาวอังกฤษและ \"ห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทน\" ฝ่ายบริติชยืนยันการบริหารจักรวรรดิผ่านรัฐสภา และความขัดแย้งบานปลายเป็นสงคราม\nหลังการผ่านข้อมติลีเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 1776 ซึ่งเป็นการออกเสียงลงมติเอกราชที่แท้จริง สภาทวีปที่สองลงมติรับคำประกาศอิสรภาพในวันที่ 4 กรกฎาคม ซึ่งประกาศในคำปรารภยาวว่า มนุษยชาติถูกสร้างขึ้นมาเท่าเทียมกันในสิทธิที่ไม่อาจโอนกันได้และบริเตนใหญ่ไม่คุ้มครองสิทธิเหล่านี้ และประกาศในคำของข้อมติว่าสิบสามอาณานิคมเป็นรัฐเอกราชและไม่สวามิภักดิ์กับพระมหากษัตริย์บริติชในสหรัฐ มีการเฉลิมฉลองวันที่ 4 กรกฎาคมทุกปีเป็นวันประกาศอิสรภาพ ในปี 1777 บทบัญญัติสมาพันธรัฐ (Articles of Confederation) สถาปนารัฐบาลอ่อนที่ดำเนินการจนปี 1789\nบริเตนรับรองเอกราชของสหรัฐหลังปราชัยที่ยอร์กทาวน์ในปี 1781 ในสนธิสัญญาสันติภาพปี 1783 เอกราชของสหรัฐได้รับการรับรองจากชายฝั่งแอตแลนติกไปทางตะวันตกถึงแม่น้ำมิสซิสซิปปี นักชาตินิยมนำการประชุมฟิลาเดลเฟียปี 1787 ในการเขียนรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ ให้สัตยาบันในการประชุมรัฐในปี 1788 มีการจัดระเบียบรัฐบาลกลางใหม่เป็นสามอำนาจ โดยหลักการสร้างการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประโยชน์ ในปี 1789 จอร์จ วอชิงตันซึ่งนำกองทัพปฏิวัติคว้าชัย เป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ ในปี 1791 มีการลงมติรับบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมืองซึ่งห้ามการจำกัดเสรีภาพส่วนบุคคลของรัฐบาลกลางและรับประกันการคุ้มครองทางกฎหมายต่าง ๆ\nแม้รัฐบาลกลางทำให้การค้าทาสระหว่างประเทศเป็นความผิดในปี 1808 แต่หลังปี 1820 การใช้ทาสเพาะปลูกผลผลิตฝ้ายที่ได้กำไรสูงปะทุในดีปเซาท์ พร้อมกับจำนวนประชากรทาสด้วย การตื่นใหญ่ที่สอง (Second Great Awakening) โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี 1800–1840 เข้ารีตคนหลายล้านคนสู่โปรเตสแตนท์อีแวนเจลิคัล (evangelical) ในทิศเหนือ เหตุนี้ทำให้เกิดขบวนการปฏิรูปสังคมหลายขบวนการซึ่งรวมการเลิกทาส ในภาคใต้ มีการชวนเข้ารีตเมทอดิสต์ (Methodist) และแบปทิสต์ในหมู่ประชากรทาส\n\nความกระตือรือร้นของสหรัฐในการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันตกทำให้เกิดสงครามอเมริกันอินเดียนยืดเยื้อ การซื้อลุยเซียนาซึ่งดินแดนที่ฝรั่งเศสอ้างในปี 1803 ทำให้ประเทศมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว สงครามปี 1812 ซึ่งประกาศต่อบริเตน กับความเดือดร้อนต่าง ๆ และการต่อสู้เพื่อดึงดูดและเสริมชาตินิยมสหรัฐ ชุดการบุกเข้าทางทหารสู่ฟลอริดานำให้สเปนยกดินแดนดังกล่าวและดินแดนฝั่งอ่าว (Gulf Coast) ในปี 1819 การขยายดินแดนได้รับการช่วยเหลือจากเครื่องจักรไอน้ำ เมื่อเรือจักรไอน้ำเริ่มล่องตามระบบธารน้ำขนาดใหญ่ของอเมริกาซึ่งเชื่อมด้วยคลองสร้างใหม่ เช่น อีรีและไอแอนด์เอ็ม แล้วกระทั่งรางรถไฟที่เร็วกว่าเริ่มลากข้ามดินแดนของประเทศ\nตั้งแต่ปี 1820 ถึง 1850 ประชาธิปไตยแบบแจ็กสันเริ่มชุดการปฏิรูปซึ่งรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของชายผิวขาวในวงกว้างขึ้น นำสู่ความเจริญของระบบพรรคที่สองประชาธิปไตยและวิกเป็นพรรคการเมืองหลังตั้งแต่ปี 1828 ถึง 1854 เส้นทางธารน้ำตาในคริสต์ทศวรรษ 1830 เป็นตัวอย่างของนโยบายกำจัดอินเดียนซึ่งตั้งถิ่นฐานอินเดียนใหม่ทางตะวันตกในเขตสงวนอินเดียน สหรัฐผนวกสาธารณรัฐเท็กซัสในปี 1845 ระหว่างสมัยเทพลิขิตซึ่งมีลักษณะขยายดินแดน สนธิสัญญาออริกอนปี 1846 กับบริเตนนำให้สหรัฐควบคุมภาคตะวันตกเฉียงเหนือปัจจุบัน ชัยในสงครามเม็กซิโก–อเมริกาลงเอยด้วยการยกแคลิฟอร์เนียของเม็กซิโกและพื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคตะวันตกเฉียงใต้ปัจจุบัน\nการตื่นทองที่แคลิฟอร์เนียปี 1848–1849 กระตุ้นการย้ายถิ่นไปทางตะวันตกและการสถาปนารัฐทางตะวันตกเพิ่ม หลังสงครามกลางเมืองอเมริกา ระบบรางข้ามทวีปใหม่ทำให้การย้ายถิ่นง่ายขึ้นสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐาน การค้าภายในขยายตัวและความขัดแย้งกับอเมริกันพื้นเมืองเพิ่มขึ้น กว่าครึ่งศตวรรษ การสูญเสียอเมริกันไบซันมีผลกระทบต่อการดำรงอยู่ต่อวัฒนธรรมอินเดียนที่ราบหลายวัฒนธรรม ในปี 1869 นโยบายสันติภาพใหม่มุ่งคุ้มครองอเมริกันพื้นเมืองจากการละเมิด เลี่ยงสงครามเพิ่ม และประกันความเป็นพลเมืองสหรัฐในที่สุด แม้ความขัดแย้งซึ่งรวมสงครามอินเดียนครั้งใหญ่สุดหลายครั้งยังดำเนินต่อไปทั่วตะวันตกจนล่วงเข้าคริสต์ทศวรรษ 1900\n=== สงครามกลางเมืองและสมัยการบูรณะ ===\n\nข้อแตกต่างของความเห็นและระเบียบสังคมระหว่างรัฐภาคเหนือและภาคใต้ในสังคมสหรัฐช่วงแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวข้องกับทาสผิวดำ จนสุดท้ายนำสู่สงครามกลางเมืองอเมริกา เดิมทีรัฐเข้าสู่สหภาพสลับกันระหว่างรัฐทาสและรัฐเสรีเพื่อรักษาสมดุลภาคในวุฒิสภา ขณะที่รัฐเสรีมีประชากรมากกว่ารัฐทาสและมีผู้แทนในสภาผู้แทนราษฎรมากกว่า แต่ด้วยมีดินแดนตะวันตกและรัฐเสรีเพิ่มขึ้น ความตึงเครียดระหว่างรัฐทาสและรัฐเสรีสูงขึ้นด้วยการถกเถียงเกี่ยวกับระบอบสหพันธรัฐ การโอนการครอบครองดินแดน ควรขยายหรือจำกัดความเป็นทาสหรือไม่และอย่างไร\nอับราฮัม ลินคอล์น ผู้ชนะการเลือกตั้ง ในปี 1860 ประธานาธิบดีคนแรกจากพรรครีพับลิกันซึ่งส่วนใหญ่ต่อต้านความเป็นทาส สุดท้ายการประชุมในสิบสามรัฐทาสประกาศแยกตัวออกและตั้งสมาพันธรัฐอเมริกา ขณะที่รัฐบาลกลางยืนยันว่าการแยกตัวออกไม่ชอบด้วยกฎหมาย สงครามที่เกิดขึ้นให้หลังนั้นทีแรกเป็นสงครามเพื่อรักษาสหภาพ และหลังจากปี 1863 เมื่อกำลังพลสูญเสียเพิ่มขึ้นและลินคอล์นออกประกาศปลดปล่อยให้เป็นอิสระ (Emancipation Proclamation) เป้าหมายสงครามที่สองกลายเป็นการเลิกทาส สงครามนี้เป็นความขัดแย้งทางทหารที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ ทำให้มีทหารเสียชีวิตประมาณ 618,000 คนและพลเรือนอีกเป็นอันมาก\nหลังฝ่ายสหภาพมีชัยในปี 1865 มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐสามครั้ง การแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 13 ห้ามความเป็นทาส การแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14 มอบความเป็นพลเมืองแก่แอฟริกันอเมริกันที่เคยเป็นทาสเกือบสี่ล้านคน และการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 15 รับประกันว่าพวกเขามีสิทธิออกเสียงลงคะแนน สงครามและผลลัพธ์นำสู่การเพิ่มอำนาจของรัฐบาลกลางอย่างมากโดยมีเป้าหมายเพื่อบูรณาการและสร้างใหม่ซึ่งรัฐภาคใต้ขณะที่รับประกันสิทธิของทาสที่เพิ่งเป็นไท สงครามและผลนำสู่การเพิ่มอำนาจรัฐบาลกลางอย่างสำคัญ โดยมีเป้าหมายเพื่อบูรณาการใหม่และสร้างใหม่ซึ่งรัฐภาคใต้พร้อมกับรับประกันสิทธิของทาสที่เพิ่งเป็นไท\nนักอนุรักษนิยมผิวขาวภาคใต้ซึ่งเรียกตนว่า \"ผู้ไถ่\" (Redeemer) เข้าควบคุมหลังสิ้นสุดการบูรณะ เมื่อถึงช่วงปี 1890–1910 กฎหมายจิม โครว์พรากสิทธิออกเสียงลงคะแนนคนผิวดำส่วนใหญ่และคนขาวยากจนบางส่วน คนดำเผชิญการแบ่งแยกทางเชื้อชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคใต้ ชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติบางครั้งเผชิญการลงประชาทัณฑ์\n=== การปรับให้เป็นอุตสาหกรรม ===\n\nในภาคเหนือ การขยายตัวของเมืองและการหลั่งไหลของคนเข้าเมืองจากยุโรปใต้และยุโรปตะวันออกอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำให้มีแรงงานเหลือเฟือสำหรับการปรับประเทศให้เป็นอุตสาหกรรมและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม โครงสร้างพื้นฐานของประเทศซึ่งมีโทรเลขและทางรถไฟข้ามทวีปกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและการตั้งถิ่นฐานยิ่งใหญ่ขึ้นและการพัฒนาโอลด์เวสต์อเมริกา การประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าและโทรศัพท์ ต่อมายังมีผลต่อการคมนาคมและชีวิตคนเมือง\nการสิ้นสุดของสงครามอินเดียนยิ่งขยายพื้นที่ภายใต้การเพาะปลูกโดยใช้เครื่องจักร เพิ่มส่วนเกินสำหรับตลาดระหว่างประเทศ การขยายดินแดนแผ่นดินใหญ่สำเร็จด้วยการซื้ออะแลสกาจากจักรวรรดิรัสเซียในปี 1867 ในปี 1893 ส่วนนิยมอเมริกาในฮาวายล้มราชาธิปไตยและตั้งสาธารณรัฐฮาวาย ซึ่งสหรัฐผนวกในปี 1898 สเปนยกปวยร์โตรีโก กวมและฟิลิปปินส์ให้สหรัฐในปีเดียวกันหลังสงครามสเปน–อเมริกา\nการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ช่วยให้นักอุตสาหกรรมโดดเด่นจำนวนมากเฟื่องฟูขึ้น นักธุรกิจใหญ่อย่างคอร์เนเลียส แวนเดอร์บิลท์, จอห์น ดี. ร็อกเกอะเฟลเลอร์และแอนดรูว์ คาร์เนกีนำความก้าวหน้าของชาติในอุตสาหกรรมรางรถไฟ ปิโตรเลียมและเหล็กกล้า การธนาคารกลายเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจ โดยเจ. พี. มอร์แกนมีบทบาทเด่น ทอมัส เอดิสันและนิโคลา เทสลาทำให้ไฟฟ้ากระจายแพร่หลายสู่อุตสาหกรรม บ้านเรือนและสำหรับการให้แสงสว่างตามถนน เฮนรี ฟอร์ดปฏิวัติอุตสาหกรรมยานยนต์ เศรษฐกิจอเมริกาเฟื่องฟูและกลายเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดของโลก และสหรัฐได้สถานภาพมหาอำนาจ การเปลี่ยนแปลงรวดเร็วนี้กอปรกับความไม่สงบทางสังคมและความเจริญของขบวนการประชานิยม สังคมนิยมและอนาธิปไตย สุดท้ายสมัยนี้สิ้นสุดลงด้วยการมาของสมัยก้าวหน้า (Progressive Era) ซึ่งมีการปฏิรูปสำคัญในสังคมหลายด้าน ซึ่งรวมทั้งสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของสตรี การห้ามแอลกอฮอล์ การกำกับสินค้าบริโภค มาตรการป้องกันการผูกขาดที่มากขึ้นเพื่อประกันการแข่งขันและความใส่ใจความเป็นอยู่ของแรงงาน\n=== สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ และสงครามโลกครั้งที่สอง ===\n\nสหรัฐวางตนเป็นกลางตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งปะทุในปี 1914 จนถึงปี 1917 เมื่อเข้าร่วมสงครามเป็น \"ชาติสมทบ\" ร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอย่างเป็นทางการ โดยช่วยเปลี่ยนทิศทางของสงครามต่อฝ่ายมหาอำนาจกลาง ในปี 1919 ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันรับบทบาทการทูตนำ ณ การประชุมสันติภาพปารีสและสนับสนุนอย่างแข็งขันให้สหรัฐเข้าร่วมสันนิบาตชาติ ทว่า วุฒิสภาปฏิเสธไม่อนุมัติและไม่ให้สัตยาบันสนธิสัญญาแวร์ซายซึ่งสถาปนาสันนิบาตชาติ\nในปี 1920 ขบวนการสิทธิสตรีชนะการผ่านการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของสตรี คริสต์ทศวรรษ 1920 และ 1930 มีความเจริญเติบโตของสื่อสารมวลชนประเภทวิทยุและมีการประดิษฐ์โทรทัศน์ขึ้นในยุคแรก ความเฟื่องฟูของทเวนตีร้องคำราม (Roaring Twenties) สิ้นสุดด้วยเหตุการณ์วอลล์สตรีทตกปี 1929 และการเริ่มต้นภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ หลังแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในปี 1932 เขาสนองด้วยข้อตกลงใหม่ (New Deal) ซึ่งรวมการสถาปนาระบบหลักประกันสังคม การย้ายถิ่นใหญ่ของแอฟริกันอเมริกันหลายล้านคนจากภาคใต้ของสหรัฐเริ่มก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกินเวลาจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 ขณะที่ชามฝุ่น (Dust Bowl) กลางคริสต์ทศวรรษ 1930 ทำให้ชุมชนกสิกรรมจำนวนมากยากจนและทำให้เกิดการย้ายถิ่นทางตะวันตกระลอกใหม่\nทีแรกสหรัฐวางตนเป็นกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างที่เยอรมนีพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่ สหรัฐเริ่มจัดหาปัจจัยแก่ฝ่ายสัมพันธมิตรในเดือนมีนาคม 1941 ผ่านโครงการให้ยืม-เช่า วันที่ 7 ธันวาคม 1941 จักรวรรดิญี่ปุ่นเปิดฉากโจมตีอย่างจู่โจมต่อเพิร์ลฮาร์เบอร์ ทำให้สหรัฐเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรสู้รบกับฝ่ายอักษะ ระหว่างสงคราม สหรัฐถูกเรียกว่าเป็นหนึ่งใน \"สี่ตำรวจ\" แห่งฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ประชุมกันวางแผนโลกหลังสงคราม ร่วมกับบริเตน สหภาพโซเวียตและจีน แม้สหรัฐเสียทหารกว่า 400,000 นาย แต่แทบไม่ได้รับความเสียหายจากสงครามและยิ่งมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางทหารมากยิ่งขึ้นอีก\nสหรัฐมีบทบาทนำในการประชุมเบรตตันวูดส์และยัลตากับสหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียตและฝ่ายสัมพันธมิตรอื่นซึ่งลงนามความตกลงว่าด้วยสถาบันการเงินระหว่างประเทศใหม่และการจัดระเบียบใหม่หลังสงครามของทวีปยุโรป เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรชนะในทวีปยุโรปแล้ว การประชุมระหว่างประเทศในซานฟรานซิสโกในปี 1945 ได้ออกกฎบัตรสหประชาชาติซึ่งมีผลใช้บังคับหลังสงคราม สหรัฐพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรกและใช้มันกับญี่ปุ่นในนครฮิโระชิมะและนะงะซะกิ ญี่ปุ่นยอมจำนนในวันที่ 2 กันยายน ยุติสงครามโลกครั้งที่สอง\n=== สงครามเย็นและยุคสิทธิมนุษยชน ===\n\nหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหรัฐและสหภาพโซเวียตประชันชิงอำนาจระหว่างสมัยสงครามเย็น ขับเคลื่อนด้วยการแบ่งแยกอุดมการณ์ระหว่างทุนนิยมและคอมมิวนิสต์ ทั้งสองครอบงำกิจการทหารของทวีปยุโรป โดยมีสหรัฐและพันธมิตรนาโต้ฝ่ายหนึ่งและสหภาพโซเวียตและพันธมิตรสนธิสัญญาวอร์ซออีกฝ่ายหนึ่ง สหรัฐพัฒนานโยบายการจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาต่อการขยายอิทธิพลตอมมิวนิสต์ ขณะที่สหรัฐและสหภาพโซเวียตต่อสู้ในสงครามตัวแทนและพัฒนาคลังอาวุธนิวเคลียร์ทรงพลัง และสองประเทศเลี่ยงความขัดแย้งทางทหารโดยตรง\nสหรัฐมักคัดค้านขบวนการโลกที่สามซึ่งมองว่าโซเวียตสนับสนุน ทหารอเมริกันต่อสู้กำลังคอมมิวนิสต์จีนและเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลีปี 1950–1953 การปล่อยดาวเทียมดวงแรกของสหภาพโซเวียตปี 1957 และการปล่อยเที่ยวบินอวกาศที่มีมนุษย์โดยสารครั้งแรกในปี 1961 เริ่ม \"การแข่งขันอวกาศ\" ซึ่งสหรัฐเป็นชาติแรกที่นำมนุษย์ลงจอดดวงจันทร์ในปี 1969 สงครามตัวแทนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สุดท้ายกลายเป็นการเข้าไปมีส่วนพัวพันเต็มตัวของอเมริกา เช่น สงครามเวียดนาม\nในประเทศ สหรัฐมีการขยายทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและการเติบโตของประชากรและชนชั้นกลางอย่างรวดเร็ว การก่อสร้างระบบทางหลวงระหว่างรัฐแปรสภาพโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในเวลาหลายทศวรรษถัดมา คนหลายล้านคนผละไร่นาและนครชั้นใน (inner city) สู่การพัฒนาเคหะชานเมืองขนาดใหญ่ ในปี 1959 ฮาวายกลายเป็นรัฐที่ 50 และรัฐล่าสุดของสหรัฐที่เพิ่มเข้าประเทศ ขบวนการสิทธิพลเมืองที่เติบโตขึ้นใช้สันติวิธีเผชิญกับการแบ่งแยกและการเลือกปฏิบัติ โดยมีมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์เป็นผู้นำคนสำคัญและหัวโขน คำวินิจฉัยของศาลและกฎหมายประกอบกันลงเอยด้วยรัฐบัญญัติสิทธิพลเมืองปี 1968 ซึ่งมุ่งยุติการเลือกปฏิบัติทางเพศ ขณะเดียวกัน ขบวนการวัฒนธรรมต่อต้านเติบโตขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากการค้านสงครามเวียดนาม ชาตินิยมผิวดำและการปฏิวัติทางเพศ\nการเปิดฉาก \"สงครามต่อความยากจน\" โดยประธานาธิบดี ลินดอน บี. จอห์นสัน ขยายการให้สิทธิ์และการใช้จ่ายด้านสวัสดิการ ซึ่งรวมการสร้างเมดิแคร์และเมดิเคด สองโครงการซึ่งให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพต่อผู้สูงอายุและผู้ยากไร้ตามลำดับ และโครงการสแตมป์อาหาร (Food Stamp Program) และช่วยเหลือครอบครัวที่มีเด็กพึ่งพิง (Aid to Families with Dependent Children)\nคริสต์ทศวรรษ 1970 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เริ่มมีการชะงักทางเศรษฐกิจ หลังประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกนได้รับเลือกตั้งในปี 1980 เขาตอบโต้ด้วยการปฏิรูปเน้นตลาดเสรี หลังการล่มสลายของการผ่อนคลายความตึงเครียด เขาเลิก \"การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนา\" และริเริ่มยุทธศาสตร์ \"ม้วนกลับ\" ที่ก้าวร้าวขึ้นต่อสหภาพโซเวียต หลังมีการเพิ่มขึ้นของแรงงานสตรีในทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้ในปี 1985 สตรีที่มีอายุตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไปส่วนใหญ่มีงานทำ\nปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 มีการ \"ผ่อนคลาย\" ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียต และการล่มลายในปี 1991 ยุติสงครามเย็นในที่สุด เหตุนี้นำมาซึ่งภาวะขั้วเดียว โดยสหรัฐเป็นอภิมหาอำนาจครอบงำของโลกโดยไร้ผู้ต่อกร มโนทัศน์สันติภาพอเมริกา (Pax Americana) ซึ่งปรากฏในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นคำเรียกระเบียบโลกใหม่ยุคหลังสงครามเย็นที่ได้รับความนิยมกว้างขวาง\n=== ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ===\nหลังสงครามเย็น ความขัดแย้งในตะวันออกกลางจุดชนวนวิกฤตการณ์ในปี 1990 เมื่อประเทศอิรักภายใต้ซัดดัม ฮุสเซนบุกครองและพยายามผนวกประเทศคูเวต กับพันธมิตรของสหรัฐ ด้วยเกรงว่าความไร้เสถียรภาพจากลามไปภูมิภาคอื่น ประธานาธิบดีจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจึงเปิดฉากปฏิบัติการโล่ทะเลทราย การส่งกำลังป้องกันในประเทศซาอุดีอาระเบีย และปฏิบัติการพายุทะเลทรายในขั้นที่เรียก สงครามอ่าว โดยมีกำลังผสมจาก 34 ประเทศนำโดยสหรัฐต่อประเทศอิรัก ยุติด้วยการขับกำลังอิรักออกจากประเทศคูเวตได้สำเร็จ ฟื้นฟูราชาธิปไตยคูเวต\nอินเทอร์เน็ตซึ่งกำเนิดในเครือข่ายกลาโหมสหรัฐลามไปเครือข่ายวิชาการระหว่างประเทศ และสู่สาธารณะในปี 1990 มีผลใหญ่หลวงต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมโลก\nเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม นโยบายการเงินแบบเสถียรภาพภายใต้แอลัน กรีนสแพนและการลดรายจ่ายสวัสดิการสังคม คริสต์ทศวรรษ 1990 มีการขยายทางเศรษฐกิจใหญ่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐสมัยใหม่ซึ่งสิ้นสุดในปี 2001 เริ่มตั้งแต่ปี 1994 สหรัฐเข้าสู่ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เชื่อมประชากร 450 ล้านคนซึ่งผลิตสินค้าและบริการมูลค่า 17 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เป้าหมายของความตกลงคือเพื่อกำจัดอุปสรรคการค้าและการลงทุนในสหรัฐ ประเทศแคนาดาและเม็กซิโกในวันที่ 1 มกราคม 2008 การค้าในหมู่ไตรภาคีเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่ NAFTA มีผลใช้บังคับ\nวันที่ 11 กันยายน 2001 ผู้ก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์โจมตีเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ในนครนิวยอร์กและอาคารเพนตากอนใกล้กับกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ทำให้มีผู้เสียชีวิตเกือบ 3,000 คน สหรัฐตอบโต้ด้วยการเปิดฉากสงครามต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งรวมสงครามในอัฟกานิสถานและสงครามอิรักปี 2003–2011 ในปี 2007 รัฐบาลบุชสั่งเพิ่มกำลังทหารครั้งใหญ่ในสงครามอิรัก ซึ่งลดความรุนแรงและนำสู่เสถียรภาพเพิ่มขึ้นในภูมิภาคอย่างเป็นผล\nนโยบายของรัฐบาลซึ่งออกแบบเพื่อส่งเสริมการเคหะที่มีราคาไม่แพง ความล้มเหลวกว้างขวางของบรรษัทภิบาลและธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล (regulatory governance) และอัตราดอกเบี้ยต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ของระบบธนาคารกลาง นำสู่ฟองสบู่การเคหะกลางคริสต์ทศวรรษ 2000 จนลงเอยด้วยวิกฤตการณ์การเงินปี 2008 เป็นการหดตัวทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศนับแต่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ บารัก โอบามา ประธานาธิบดีแอฟริกันอเมริกันและหลายเชื้อชาติคนแรก ได้รับเลือกตั้งในปี 2008 ท่ามกลางวิกฤต และต่อมาผ่านมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและรัฐบัญญัติการปฏิรูปวอลล์สตรีตและคุ้มครองผู้บริโภคด็อดด์-แฟรงก์เพื่อพยายามบรรเทาผลร้าย มาตรการกระตุ้นดังกล่าวอำนวยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการว่างงานลดลงโดยสัมพัทธ์ ด็อดด์-แฟรงก์พัฒนาเสถียรภาพทางการเงินและการคุ้มครองผู้บริโภค แต่มีผลลบต่อการลงทุนธุรกิจและธนาคารขนาดเล็ก\nในปี 2010 รัฐบาลโอบามาผ่านรัฐบัญญัติการบริบาลที่เสียได้ ซึ่งเป็นการปฏิรูปครั้งที่ครอบคลุมที่สุดต่อระบบสาธารณสุขของประเทศในเกือบห้าทศวรรษ ซึ่งรวมการมอบอำนาจ เงินอุดหนุนและการแลกเปลี่ยนประกัน กฎหมายนี้ทำให้ลดจำนวนและร้อยละของผู้ไม่มีประกันสุขภาพลงอย่างสำคัญ โดยมี 24 ล้านคนครอบคลุมระหว่างปี 2016 กระนั้น กฎหมายนี้เป็นที่โต้เถียงเนื่องจากผลกระทบต่อราคาสาธารณสุข เบี้ยประกันภัยและสมรรถภาพทางเศรษฐกิจ แม้ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำถึงจุดต่ำสุดในเดือนมิถุนายน 2009 แต่ผู้ออกเสียงลงคะแนนยังคับข้องใจกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ล่าช้า พรรครีพับลิกันซึ่งคัดค้านนโยบายของโอบามา ได้ควบคุมสภาผู้แทนราษฎรอย่างถล่มทลายในปี 2010 และควบคุมวุฒิสภาในปี 2014\nมีการถอนกำลังอเมริกันในประเทศอิรักในปี 2009 และ ปี 2010 และมีการประกาศให้สงครามในภูมิภาคยุติลงอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม 2011 การถอนกำลังดังกล่าวทำให้การก่อการกำเริบนิกายนิยมบานปลาย นำสู่ความเจริญของรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ ซึ่งเป็นผู้สืบทอดของอัลกออิดะฮ์ในภูมิภาค ในปี 2014 โอบามาประกาศฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางทูตสมบูรณ์กับประเทศคิวบาเป็นครั้งแรกนับแต่ปี 1961 ปีต่อมา สหรัฐซึ่งเป็นสมาชิกประเทศพี5+1 ลงนามแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม ซึ่งเป็นความตกลงที่มุ่งชะลอการพัฒนาโครงการนิวเคลียร์ของประเทศอิหร่าน\nดอนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีผู้มั่งมีที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐและประธานาธิบดีคนแรกที่ไม่มีประสบการณ์ทางการเมืองและการทหารก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2016 ถือเป็นการเลือกตั้งที่มีผลลัพธ์ผิดคาดที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศ เขาเป็นผู้นำประเทศในการระบาดระลอกแรกของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อมา ในช่วงต้นทศวรรษ 2020 สหรัฐต้องเผชิญกับความขัดแย้งในประเทศที่สำคัญที่สุดครั้งหนึ่ง การเสียชีวิตของจอร์จ ฟลอยด์ ก่อให้เกิดการประท้วงครั้งใหญ่รวมถึงเสียงวิจารณ์ในวงกว้างต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ความขัดแย้งยังทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง จากการเสียชีวิตของประชาชนจากเหตุการณ์กราดยิงในหลายพื้นที่ นำไปสู่ประเด็นถกเถียงต่อความเหมาะสมของกฎหมายในการครอบครองและพกพาอาวุธปืน ใน ค.ศ. 2022 ศาลสูงสุดหรือศาลฎีกา (Supreme Court) พิพากษายกเลิกคำตัดสินคดีระหว่างโรกับเวด ที่เคยพิพากษาเมื่อปี 1973 ว่าการทำแท้งเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ นำไปสู่การประท้วงในหลายพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมเริ่มกลับมาอีกครั้ง ชาวอเมริกันส่วนมากแสดงการต่อต้านการรุกรานยูเครนของรัสเซียอย่างเปิดเผย รัฐบาลสหรัฐตอบโต้ด้วยการยุติกิจการบริษัทหลายแห่งในรัสเซียและเบลารุส รวมถึงมีการสนับสนุนจากนักการเมืองระดับสูงในการส่งมอบอาวุธช่วยเหลือยูเครน การระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อกว่า 100 ล้านรายและมีผู้เสียชีวิตกว่า 1 ล้านคน ณ ค.ศ. 2023 ถือเป็นภาวะโรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ\n== ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม ==\n\n\nสหรัฐแผ่นดินใหญ่มีพื้นที่ 7,663,940.6 ตารางกิโลเมตร รัฐอะแลสกา ซึ่งมีประเทศแคนาดาคั่นสหรัฐแผ่นดินใหญ่ เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุด มีขนาด 1,717,856.2 ตารางกิโลเมตร รัฐฮาวายซึ่งเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีพื้นที่ 28,311 ตารางกิโลเมตร ดินแดนที่มีประชากรอาศัยของสหรัฐ ได้แก่ ปวยร์โตรีโก อเมริกันซามัว กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาและหมู่เกาะเวอร์จินรวมมีพื้นที่ 23,789 ตารางกิโลเมตร\nสหรัฐเป็นประเทศใหญ่สุดอันดับสามหรือสี่ของโลกเรียงตามพื้นที่ทั้งหมด (แผ่นดินและผืนน้ำ) รองจากประเทศรัสเซียและแคนาดา และมีอันดับสูงหรือต่ำกว่าจีน การจัดอันดับต่างกันขึ้นอยู่กับว่านับรวมดินแดนที่ประเทศจีนและอินเดียพิพาทหรือไม่ และวัดขนาดทั้งหมดของสหรัฐอย่างไร คือ การคำนวณมีตั้งแต่ 9,522,055.0 กม.2, 9,629,091.5 กม.2 ไปจนถึง 9,833,516.6 กม.2 หากวัดเฉพาะแผ่นดิน สหรัฐจะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามรองจากประเทศรัสเซียและจีน สูงกว่าแคนาดา\nที่ราบชายฝั่งทะเลแอตแลนติกให้ก่อให้เกิดป่าผลัดใบลึกเข้าไปในแผ่นดินและรอยคลื่นพีดมอนต์ (Piedmont) เทือกเขาแอปพาเลเชียนแบ่งชายฝั่งทะเลตะวันออกจากเกรตเลกส์และทุ่งหญ้าภาคกลางตะวันตก (Midwest) แม่น้ำมิสซิสซิปปี–มิสซูรี ระบบแม่น้ำยาวที่สุดอันดับสี่ของโลก ไหลส่วนใหญ่ในทิศเหนือ–ใต้ผ่านใจกลางประเทศ ที่ราบใหญ่ (Great Plains) ซึ่งเป็นทุ่งหญ้าราบอุดมสมบูรณ์แผ่ขยายไปทางทิศตะวันตก โดยมีพื้นที่สูงทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ขวาง\nเทือกเขาร็อกกี ณ ขอบทิศตะวันตกของที่ราบใหญ่ แผ่ขยายข้ามประเทศจากเหนือจรดใต้ มีระดับความสูงกว่า 4,300 เมตร ในรัฐโคโลราโด ไปอีกทางทิศตะวันตกเป็นแอ่งใหญ่ (Great Basin) หิน และทะเลทราย เช่น ทะเลทรายชิฮัวฮวนและโมฮาวี เทือกเขาเซียร์ราเนวาดาและแคสเคด (Cascade) ทอดใกล้กับชายฝั่งแปซิฟิก เทือกเขาทั้งสองนี้มีระดับความสูงกว่า 4,300 เมตร จุดต่ำสุดและสูงสุดในสหรัฐแผ่นดินใหญ่อยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และห่างกัน 135 กิโลเมตร ที่ระดับความสูง 6,194 เมตร ยอดเขาเดนาลี (ยอดเขาแม็กคินเลย์) ในรัฐอะแลสกาเป็นยอดเขาสูงสุดในประเทศและในทวีปอเมริกาเหนือ ภูเขาไฟที่ยังปะทุอยู่มีทั่วไปตลอดกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์และหมู่เกาะอะลูเชียนในรัฐอะแลสกา และรัฐฮาวายประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ ภูเขาไฟใหญ่ที่อยู่ในอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนในเทือกเขาร็อกกี เป็นลักษณะภูเขาไฟใหญ่สุดของทวีปอเมริกาเหนือ\nเนื่องจากสหรัฐมีขนาดใหญ่และความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ จึงมีลักษณะอากาศหลายชนิด ทางตะวันออกของเส้นเมอริเดียนที่ 100 ลักษณะอากาศมีตั้งแต่ภาคพื้นทวีปชื้นทางเหนือถึงกึ่งเขตร้อนชื้นทางใต้ ที่ราบใหญ่ทางตะวันตกของเส้นเมอริเดียนที่ 100 เป็นกึ่งแห้งแล้ง เขาทางตะวันตกส่วนใหญ่มีลักษณะอากาศแบบแอลป์ ลักษณะอากาศเป็นแบบแห้งแล้งในแอ่งใหญ่ ทะเลทรายในภาคตะวันตกเฉียงใต้ เมดิเตอร์เรเนียนในรัฐแคลิฟอร์เนียชายฝั่ง และภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรในชายฝั่งรัฐออริกอนและรัฐวอชิงตัน และทางใต้ของรัฐอะแลสกา รัฐอะแลสกาส่วนใหญ่เป็นแบบกึ่งอาร์กติกหรือขั้วโลก รัฐฮาวายและปลายใต้สุดของรัฐฟลอริดามีลักษณะอากาศแบบเขตร้อน เช่นเดียวกับดินแดนที่มีประชากรอยู่อาศัยในทะเลแคริบเบียนและมหาสมุทรแปซิฟิก อากาศสุดโต่งเป็นเรื่องไม่แปลก ในรัฐที่ติดอ่าวเม็กซิโกที่มีความเสี่ยงเกิดพายุเฮอร์ริเคน และทอร์เนโดส่วนใหญ่ของโลกเกิดในประเทศนี้ โดยเกิดในบริเวณตรอกทอร์เนโดแถบตะวันตกกลางและภาคใต้เป็นหลัก\n=== สัตว์ป่า ===\n\nนิเวศวิทยาของสหรัฐนั้นหลากหลายมาก (megadiverse) โดยมีพืชมีท่อลำเลียงประมาณ 17,000 ชนิดในสหรัฐแผ่นดินใหญ่และรัฐอะแลสกา และพบพืชดอกกว่า 1,800 ชนิดในรัฐฮาวาย ซึ่งมีจำนวนน้อยที่พบในแผ่นดินใหญ่ สหรัฐเป็นถิ่นที่อยู่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 428 ชนิด นก 784 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 311 ชนิดและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 295 ชนิด มีการพบแมลงประมาณ 91,000 ชนิด อินทรีหัวขาวเป็นนกประจำชาติและสัตว์ประจำชาติของสหรัฐ และเป็นสัญลักษณ์ของประเทศเสมอมา\nมีอุทยานแห่งชาติ 58 แห่งและอุทยาน ป่าและพื้นที่ที่ดินในสภาพธรรมชาติอื่นที่รัฐบาลกลางจัดการอีกนับหลายร้อยแห่ง เบ็ดเสร็จแล้วรัฐบาลเป็นเจ้าของพื้นที่ประมาณ 28% ของประเทศ ส่วนใหญ่พื้นที่เหล่านี้มีการคุ้มครอง แม้บางส่วนให้เช่าสำหรับการขุดเจาะน้ำมันและแก๊ส การทำเหมือง การทำไม้หรือการเลี้ยงปศุสตว์ ประมาณ 0.86% ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางทหาร\n\nปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นวาระแห่งชาติมาตั้งแต่ปี 1970 การโต้เถียงเรื่องสิ่งแวดล้อมรวมถึงการอภิปรายเรื่องน้ำมันและพลังงานนิวเคลียร์ การจัดการกับมลพิษทางอากาศและน้ำ ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจในการพิทักษ์สัตว์ป่า การทำไม้ และการทำลายป่า และการตอบสนองระหว่างประเทศเกียวกับภาวะโลกร้อน มีหน่วยงานของรัฐบาลกลางและรัฐหลายหน่วยงานเกี่ยวข้อง ที่โดดเด่นที่สุดคือ สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (Environmental Protection Agency) ที่ตั้งขึ้นตามคำสั่งของประธานาธิบดีในปี 1970 ความคิดเรื่องที่ดินในสภาพธรรมชาติได้ก่อรูปการจัดการที่ดินสาธารณะตั้งแต่ปี 1964 ด้วยบทบัญญัติที่ดินในสภาพธรรมชาติ (Wilderness Act) รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ปี 1973 มีเจตนาคุ้มครองชนิดที่อยู่ในข่ายเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์หรือใกล้การสูญพันธุ์และถิ่นที่อยู่ของพวกมัน โดยมีราชการปลาและสัตว์ป่าสหรัฐเป็นผู้ตรวจตรา\n== ประชากรศาสตร์ ==\n=== ประชากร ===\n{|class=\"infobox\" style=\"font-size: 90%; border: 4px solid whitesmoke; float: right; margin-left: 1em; width:310px\"\n|- style=\"background:#f5f5f5\"\n!เชื้อชาติ/ชาติพันธุ์ (ประมาณของ ACS ปี 2015)\n|-\n!แบ่งตามเชื้อชาติ:\n|-\n| ผิวขาว|| style=\"text-align:center;\" |73.1%\n|-\n| ผิวดำ || style=\"text-align:center;\" |12.7%\n|-\n| เอเชีย || style=\"text-align:center;\" |5.4%\n|-\n| อเมริกันอินเดียนและชนพื้นเมืองอะแลสกา|| style=\"text-align:center;\" |0.8%\n|-\n| ฮาวายพื้นเมืองและชาวเกาะแปซิฟิก|| style=\"text-align:center;\" |0.2%\n|-\n| พหุเชื้อชาติ|| style=\"text-align:center;\" |3.1%\n|-\n| เชื้อชาติอื่น || style=\"text-align:center;\" |4.8%\n|-\n!แบ่งตามชาติพันธุ์:\n|-\n| ฮิสแปนิก/ละติโน (ทุกเชื้อชาติ) || style=\"text-align:center;\" |17.6%\n|-\n| มิใช่ฮิสแปนิก/ละติโน (ทุกเชื้อชาติ) || style=\"text-align:center;\" |82.4%\n|}\n\nสำนักงานสำมะโนสหรัฐประมาณจำนวนประชากรของประเทศเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2016 ไว้ที่ 323,425,550 คน โดยเพิ่มขึ้น 1 คน (เพิ่มสุทธิ) ทุก 13 วินาที หรือประมาณ 6,646 คนต่อวัน ประชากรสหรัฐเพิ่มขึ้นเกือบสี่เท่าในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จากประมาณ 76 ล้านคนในปี 1900 สหรัฐเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสามของโลกรองจากประเทศจีนและอินเดีย สหรัฐเป็นประเทศอุตสาหกรรมหลักประเทศเดียวที่มีการทำนายการเพิ่มของประชากรขนาดใหญ่ ในคริสต์ทศวรรษ 1800 หญิงเฉลี่ยมีบุตร 7.04 คน เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1900 จำนวนดังกล่าวลดลงเหลือ 3.56 คน นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมา อัตราการเกิดลดต่ำกว่าอัตราทดแทน 2.1 โดยอยู่ที่บุตร 1.86 คนต่อหญิง 1 คนในปี 2014 การเข้าเมืองที่เกิดต่างด้าวทำให้ประชากรสหรัฐยังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยประชากรที่เกิดต่างด้าวเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าจากประมาณ 20 ล้านคนในปี 1990 เป็นกว่า 40 ล้านคนในปี 2010 โดยเป็นการเพิ่มของประชากรหนึ่งในสาม ประชากรที่เกิดต่างด้าวถึง 45 ล้านคนในปี 2015'\nสหรัฐมีประชากรหลากหลายมาก โดยกลุ่มบรรพบุรุษ 37 กลุ่มมีสมาชิกกว่า 1 ล้านคน ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่สุด (กว่า 50 ล้านคน) รองลงมาได้แก่ ชาวอเมริกันเชื้อสายไอร์แลนด์ (ประมาณ 37 ล้านคน), ชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิโก (ประมาณ 31 ล้านคน) และชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษ (ประมาณ 28 ล้านคน) ชาวอเมริกันผิวขาวเป็นกลุ่มเชื้อชาติใหญ่สุด ชาวอเมริกันผิวดำเป็นเชื้อชาติชนกลุ่มน้อยใหญ่สุดของประเทศ (หมายเหตุว่าในสำมะโนสหรัฐ อเมริกันฮิสแปนิกและละติโนนับเป็นกลุ่ม \"ชาติพันธุ์\" มิใช่กลุ่ม \"เชื้อชาติ\") และเป็นกลุ่มบรรพบุรุษใหญ่สุดอันดับสาม ชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียเป็นเชื้อชาติชนกลุ่มน้อยใหญ่สุดอันดับสอง โดยกลุ่มชาติพันธุ์ของชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียใหญ่สุดสามอันดับ ได้แก่ ชาวอเมริกันเชื้อสายจีน ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ และชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดีย\nสหรัฐมีอัตราเกิด 13 คนต่อ 1,000 คน ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโลก 5 คน อัตราการเติบโตของประชากรเป็นบวก 0.7% สูงกว่าประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ในปีงบประมาณ 2012 ผู้เข้าเมืองกว่าหนึ่งล้านคน (ส่วนมากเข้าประเทศผ่านการรวมครอบครัว) ได้รับถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย ประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศต้นทางของผู้อยู่อาศัยใหม่อันดับต้น ๆ ตั้งแต่รัฐบัญญัติการเข้าเมืองปี 1965 ประเทศจีน อินเดียและฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีผู้เข้าเมืองสูงสุดสี่อันดับทุกปีมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 ในปี 2012 ผู้อยู่อาศัยประมาณ 11.4 ล้านคนเป็นผู้เข้าเมืองไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในปี 2015 47% ของผู้เข้าเมืองทั้งหมดเป็นฮิสแปนิก 26% เป็นชาวเอเชีย 18% เป็นคนขาว และ 8% เป็นคนดำ ร้อยละของผู้เข้าเมืองซึ่งเป็นชาวเอเชียเพิ่มขึ้นส่วนร้อยละของผู้เป็นฮิสแปนิกลดลง\nชนกลุ่มน้อย (ซึ่งกรมสำมะโนนิยามว่าหมายถึงทุกคนยกเว้นคนผิวขาวที่มิใช่ฮิสปแปนิกและมิใช่หลายเชื้อชาติ) ประกอบเป็น 37.2% ของประชากรในปี 2012 และกว่า 50% ของเด็กอายุน้อยกว่าหนึ่งปี และคาดว่าจะกลายเป็นฝ่ายข้างมากเมื่อถึงปี 2044\nตามการสำรวจซึ่งดำเนินการโดยสถาบันวิลเลียมส์ ชาวอเมริกันเก้าล้านคน หรือประมาณ 3.4% ของประชากรผู้ใหญ่ระบุตนเองว่าเป็นรักร่วมเพศ รักสองเพศหรือข้ามเพศ การสำรวจมติมหาชนปี 2016 ยังสรุปว่า 4.1% ของชาวอเมริกันผู้ใหญ่ระบุตนเป็นแอลจีบีที ร้อยละสูงสุดมาจากเขตโคลัมเบีย (10%) ส่วนรัฐที่ตัวเลขต่ำสุด คือ รัฐนอร์ทดาโกตาที่ 1.7% การสำรวจในปี 2013 ศูนย์สำหรับการควบคุมและป้องกันโรคพบว่า 96.6% ระบุตนว่าตรงเพศ ส่วน 1.6% ระบุว่าเป็นเกย์หรือเลสเบียน และ 0.7% ระบุว่าเป็นรักสองเพศ\nในปี 2010 ประชากรสหรัฐประมาณ 5.2 ล้านคนมีบรรพบุรุษเป็นอเมริกันอินเดียนหรือชนพื้นเมืองอลาสก้า (2.9 ล้านคนที่มีเฉพาะของบรรพบุรุษดังกล่าว) และ 1.2 ล้านคนที่มีบรรพบุรุษชนพื้นเมืองฮาวายหรือชาวเกาะแปซิฟิก (0.5 ล้านคนมีเฉพาะบรรพบุรุษดังกล่าว) สำมะโนนับกว่า 19 ล้านคนอยู่ใน \"เชื้อชาติอื่น\" ซึ่ง \"ไม่สามารถระบุได้\" ว่าอยู่ในหมวดเชื้อชาติอย่างเป็นทางการห้าหมวดในปี 2010 โดยมีกว่า 18.5% (97%) ของจำนวนนี้มีชาติพันธุ์ฮิสแปนิก\nการเติบโตของประชากรฮิสแปนิกและละติโนอเมริกัน (คำดังกล่าวใช้แทนกันได้อย่างเป็นทางการ) เป็นแนวโน้มประชากรศาสตร์ที่สำคัญ สำนักงานสำมะโนระบุชาวอเมริกันเชื้อสายฮิสแปนิก 50.5 ล้านคน ว่ามี \"ชาติพันธุ์\" แยกต่างหาก 64% ของฮิสแปนิกอเมริกันมีเชื้อสายเม็กซิโก ระหว่างปี 2000 ถึง 2010 ประชากรฮิสแปนิกของประเทศเพิ่ม 43% ขณะที่ประชากรที่มิใช่ฮิสแปนิกเพิ่มเพียง 4.9% การเติบโตส่วนมากมาจากการเข้าเมือง ในปี 2007 12.7% ของประชากรสหรัฐเกิดต่างด้าว ขณะที่ 54% ในจำนวนนี้เกิดในละตินอเมริกา\nชาวอเมริกันประมาณ 82% อาศัยอยู่ในเขตเมือง (รวมชานเมือง) ในจำนวนนี้ประมาณกึ่งหนึ่งอาศัยอยู่ในนครที่มีประชากรกว่า 50,000 คน สหรัฐมีหลายกลุ่มนครที่เรียก เมกะรีจัน (megaregion) เมกะรีจันขนาดใหญ่สุดคือ อภิมหานครเกรตเลกส์ (Great Lakes Megalopolis) ตามด้วยอภิมหานครตะวันออกเฉียงเหนือและแคลิฟอร์เนียใต้ ในปี 2008 มีเทศบาล 273 เทศบาลที่มีประชากรกว่า 100,000 คน มีเก้านครที่มีผู้อยู่อาศัยกว่าหนึ่งล้านคน และสี่นครโลกที่มีประชากรกว่าสองล้านคน (นิวยอร์ก ลอสแอนเจลิส ชิคาโกและฮุสตัน) มี 52 พื้นที่มหานครที่มีประชากรกว่าหนึ่งล้านคน พื้นที่มหานครที่เติบโตเร็วที่สุด 47 จาก 50 พื้นที่อยู่ในภาคตะวันตกหรือภาคใต้ พื้นที่มหานครแซนเบอร์นาร์ดีโน แดลลัส ฮุสตัน แอตแลนตาและฟีนิกซ์ล้วนเติบโตกว่าหนึ่งล้านคนระหว่างปี 2000 ถึง 2008\n=== ภาษา ===\nภาษาอังกฤษ (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน) เป็นภาษาประจำชาติโดยพฤตินัย แม้ไม่มีภาษาราชการในระดับสหพันธรัฐ แต่กฎหมายบางฉบับ เช่น ข้อกำหนดการแปลงสัญชาติของสหรัฐ วางมาตรฐานภาษาอังกฤษ ในปี 2010 ประมาณ 230 ล้านคนหรือ 80% ของประชากรอายุตั้งแต่ห้าปีขึ้นไป พูดภาษาอังกฤษที่บ้านเท่านั้น ภาษาสเปน ซึ่งมีประชากร 12% พูดที่บ้าน เป็นภาษาที่พบมากที่สุดอันดับสองและเป็นภาษาที่สองที่สอนกันแพร่หลายที่สุด ชาวอเมริกันบางส่วนสนับสนุนให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของประเทศ เนื่องจากเป็นภาษาราชการแล้วใน 32 รัฐ\nทั้งภาษาฮาวายและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการในรัฐฮาวายตามกฎหมายของรัฐ แม้ไม่มีภาษาราชการ แต่รัฐนิวเม็กซิโกมีกฎหมายที่กำหนดการใช้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาสเปน เช่นเดียวกับที่รัฐลุยเซียนากำหนดให้ใช้ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส รัฐอื่น เช่น รัฐแคลิฟอร์เนียมีคำสั่งศาลสูงให้พิมพ์เผยแพร่เอกสารราชการบางชนิดเป็นภาษาสเปน รวมทั้งแบบของศาล หลายเขตอำนาจที่มีผู้ไม่พูดภาษาอังกฤษจำนวนมากมีการผลิตเอกสารรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารสนเทศการเลือกตั้ง ในภาษาที่มีผู้พูดแพร่หลายในเขตอำนาจเหล่านั้น\nหลายดินแดนเกาะให้การรับรองอย่างเป็นทางการต่อภาษาพื้นเมืองร่วมกับภาษาอังกฤษ โดยอเมริกันซามัวและกวมรับรองภาษาซามัว และภาษาชามอร์โร ตามลำดับ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนารับรองภาษาแคโรไลน์และชามอร์โร ชาติเชอโรคีรับรองภาษาเชอโรคีอย่างเป็นทางการในพื้นที่เขตอำนาจเผ่าเชอโรคีในรัฐโอกลาโฮมาตะวันออก ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการในปวยร์โตรีโกและมีพูดกันแพร่หลายกว่าภาษาอังกฤษที่นั่น\nภาษาต่างด้าวที่สอนกันกว้างขวางที่สุดในทุกระดับในสหรัฐ (ในแง่ของจำนวนผู้ลงทะเบียน) ได้แก่ ภาษาสเปน (ผู้เรียนประมาณ 7.2 ล้านคน) ฝรั่งเศส (1.5 ล้านคน) และเยอรมัน (500,000 คน) ภาษาที่มีสอนแพร่หลายอื่น (โดยมีผู้เรียน 100,000 ถึง 250,000 คน) มีภาษาละติน ญี่ปุ่น ภาษาใบ้อเมริกัน ภาษาอิตาลีและจีน 18% ของชาวอเมริกันอ้างว่าตนพูดได้มากกว่าหนึ่งภาษานอกจากภาษาอังกฤษ\n=== ศาสนา ===\nการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งแรกรับประกันการนับถือศาสนาอย่างเสรีและห้ามรัฐสภาผ่านกฎหมายเกี่ยวกับสถาบันศาสนา\nศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในสหรัฐ ในการสำรวจปี 2013 ชาวอเมริกัน 56% กล่าวว่า ศาสนามี \"บทบาทสำคัญมากในชีวิตของพวกเขา\" ซึ่งเป็นตัวเลขสูงกว่าของประเทศที่ร่ำรวยอื่นมาก ในการสำรวจมติมหาชนปี 2009 ชาวอเมริกัน 42% กล่าวว่า พวกเขาเข้าโบสถ์ทุกสัปดาห์หรือเกือบทุกสัปดาห์ ตัวเลขดังกล่าวแปรผันตั้งแต่ 23% ในรัฐเวอร์มอนต์ จนถึงสูง 63% ในรัฐมิสซิสซิปปี ผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัยและผู้ประพันธ์เรียกสหรัฐว่าเป็น \"ชาติโปรเตสแตนต์\" หรือ \"ก่อตั้งบนหลักการโปรเตสแตนต์\" โดยเน้นมรดกลัทธิคาลวินเป็นพิเศษ\nสหรัฐเริ่มเคร่งศาสนาน้อยลงเช่นเดียวกับประเทศตะวันตกอื่น การไม่มีศาสนาเติบโตอย่างรวดเร็วในหมู่ชาวอเมริกันอายุต่ำกว่า 30 ปี การสำรวจแสดงว่า ความเชื่อมั่นในศาสนาของชาวอเมริกันโดยรวมเสื่อมลงมาตั้งแต่กลางถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอเมริกันอายุน้อยที่ไม่มีศาสนาเพิ่มขึ้น การศึกษาในปี 2012 บ่งชี้ว่าสัดส่วนประชากรสหรัฐที่นับถือโปรเตสแตนต์ลดลงเหลือ 48% ทำให้ยุติสถานภาพเป็นหมวดศาสนาของฝ่ายข้างมากเป็นครั้งแรก ชาวอเมริกันที่ไม่มีศาสนามีบุตร 1.7 คนเทียบกับคริสต์ศาสนิกชน 2.2 คน ผู้ไม่นับถือศาสนายังมีแนวโน้มสมรสน้อยกว่าคริสต์ศาสนิกชน 37% ต่อ 52%\nจากการสำรวจปี 2014 ผู้ใหญ่ 70.6% ระบุตัวเองเป็นคริสต์ศาสนิกชน ลดลงจาก 73% ในปี 2012 โปรเตสแตนต์นิกายต่าง ๆ คิดเป็น 46.5% ในขณะที่นิกายโรมันคาทอลิกคิดเป็น 20.8% เป็นนิกายเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุด ศาสนาอื่นนอกเหนือจากศาสนาคริสต์ที่รายงานทั้งหมดในปี 2014 มี 5.9% ศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนายูดาห์ (1.9%), ศาสนาอิสลาม (0.9%), ศาสนาฮินดู, (0.7%) ศาสนาพุทธ (0.7%) การสำรวจยังรายงานว่าชาวอเมริกัน 22.8% ระบุตัวเองว่าอไญยนิยม, อเทวนิยมหรือไม่มีศาสนา เพิ่มขึ้นจาก 8.2% ในปี 1990 นอกจากนี้ยังมีชุมชน ยูนิทาเรียนยูนิเวอร์แซลิสต์, ศาสนาบาไฮ, ศาสนาซิกข์, ศาสนาเชน, ลัทธิชินโต, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ดรูอิด, พื้นเมืองอเมริกัน, วิคะ, มนุษยนิยม, และเทวัสนิยม\nโปรเตสแตนต์เป็นกลุ่มศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐ มีคริสตจักรแบปทิสต์รวมกันเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ที่ใหญ่ที่สุด และสหคริสตจักรแบปทิสต์ใต้ (Southern Baptist Convention) เป็นนิกายโปรเตสแตนต์เดี่ยวที่ใหญ่สุด ชาวอเมริกันประมาณ 26% ระบุตนเป็นโปรเตสแตนต์อีวานเจลิคัล (Evangelical Protestant) ส่วน 15% เป็นสายหลัก (Mainline) และ 7% เป็นคริสตจักรดำดั้งเดิม โรมันคาทอลิกในสหรัฐมีเหง้าในการทำให้ทวีปอเมริกาเป็นอาณานิคมของสเปนและฝรั่งเศส และต่อมาขยายตัวเนื่องจากการเข้าเมืองของชาวไอริช อิตาลี โปแลนด์ เยอรมันและสเปน รัฐโรดไอแลนด์มีร้อยละของคาทอลิกสูงสุดโดยมี 40% ของประชากร นิกายลูเทอแรนในสหรัฐกำเนิดจากการเข้าเมืองจากยุโรปเหนือและประเทศเยอรมนี รัฐนอร์ทและเซาท์ดาโคตาเป็นเพียงสองรัฐที่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นลูเทอร์แรนมากกว่า ผู้เข้าเมืองชาวสกอตและสกอตอัลสเตอร์เผยแผ่นิกายเพรสไบทีเรียนในทวีปอเมริกาเหนือ แม้นิกายดังกล่าวได้เผยแผ่ทั่วสหรัฐ แต่กระจุกอยู่ในชายฝั่งตะวันออกเป็นหลัก มีการก่อตั้งกลุ่มผู้นับถือศาสนาปฏิรูปดัตช์ครั้งแรกในนิวอัมสเตอร์ดัม (นครนิวยอร์ก) ก่อนเผยแผ่ไปทางทิศตะวันตก รัฐยูทาห์เป็นรัฐเดียวที่มอรมอนเป็นศาสนาของประชากรส่วนใหญ่ ฉนวนมอรมอนยังขยายไปถึงบางส่วนของรัฐไอดาโฮ เนวาดาและไวโอมิง\nเข็มขัดไบเบิล (Bible Belt) เป็นภาษาปากใช้เรียกภูมิภาคในภาคใต้ของสหรัฐซึ่งโปรเตสแตนต์อีวานเจลิคัลซึ่งเป็นอนุรักษนิยมทางสังคมเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมและอัตราการเข้าโบสถ์คริสต์ในนิกายต่าง ๆ ปกติสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ในทางกลับกัน ศาสนามีบทบาทสำคัญน้อยในเขตนิวอิงแลนด์และภาคตะวันตกของสหรัฐ\n=== โครงสร้างครอบครัว ===\nในปี 2007 ชาวอเมริกันอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป 58% สมรส 6% เป็นม่าย 10% หย่าร้าง และ 25% ไม่เคยสมรส ขณะนี้หญิงส่วนใหญ่ทำงานนอกบ้าน และสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีมากกว่าชาย\nอัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นสหรัฐอยู่ที่ 26.5 คนต่อ 1,000 คน อัตราดังกล่าวลดลง 57% จากปี 1991 ในปี 2013 อัตราเกิดวัยรุ่นสูงสุดอยู่ในรัฐแอลาบามา และต่ำสุดในรัฐไวโอมิง การทำแท้งชอบด้วยกฎหมายทั่วทั้งสหรัฐ เนื่องจากคดีระหว่างโรและเวด (Roe v. Wade) คำวินิจฉัยบรรทัดฐานในปี 1973 ของศาลสูงสุดแห่งสหรัฐ แม้อัตราการทำแท้งจะลดลง แต่อัตราทำแท้ง 241 ต่อ 1,000 การคลอดมีชีพและอัตราการทำแท้ง 15 คนต่อ 1,000 คนในหญิงอายุระหว่าง 15–44 ปีก็ยังสูงกว่าอัตราของชาติตะวันตกส่วนใหญ่ ในปี 2013 อายุเฉลี่ยของการคลอดครั้งแรกอยู่ที่ 26 ปีและ 40.6% ของการเกิดเกิดกับหญิงไม่สมรส\nมีการประมาณอัตราเจริญพันธุ์รวมของปี 2013 ไว้ที่ 1.86 การเกิดต่อหญิง 1 คน การรับบุตรบุญธรรมในสหรัฐมีทั่วไปและค่อนข้างง่ายจากมุมมองกฎหมายเมื่อเทียบกับประเทศตะวันตกอื่น ในปี 2001 ด้วยการรับบุตรบุญธรรมกว่า 127,000 คน สหรัฐคิดเป็นเกืบอกึ่งหนึ่งของจำนวนการรับบุตรบุญธรรมทั้งหมดทั่วโลก การสมรสเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมายทั่วประเทศและคู่สมรสเพศเดียวกันสามารถรับบุตรบุญธรรมได้ตามกฎหมาย พหุสามีภริยาไม่ชอบด้วยกฎหมายทั่วทั้งสหรัฐ\n== การเมืองการปกครอง ==\nสหรัฐเป็นสหพันธรัฐเก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังรอดมาถึงปัจจุบัน เป็นสาธารณรัฐแบบมีรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน \"ซึ่งการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์มากถูกจำกัดโดยสิทธิฝ่ายข้างน้อยที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย\" มีการวางระเบียบการปกครองด้วยระบบตรวจสอบและถ่วงดุลที่นิยามตามรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ สำหรับปี 2016 สหรัฐจัดอยู่ในอันดับที่ 21 ตามดัชนีประชาธิปไตย และอันดับที่ 18 ในดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน\nในระบบสหพันธรัฐนิยมอเมริกา ปกติพลเมืองอยู่ใต้บังคับแห่งการปกครองสามระดับ คือ สหพันธรัฐ รัฐและท้องถิ่น หน้าที่รัฐบาลท้องถิ่นปกติแบ่งกันระหว่างรัฐบาลเทศมณฑล (county) และองค์การเทศบาล ในเกือบทุกกรณี ข้าราชการฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้งแบบคะแนนเสียงที่เหนือกว่าของพลเมืองแบ่งตามเขต ไม่มีการมีผู้แทนตามสัดส่วนในระดับสหพันธรัฐ และพบน้อยในระดับล่างกว่า\nรัฐบาลกลางประกอบด้วยสามอำนาจ ได้แก่\nสภานิติบัญญัติ: รัฐสภาซึ่งใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ทำหน้าที่ออกกฎหมายกลาง ประกาศสงคราม รับรองสนธิสัญญา มีอำนาจผ่านงบประมาณ (power of the purse) และมีอำนาจฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง ซึ่งสามารถถอดถอนสมาชิกรัฐบาลปัจจุบันได้\nฝ่ายบริหาร: ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด สามารถใช้สิทธิยับยั้งร่างกฎหมายก่อนมีผลใช้บังคับ (แต่สามารถถูกรัฐสภาแย้งได้) และแต่งตั้งสมาชิกคณะรัฐมนตรี (โดยการอนุมัติของวุฒิสภา) และข้าราชการอื่น ซึ่งปกครองและใช้บังคับกฎหมายและนโยบายกลาง\nฝ่ายตุลาการ: ศาลสูงสุดและศาลกลางระดับล่างกว่า ซึ่งผู้พิพากษามาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีด้วยการอนุมัติของวุฒิสภา ตีความกฎหมายและยกเลิกกฎหมายที่วินิจฉัยว่าไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ\nสภาผู้แทนราษฎรมีสมาชิกออกเสียงลงคะแนน 435 คน แต่ละคนเป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาเป็นสมัยสองปี ที่นั่งของสภาผู้แทนราษฎรมีการจัดสัดส่วนตามรัฐแบ่งตามประชากรทุกสิบปี ในสำมะโนปี 2010 เจ็ดรัฐมีผู้แทนขั้นต่ำหนึ่งคน ส่วนรัฐแคลิฟอร์เนนีย รัฐที่มีประชากรมากที่สุด มี 53 คน\nวุฒิสภามีสมาชิก 100 คน โดยแต่ละรัฐมีสมาชิกวุฒิสภาสองคน ได้รับเลือกตั้งโดยไม่แบ่งเขตมีวาระละ 6 ปี ตำแหน่งวุฒิสภาหนึ่งในสามมีการเลือกตั้งปีเว้นปี ประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งวาระละ 4 ปี และอาจได้รับเลือกตั้งได้ไม่เกินสองครั้ง ประธานาธิบดีมิได้เลือกตั้งจากคะแนนเสียงโดยตรง แต่มาจากระบบคณะผู้เลือกตั้งทางอ้อมซึ่งกำหนดคะแนนเสียงที่จัดสัดส่วนให้แก่รัฐและเขตโคลัมเบีย ศาลสูงสุด ซึ่งมีประธานศาลสูงสุดแห่งสหรัฐเป็นหัวหน้า มีสมาชิกเก้าคน ซึ่งดำรงตำแหน่งตลอดชีพ\n\nรัฐบาลรัฐมีโครงสร้างคล้าย ๆ กัน แต่รัฐเนแบรสกามีสภานิติบัญญัติที่ใช้ระบบสภาเดียวต่างจากรัฐอื่น ผู้ว่าการแต่ละรัฐ (หัวหน้าฝ่ายบริหาร) มาจากการเลือกตั้งโดยตรง ผู้พิพากาษาและคณะรัฐมนตรีของบางรัฐมาจากการแต่งตั้งของผู้ว่าการของรัฐนั้น ๆ แต่บางรัฐมาจากการเลือกตั้งของประชาชน\nข้อความดั้งเดิมของรัฐธรรมนูญกำหนดโครงสร้างและความรับผิดชอบของรัฐบาลกลางและความสัมพันธ์กับรัฐหนึ่ง ๆ มาตรา 1 คุ้มครองสิทธิหมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล รัฐธรรมนูญมีการแก้ไขเพิ่มเติม 27 ครั้ง การแก้ไขเพิ่มเติมสิบครั้งแรก ซึ่งรวมเรียว่า รัฐบัญญัติสิทธิ (Bill of Rights) และการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14 ก่อเป็นรากฐานกลางของสิทธิปัจเจกของชาวอเมริกัน กฎหมายและวิธีดำเนินการปกครองทั้งหมดอยู่ภายใต้การพิจารณาทบทวนโดยศาลและกฎหมายที่ศาลวินิจฉัยว่าละเมิดรัฐธรรมนูญเป็นโมฆะ ศาลสูงสุดสถาปนาหลักการพิจารณาทบทวนโดยศาล แม้มิได้กล่าวไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญ ในคดีระหว่างมาร์บูรีกับเมดิสัน (Marbury v. Madison) ปี 1803\n=== เขตรัฐกิจ ===\n\nสหรัฐเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐประกอบด้วย 50 รัฐ เขตสหพันธรัฐ ห้าดินแดนและเกาะที่ไม่มีคนอยู่อาศัยสิบเอ็ดเกาะ รัฐและดินแดนเป็นเขตการปกครองหลักในประเทศ แบ่งเป็นเขตย่อยเทศมณฑลและนครอิสระ เขตโคลัมเบียเป็นเขตสหพันธรัฐซึ่งมีเมืองหลวงของสหรัฐ คือ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. รัฐและเขตโคลัมเบียเลือกประธานาธิบดีสหรัฐ แต่ละรัฐมีผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีเทียบเท่ากับผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในรัฐสภา เขตโคลัมเบียมีสามคน\nเขตรัฐสภามีการกำหนดจำนวนผู้แทนตามส่วนของพลเมืองใหม่ของรัฐหลังสำมะโนประชากรทุกสิบปี แล้วแต่ละรัฐเป็นเขตสมาชิกหนึ่งให้เป็นไปตามการจัดสัดส่วนสำมะโน มีจำนวนผู้แทนราษฎรทั้งหมด 435 คน และสมาชิกรัฐสภาผู้แทนเป็นตัวแทนของเขตโคลัมเบียและห้าดินแดนหลักของสหรัฐ\nสหรัฐยังมีอำนาจอธิปไตยชนเผ่า (tribal sovereignty) ของชาติอเมริกันอินเดียนในขอบเขตจำกัด เช่นเดียวกับอำนาจอธิปไตยของรัฐ อเมริกันอินเดียนเป็นพลเมืองสหรัฐและดินแดนชนเผ่าอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐสภาสหรัฐและศาลสหพันธรัฐ เช่นเดียวกับรัฐ ชนเผ่ามีอัตตาณัติสูง แต่ก็ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกาศสงคราม มีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศชองตนเอง หรือพิมพ์และออกเงินตรา\n=== พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง ===\nสหรัฐใช้ระบบสองพรรคมาเกือบตลอดประวัติศาสตร์ สำหรับตำแหน่งเลือกตั้งแทบทุกระดับ การเลือกตั้งผู้สมัครรอบแรกที่รัฐจัดการเลือกผู้ได้รับเสนอชื่อของพรรคการเมืองหลักสำหรับการเลือกตั้งทั่วไปในเวลาต่อมา นับแต่การเลือกตั้งทั่วไปปี 1856 พรรคการเมืองหลักได้แก่ พรรคเดโมแครตซึ่งก่อตั้งในปี 1824 และพรรคริพับลิกันซึ่งก่อตั้งในปี 1854 นับแต่สงครามกลางเมือง มีผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีจากพรรคที่สามเพียงคนเดียว คือ อดีตประธานาธิบดีธีโอดอร์ โรสเวลต์ ซึ่งมาจากพรรคก้าวหน้าในปี 1912 ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งผ่านระบบคณะผู้เลือกตั้ง\nภายในวัฒนธรรมการเมืองอเมริกา พรรครีพับลิกันฝ่ายกลางขวาถือว่าเป็น \"อนุรักษนิยม\" และพรรคเดโมแครตฝ่ายกลางซ้ายถือว่าเป็น \"เสรีนิยม\" รัฐภาคตะวันออกเฉียงเหนือและชายฝั่งตะวันตกและรัฐเกรตเลกส์บางรัฐรู้จักกันในนาม \"รัฐน้ำเงิน\" ค่อนข้างเป็นเสรีนิยม \"รัฐแดง\" ในภาคใต้และบางส่วนของเกรตเพลนส์และเทือกเขาร็อกกีค่อนข้างเป็นอนุรักษนิยม\nโจ ไบเดินจากพรรคเดโมแครต ผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2020 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 46 ผู้นำปัจจุบันในวุฒิสภา ได้แก่ รองประธานาธิบดีกมลา แฮร์ริสจากพรรคเดโมแครต ประธานชั่วคราวแพทริก ลีฮี (Patrick Leahy) จากพรรคเดโมแครต หัวหน้าฝ่ายข้างมาก ชัก ชูเมอร์ (Chuck Schumer) และหัวหน้าฝ่ายข้างน้อย มิตช์ แม็กคอนเนล (Mitch McConnell) ผู้นำในสภาผู้แทนราษฎร ได้แก่ ประธานสภาผู้แทนราษฎรแนนซี เพโลซี หัวหน้าฝ่ายข้างมาก สเตนี ฮอยเยอร์ (Steny Hoyer) และหัวหน้าฝ่ายข้างน้อย เควิน แม็กคาธี (Kevin McCarthy)\nในรัฐสภาสหรัฐสมัยที่ 117 พรรคเดโมแครตครองทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ปัจจุบันวุฒิสภามีเดโมแครต 48 คน และอิสระ 2 คนซึ่งประชุมลับกับเดโมแครต รีพับลิกัน 50 คน สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยรีพับลิกัน 221 คนและเดโมแครต 211 คน ในตำแหน่งผู้ว่าการรัฐ มีรีพับลิกัน 27 คน เดโมแครต 23 คน ในบรรดานายกเทศมนตรี ดี.ซี. และผู้ว่าการดินแดน 5 คน มีรีพับลิกัน 2 คน เดโมแครต 1 คน ก้าวหน้าใหม่ 1 คนและอิสระ 2 คน\n=== ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ===\n\nสหรัฐมีโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งได้รับการยอมรับ เป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และนครนิวยอร์กเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ เป็นสมาชิกจี7 จี20 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา เกือบทุกประเทศมีสถานเอกอัครราชทูตในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และหลายประเทศมีสถานกงสุลทั่วประเทศ ในทำนองเดียวกัน เกือบทุกประเทศมีคณะทูตอเมริกันอยู่ อย่างไรก็ตาม อิหร่าน เกาหลีเหนือ ภูฏานและสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ไม่มีความสัมพันธ์ทางทูตอย่างเป็นทางการกับสหรัฐ (แม้สหรัฐยังมีความสัมพันธ์กับไต้หวันและส่งยุทธภัณฑ์ให้)\nสหรัฐมี \"ความสัมพันธ์พิเศษ\" กับสหราชอาณาจักร และความสัมพันธ์เหนียวแน่นกับประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิสราเอล และอีกหลายประเทศสหภาพยุโรป รวมถึงประเทศฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนีและสเปน สหรัฐทำงานอย่างใกล้ชิดกับสมาชิกนาโตด้วยกันในประเด็นทางทหารและความมั่นคง และกับประเทศเพื่อนบ้านโดยผ่านองค์การนานารัฐอเมริกัน และข้อตกลงการค้าเสรี เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือไตรภาคีกับประเทศแคนาดาและเม็กซิโก ในปี 2008 สหรัฐใช้งบประมาณสุทธิ 25,400 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการช่วยเหลือพัฒนาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตาม การให้เงินช่วยเหลือของสหรัฐ 0.18% เมื่อเทียบเป็นสัดส่วนของรายได้มวลรวมประชาชาติของสหรัฐ ทำให้จัดอยู่อันดับสุดท้ายในบรรดารัฐบริจาค 22 ประเทศ ในทางตรงข้าม การให้เงินต่างประเทศของเอกชนโดยชาวอเมริกันค่อนข้างเผื่อแผ่\nสหรัฐใช้อำนาจและความรับผิดชอบด้านการป้องกันประเทศระหว่างประเทศอย่างสมบูรณ์สำหรับสามรัฐเอกราชผ่านความตกลงระหว่างประเทศสมาคมอิสระ (Compact of Free Association) กับไมโครนีเซีย หมู่เกาะมาร์แชลล์และปาเลา ประเทศเหล่านี้เป็นชาติเกาะแปซิฟิก ซึ่งเคยเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีหมู่เกาะแปซิฟิก (Trust Territory of the Pacific Islands) ที่สหรัฐบริหารหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้รับเอกราชในเวลาต่อมา\n=== การคลังภาครัฐ ===\n\nภาษีในสหรัฐมีการจัดเก็บในระดับรัฐบาลสหพันธรัฐ รัฐและท้องถิ่น ภาษีเหล่านี้รวมถึงภาษีรายได้, หักจากค่าจ้าง, ทรัพย์สิน, การขาย, นำเข้า, มรดกและการให้ ตลอดจนค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ในปี 2010 ภาษีที่รัฐบาลกลาง รัฐ และเทศบาลจัดเก็บได้คิดเป็น 24.8% ของจีดีพี ช่วงปีงบประมาณ 2012 รัฐบาลกลางจัดเก็บรายได้จากภาษีประมาณ 2.45 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ, เพิ่มขึ้น 147,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 6% เมื่อเทียบกับรายได้ 2.30 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐของปีงบประมาณ 2011 หมวดหมู่หลักได้แก่ ภาษีรายได้บุคคลธรรมดา (1,132,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 47%) ภาษีหลักประกันสังคม/การประกันสังคม (845,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 35%) และภาษีนิติบุคคล (242,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 10%) ตามการประมาณของสำนักงานงบประมาณของรัฐสภา ภายใต้กฎหมายภาษีปี 2013 ผู้มีรายได้สูงสุด 1% จะจ่ายอัตราภาษีเฉลี่ยสูงสุดนับแต่ปี 1979 ส่วนกลุ่มรายได้อื่นยังอยู่ในอัตราต่ำสุดเป็นประวัติการณ์\nโดยทั่วไปการเก็บภาษีอากรของสหรัฐเป็นแบบก้าวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีรายได้ของรัฐบาลกลาง และเป็นแบบก้าวหน้ามากที่สุดในประเทศพัฒนาแล้ว ผู้มีรายได้สูงสุด 10% จ่ายภาษีของรัฐบาลกลางส่วนใหญ่ และเกือบครึ่งหนึ่งของภาษีทั้งหมด ภาษีหักจากค่าจ้างสำหรับหลักประกันสังคมเป็นภาษีถดถอยแนวราบ โดยไม่มีการเก็บภาษีกับรายได้เกิน 118,500 ดอลลาร์สหรัฐ (สำหรับปี 2015 และ 2016) และไม่เก็บภาษีเลยสำหรับผู้ไม่มีรายได้จากหลักทรัพย์และกำไรส่วนทุน การให้เหตุผลเดิมสำหรับสภาพถดถอยของภาษีหักจากค่าจ้าง คือ โครงการการให้สิทธิ์ไม่ถูกมองเป็นการโอนสวัสดิการ ทว่า ตามข้อมูลของสำนักงานงบประมาณของรัฐสภา ผลลัพธ์สุทธิของหลักประกันสังคม คือ อัตราประโยชน์ต่อภาษีมีพิสัยตั้งแต่ประมาณ 70% สำหรับ 20% ของผู้มีรายได้สูงสุดถึงประมาณ 170% สำหรับ 20% ของผู้มีรายได้ต่ำสุด ทำให้ระบบเป็นแบบก้าวหน้า\nผู้มีรายได้สูงสุด 10% จ่าย 51.8% ของภาษีรัฐบาลกลางทั้งหมดในปี 2009 และผู้มีรายได้สูงสุด 1% ซึ่งมีรายได้ประชาชาติก่อนเสียภาษี 13.4% จ่ายภาษีรัฐบาลกลาง 22.3% ในปี 2013 ศูนย์นโยบายภาษีพยากรณ์ว่าอัตราภาษียังผลของรัฐบาลกลาง 35.5% สำหรับผู้มีรายได้สูงสุด 1%, 29.7% สำหรับผู้มีรายได้สูงสุด 20%, 13.8% สำหรับผู้มีรายได้ปานกลางและ −2.7% สำหรับผู้มีรายได้ต่ำสุด ภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นประเด็นกรณีโต้เถียงที่กำลังดำเนินอยู่มาหลายทศวรรษ ภาษีรัฐและท้องถิ่นแตกต่างกันมาก แต่โดยทั่วไปเป็นแบบถดถอยน้อยกว่าภาษีรัฐบาลกลางเพราะการจัดเก็บภาษีนั้นอาศัยภาษีการขายและทรัพย์สอนแบบถดถอยซึ่งให้กระแสรายได้ที่ลบเลือนได้น้อยกว่า แม้รวมภาษีเหล่านี้ด้วยแล้ว การจัดเก็บภาษีโดยรวมก็ยังเป็นแบบก้าวหน้า\nระหว่างปีงบประมาณ 2012 รัฐบาลกลางใชังบประมาณหรือเกณฑ์เงินสด 3.54 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลง 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 1.7 % เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ 2011 ที่ใช้ 3.60 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ รายจ่ายหมวดหลักในปีงบประมาณ 2012 ได้แก่ เมดิแคร์และเมดิเคด (802,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 23% ของรายจ่าย), หลักประกันสังคม (768,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 22%), กระทรวงกลาโหม (670,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 19%) ดุลยพินิจนอกเหนือจากการกลาโหม (615,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 17%) รายจ่ายบังคับอื่น (461,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 13%) และดอกเบี้ย (223,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 6%)\nหนี้สินของชาติทั้งหมดของสหรัฐอยู่ที่ 18.527 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (106% ของจีดีพี) ในปี 2014 สหรัฐมีการจัดอันดับเครดิต AA+ จากสแตนดาร์ดแอนด์พัวส์, AAA จากฟิตช์ และ AAA จากมูดีส์\n=== กองทัพ ===\nประธานาธิบดีมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหาร และแต่งตั้งหัวหน้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และคณะเสนาธิการร่วม กระทรวงกลาโหมของสหรัฐบริหารกองทัพ รวมทั้งกองทัพบก, กองทัพเรือ, เหล่านาวิกโยธิน, และกองทัพอากาศ หน่วยยามฝั่งดำเนินการโดยกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิในยามสงบและกระทรวงทหารเรือในยามสงคราม ในปี 2008 กองทัพมีกำลังพลประจำการ 1.4 ล้านนาย หรือ 2.3 ล้านนายหากนับรวมกำลังสำรองและกำลังป้องกันชาติ กระทรวงกลาโหมว่าจ้างพลเรือนประมาณ 700,000 คน ไม่นับรวมผู้รับเหมา\n\nราชการทหารเป็นแบบสมัครใจ แม้อาจมีการเกณฑ์ทหารในยามสงครามผ่านระบบราชการคัดเลือก (Selective Service System) กำลังอเมริกาสามารถวางกำลังได้อย่างรวดเร็วโดยกลุ่มอากาศยานขนส่งขนาดใหญ่ของกองทัพอากาศ เรือบรรทุกอากาศยานประจำการ 11 ลำของกองทัพเรือ และหน่วยรบนอกประเทศนาวิกโยธินในทะเลกับกองเรือแอตแลนติกและแปซิฟิกของกองทัพเรือ กองทัพมีฐานทัพและศูนย์ 865 แห่งนอกประเทศ และมีกำลังพลประจำการกว่า 100 นายใน 25 ประเทศ\nงบประมาณทางทหารของสหรัฐในปี 2011 อยู่ที่ 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 41% เป็นรายจ่ายทางทหารทั่วโลกและเท่ากับรายจ่ายทางทหารของ 14 ชาติที่มีรายจ่ายมากรองลงมารวมกัน อัตรางบประมาณทางทหารอยู่ที่ 4.7% ของจีดีพี ซึ่งเป็นอัตราสูงสุดอันดับสองในบรรดาประเทศที่มีรายจ่ายทางทหารสูงสุด 15 ประเทศ รองจากประเทศซาอุดีอาระเบีย รายจ่ายกลาโหมของสหรัฐเมื่อเทียบเป็นร้อยละของจีดีพีจัดเป็นอันดับที่ 23 ของโลกในปี 2012 ตามข้อมูลของซีไอเอ สัดส่วนรายจ่ายกลาโหมของสหรัฐโดยทั่วไปลดลงในทศวรรษหลัง จากช่วงสงครามเย็นที่สูงสุดที่ 14.2% ของจีดีพีในปี 1953 และ 69.5% ของรายจ่ายรัฐบาลกลางใน 1954 ลงมาที่ 4.7 % ของจีดีพี และ 18.8 % ของรายจ่ายรัฐบาลกลางในปี 2011\nฐานงบประมาณกระทรวงกลาโหมที่เสนอไว้สำหรับปี 2012 มูลค่า 553,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 4.2% จากปี 2011 หรือเพิ่ม 118,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐสำหรับการทัพในประเทศอิรักและอัฟกานิสถาน ทหารอเมริกันชุดสุดท้ายที่รับราชการในประเทศอิรักออกจากประเทศในเดือนธันวาคม 2011 ข้าราชการทหาร 4,484 นายถูกฆ่าระหว่างสงครามอิรัก มีทหารสหรัฐประมาณ 90,000 นายกำลังรับราชการอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานในเดือนเมษายน 2012 ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2013 มีทหารเสียชีวิต 2,285 นายในสงครามในอัฟกานิสถาน\n== อาชญากรรมและการบังคับใช้กฎหมาย ==\n\nการบังคับใช้กฎหมายในสหรัฐเป็นความรับผิดชอบหลักของตำรวจท้องที่ และหน่วยงานของนายอำเภอ (sheriff) โดยมีตำรวจของรัฐบริการกว้างกว่า กรมตำรวจนครนิวยอร์กเป็นตำรวจท้องที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ หน่วยงานของรัฐบาลกลาง เช่น สำนักงานสอบสวนกลาง (เอฟบีไอ) และราชการพนักงานศาลแขวง (Marshals Service) ของสหรัฐมีหน้าที่ชำนัญพิเศษ ซึ่งรวมการพิทักษ์สิทธิพลเมือง ความมั่นคงของชาติและบังคับใช้คำวินิจฉัยของศาลกลางและกฎหมายกลางของสหรัฐ ในระดับรัฐบาลกลางและในเกือบทุกรัฐ ระบบกฎหมายใช้แบบคอมมอนลอว์ ศาลของรัฐตัดสินคดีอาญาส่วนใหญ่ ศาลกลางรับผิดชอบอาชญากรรมที่กำหนดบางอย่างตลอดจนคดีอุทธรณ์จากศาลอาญาของรัฐ การต่อรองคำรับสารภาพในสหรัฐพบดาษดื่น คดีอาญาส่วนใหญ่ในประเทศระงับด้วยการต่อรองคำรับสารภาพมิใช่การพิจารณาของคณะลูกขุน\nในปี 2015 มีการฆ่าคน 15,696 ครั้ง ซึ่งมากกว่าปี 2014 จำนวน 1,532 ครั้ง หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นมากที่สุดนับแต่ปี 1971 อัตราการฆ่าคนในปี 2015 อยู่ที่ 4.9 คนต่อประชากร 100,000 คน ในปี 2016 อัตราการฆ่าคนเพิ่มขึ้น 8.6% โดยมีการฆ่าคน 17,250 ครั้งในปีนั้น อัตราการชำระคดี (clearance rate) สำหรับการฆ่าคนของประเทศในปี 2015 อยู่ที่ร้อยละ 64.1 เมื่อเทียบกับร้อยละ 90 ในปี 1965 ในปี 2012 มีการฆ่าคน 4.7 คนต่อประชากร 100,000 คนในสหรัฐ ลดลงร้อยละ 54 จากยอดสูงสุด 10.2 ในปี 1980 ในปี 2001–2 สหรัฐมีระดับอาชญากรรมรุนแรงสูงกว่าค่าเฉลี่ย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งความรุนแรงจากปืนสูงเป็นพิเศษเมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้วอื่น การวิเคราะห์ตามขวางของฐานข้อมูลการตายขององค์การอนามัยโลกจากปี 2010 แสดงว่าสหรัฐ \"มีอัตราการฆ่าคนสูงกว่าประเทศรายได้สูงอื่น 7.0 เท่า ซึ่งมีสาเหตุจากอัตราการฆ่าคนด้วยปืนซึ่งสูงกว่าประเทศอื่น 25.2 เท่า\" สิทธิความเป็นเจ้าของปืนเป็นหัวข้อการถกเถียงทางการเมืองพิพาท\nตั้งแต่ปี 1980 ถึง 2008 ชายคิดเป็นร้อยละ 77 ของผู้ถูกฆ่า และร้อยละ 90 ของผู้ก่อเหตุ ผิวดำก่อเหตุฆ่าคนร้อยละ 52.5 ของทั้งหมดในช่วงนั้น เป็นอัตราเกือบแปดเท่าของผิวขาว (ซึ่งรวมฮิสแปนิกส่วนใหญ่) และเป็นผู้เสียหายมากเป็นหกเท่าของผิวขาว การฆ่าคนส่วนใหญ่เป็นคนผิวเดียวกัน โดยผู้ถูกฆ่าผิวดำร้อยละ 93 ถูกผิวดำฆ่า และผิวขาว 84% ถูกผิวขาวฆ่า ในปี 2012 รัฐลุยเซียนามีอัตราการฆ่าคนและการทำให้คนตายโดยประมาทสูงสุด และรัฐนิวแฮมพ์เชียร์มีอัตราต่ำสุด รายงานอาชญากรรมเอกรูปของเอฟบีไอประมาณว่ามีอาชญากรรมรุนแรงและอาชญากรรมต่อทรัพย์สิน 3,246 ครั้งต่อผู้อยู่อาศัย 100,000 คนในปี 2012 รวมมีอาชญากรรมทั้งสิ้นกว่า 9 ล้านครั้ง\nมีการอนุมัติโทษประหารชีวิตในสหรัฐสำหรับอาชญากรรมรัฐบาลกลางและทหารบางอย่าง และมีใช้ใน 31 รัฐ ไม่มีการประหารชีวิตระหว่างปี 1967 ถึง 1977 บางส่วนเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลสูงสุดสหรัฐวางข้อกำหนดโทษประหารชีวิตตามอำเภอใจ ในปี 1976 ศาลสูงสุดวินิจฉัยว่าภายใต้พฤติการณ์ที่เหมาะสม อาจบังคับโทษประหารชีวิตได้ตามรัฐธรรมนูญ นับแต่คำวินิจฉัยนั้น มีการประหารชีวิตกว่า 1,300 ครั้ง ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในสามรัฐ ได้แก่ รัฐเท็กซัส เวอร์จิเนียและโอกลาโฮมา ขณะเดียวกัน หลายรัฐเลิกหรือให้โทษประหารชีวิตเป็นโมฆะ ในปี 2015 สหรัฐมีจำนวนการประหารชีวิตสูงสุดในโลกเป็นอันดับห้า รองจากประเทศจีน อิหร่าน ปากีสถานและซาอุดีอาระเบีย\nสหรัฐมีอัตราการกักขังที่มีบันทึกและประชากรเรือนจำทั้งหมดสูงสุดในโลก ตั้งแต่ต้นปี 2008 มีประชากรกว่า 2.3 ล้านคนถูกกักขัง คิดเป็นกว่า 1 คนในผู้ใหญ่ 100 คน ในเดือนธันวาคม 2012 ระบบการดัดสันดานผู้ใหญ่ของสหรัฐรวมควบคุมดูแลผู้กระทำผิดประมาณ 6,937,000 คน ผู้อยู่อาศัยผู้ใหญ่ประมาณ 1 ใน 35 คนในสหรัฐอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลการดัดสันดานอย่างใดอย่างหนึ่งในเดือนธันวาคม 2012 ซึ่งเป็นอัตราต่ำสุดเท่าที่สังเกตมาตั้งแต่ปี 1997 ประชากรเรือนจำเพิ่มขึ้นสี่เท่าตั้งแต่ปี 1980 และรายจ่ายของรัฐและท้องถิ่นด้านเรือนจำและคุกเพิ่มขึ้นสามเท่าของรายข่ายด้านศึกษาธิการในช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ดี อัตราการจำคุกสำหรับนักโทษทุกคนที่ได้รับโทษจำคุกมากกว่าหนึ่งปีในสถานที่ของรัฐหรือรัฐบาลกลางอยู่ที่ 478 คนต่อ 100,000 คนในปี 2013 และอัตรานักโทษก่อนพิจารณา/ระหว่างพิจรารณาอยู่ที่ 153 คนต่อผู้อยู่อาศัย 100,000 คนในปี 2012 อัตราการกักขังที่สูงของประเทศนี้ส่วนใหญ่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงแนวทางปฏิบัติคำพิพากษาและนโยบายยาเสพติด จากข้อมูลของกรมเรือนจำกลาง ผู้ต้องขังส่วนมากที่ถูกขังในเรือนจำกลางต้องโทษความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนซึ่งเรือนจำและราชการเรือนจำซึ่งเริ่มในคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นหัวข้อถกเถียงJoe Davidson (August 12, 2016). Private federal prisons – less safe, less secure. The Washington Post. Retrieved August 13, 2016.Gottschalk, Marie (2014). Caught: The Prison State and the Lockdown of American Politics. Princeton University Press. p. 70 .Peter Kerwin (June 10, 2015). Study finds private prisons keep inmates longer, without reducing future crime. University of Wisconsin–Madison News. Retrieved June 11, 2015. ในปี 2008 รัฐลุยเซียนามีอัตราการกักขังสูงสุด ส่วนรัฐเมนมีต่ำสุด\n== เศรษฐกิจ ==\n\nสหรัฐมีเศรษฐกิจแบบผสมทุนนิยม ซึ่งขับเคลื่อนโดยทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และผลิตภาพที่สูง จากข้อมูลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของสหรัฐอยู่ที่ 16.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 24% ของผลิตภัณฑ์รวมของโลกที่อัตราแลกเปลี่ยนตลาด และกว่า 19% ของผลิตภัณฑ์รวมของโลกที่อำนาจซื้อเสมอภาค (PPP)\nจีดีพีตามตัวเลขของสหรัฐโดยประมาณอยู่ที่ 17.528 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2014 ตั้งแต่ปี 1983 ถึง 2008 การเติบโตของจีดีพีต่อปีแบบทบต้นแท้จริง (real compounded annual GDP growth) อยู่ที่ 3.3% เทียบกับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2.3% สำหรับประเทศจี7 ที่เหลือ จีดีพีต่อหัวสหรัฐจัดอยู่อันดับเก้าของโลก และมีจีดีพีต่อหัวที่พีพีพีอันดับหก ดอลลาร์สหรัฐเป็นเงินตราสำรองหลักของโลก\nสหรัฐเป็นประเทศผู้นำเข้าสินค้ารายใหญ่สุดและเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่เป็นอันดับสอง แม้การส่งออกต่อหัวจะค่อนข้างต่ำ ในปี 2010 การขาดดุลการค้าทั้งหมดของสหรัฐอยู่ที่ 635,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศแคนาดา จีน เม็กซิโก ญี่ปุ่น และเยอรมนีเป็นคู่ค้ารายใหญ่สุด ในปี 2010 น้ำมันเป็นโภคภัณฑ์นำเข้ามากที่สุด ขณะที่อุปกรณ์ขนส่งเป็นสินค้าออกใหญ่ที่สุดของประเทศ ประเทศญี่ปุ่นเป็นผู้ถือหนี้สาธารณะต่างชาติรายใหญ่สุดของสหรัฐ ผู้ถือหนี้สหรัฐสูงสุดเป็นองค์การของสหรัฐเอง รวมทั้งบัญชีของรัฐบาลกลางและระบบธนาคารกลางที่ถือหนี้ส่วนใหญ่\nในปี 2009 ประมาณว่าภาคเอกชนประกอบเป็น 86.4% ของเศรษฐกิจ โดยกิจกรรมของรัฐบาลกลางคิดเป็น 4.3% และกิจกรรมของรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น (รวมเงินโอนของรัฐบาลกลาง) เป็น 9.3% ที่เหลือ จำนวนลูกจ้างของรัฐบาลทุกระดับมากกว่าลูกจ้างในส่วนการผลิต 1.7 ต่อ 1 ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐถึงระดับการพัฒนาหลังอุตสาหกรรม (postindustrial) แล้วโดยภาคบริการประกอบเป็น 67.8% ของจีดีพี แต่สหรัฐยังเป็นประเทศอุตสาหกรรม สาขาธุรกิจชั้นนำตามรายการรับ (gross business receipt) ได้แก่การค้าส่งและปลีก ส่วนภาคการผลิตเป็นภาคที่มีรายรับสุทธิสูงสุด ในแบบธุรกิจแฟรนไชส์ แมคโดนัลด์และซับเวย์เป็นยี่ห้อที่รู้จักกันแพร่หลายที่สุดในโลกสองยี่ห้อ โคคา-โคล่าเป็นบริษัทน้ำอัดลมที่คนทั่วโลกรู้จักกันดีที่สุด\nเคมีภัณฑ์เป็นสาขาการผลิตชั้นนำ สหรัฐเป็นผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่สุดของโลก และเป็นผู้นำเข้ารายใหญ่สุดอันดับสอง สหรัฐเป็นผู้ผลิตพลังงานไฟฟ้าและนิวเคลียร์อันดับหนึ่ง ตลอดจนแก๊สธรรมชาติเหลว กำมะถัน ฟอสเฟต และเกลือ\nแม้ว่าภาคเกษตรกรรมมีสัดส่วนน้อยกว่า 1% ของจีดีพี แต่สหรัฐเป็นผู้ผลิตข้าวโพด และถั่วเหลืองรายใหญ่สุดของโลก สหรัฐเป็นผู้ผลิตและปลูกอาหารดัดแปรพันธุกรรมหลัก โดยคิดเป็นกึ่งหนึ่งของพืชไบโอเทคของโลก\nการใช้จ่ายของผู้บริโภคมีสัดส่วนเป็น 68% ของเศรษฐกิจสหรัฐในปี 2015 ในเดือนสิงหาคม 2010 มีแรงงานอเมริกัน 154.1 ล้านคน สาขาการจ้างงานใหญ่สุด คือ ภาครัฐบาล 21.2 ล้านคน การจ้างงานภาคเอกชนใหญ่สุดคือ สาธารณสุขและการสังคมสงเคราะห์ จำนวน 16.4 ล้านคน คนงานประมาณ 12% อยู่ในสหภาพ เทียบกับ 30% ในยุโรปตะวันตก ธนาคารโลกจัดสหรัฐอยู่อันดับหนึ่งในด้านความง่ายในการจ้างและไล่คนงาน สหรัฐจัดอยู่อันดับต้นหนึ่งในสามในรายงานความสามารถการแข่งขันโลก (Global Competitiveness Report) เช่นกัน สหรัฐมีรัฐสวัสดิการขนาดเล็กและกระจายรายได้ผ่านการกระทำของรัฐบาลน้อยกว่าชาติยุโรป\nสหรัฐเป็นประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้าประเทศเดียวที่ไม่รับประกันการหยุดงานโดยจ่ายค่าจ้าง (paid vacation) แก่คนงาน และเป็นเพียงไม่กี่ประเทศในโลกที่ไม่มีการหยุดงานเลี้ยงบุตรโดยจ่ายค่าจ้าง (family leave) เป็นสิทธิตามกฎหมาย โดยมีประเทศอื่น เช่น ปาปัวนิวกินี ซูรินาม ไลบีเรีย แม้ปัจจุบันกฎหมายกลางไม่รับประกันการลาป่วย แต่เป็นผลประโยชน์ทั่วไปของคนงานของรัฐบาลและพนักงานเต็มเวลาของบริษัท ตามข้อมูลของกรมสถิติแรงงาน คนงานอเมริกันเต็มเวลา 74% ลาหยุดงานโดยได้รับค่าจ้าง แม้คนงานไม่เต็มเวลาเพียง 24% ได้รับผลประโยชน์เดียวกัน ในปี 2009 สหรัฐมีผลิตภาพกำลังแรงงานต่อบุคคลสูงสุดเป็นอันดับสามในโลก รองจากลักเซมเบิร์กและนอร์เวย์ สหรัฐมีผลิตภาพต่อชั่วโมงสูงสุดเป็นอันดับสี่ รองจากสองประเทศดังกล่าวและเนเธอร์แลนด์\nภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลกปี 2008–2012 มีผลกระทบต่อสหรัฐย่างสำคัญ โดยมีผลผลิตต่ำกว่าศักยะตามข้อมูลของสำนักงบประมาณของรัฐสภา ภาวะดังกล่าวนำมาซึ่งการว่างงานสูง (ซึ่งลดลงแล้วแต่ยังสูงกว่าระดับก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย) ร่วมกับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่ำ การเสื่อมของมูลค่าบ้านอย่างต่อเนื่อง และการเพิ่มการบังคับเอาทรัพย์จำนองหลุดและการล้มละลายของบุคคล วิกฤตหนี้รัฐบาลกลางบานปลาย ภาวะเงินเฟ้อ และราคาปิโตรเลียมและอาหารเพิ่มขึ้น ปัจจุบันยังมีสัดส่วนผู้ว่างงานระยะยาวเป็นสถิติ รายได้ครัวเรือนลดลงอย่างต่อเนื่องและภาษีและงบประมาณรัฐบาลกลางเพิ่มขึ้น\nสถาบันวิจัยสันติภาพระหว่างประเทศสต็อกโฮล์ม (SIPRI) พบว่า อุตสาหกรรมอาวุธของสหรัฐเป็นผู้ส่งออกอาวุธสำคัญรายใหญ่สุดของโลกตั้งแต่ปี 2005 ถึง 2009 และยังเป็นผู้ส่งออกอาวุธสำคัญรายใหญ่สุดในช่วงระหว่างปี 2010 ถึง 2014 นำหน้าประเทศรัสเซีย จีนและเยอรมนี\n=== รายได้ ความยากจน และความมั่งคั่ง ===\n\nชาวอเมริกันมีรายได้ครัวเรือนและจากการจ้างงานเฉลี่ยสูงสุดในบรรดาชาติองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และในปี 2007 มีรายได้ครัวเรือนมัธยฐานสูงสุดเป็นอันดับสอง ตามข้อมูลของสำนักสำมะโน รายได้ครัวเรือนมัธยฐานคือ 59,039 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2016 แม้ประชากรอเมริกันมีเพียง 4.4% ของประชากรโลก แต่ชาวอเมริกันรวมครอบครองความมั่งคั่ง 41.6% ของโลก และเศรษฐีเงินล้าน (millionaire) ประมาณกึ่งหนึ่งของโลกเป็นชาวอเมริกัน ดัชนีความมั่นคงอาหารโลกจัดอันดับสหรัฐอยู่อันดับหนึ่งในด้านความสามารถมีอาหาร (food affordability) และความมั่นคงอาหารโดยรวมในเดือนมีนาคม 2013 ชาวอเมริกันเฉลี่ยมีพื้นที่อยู่อาศัยต่อเคหสถานและต่อบุคคลสูงกว่าผู้อยู่อาศัยในสหภาพยุโรปกว่าสองเท่า และมากกว่าประเทศสหภาพยุโรปทุกประเทศ ในปี 2013 โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจัดอันดับดัชนีการพัฒนามนุษย์ของสหรัฐอยู่อันดับ 5 จาก 187 และดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่ปรับตามความไม่เสมอภาคแล้วอยู่อันดับที่ 28\nหลังการเติบโตชะงักมาหลายปี ในปี 2016 ข้อมูลจากสำมะโนระบุว่า รายได้ครัวเรือนมัธยฐานแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์หลังการเติบโตสูงสุดสองปีติดต่อกัน แม้ว่าความไม่เสมอภาคของรายได้ยังสูงสุดโดยผู้มีรายได้สูงสุด 20% มีรายได้มากกว่าครึ่งของรายได้รวมทั้งหมด มีช่องว่างระหว่างผลิตภาพและรายได้มัธยฐานกว้างขึ้นนับแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 ทว่า ช่องว่างระหว่างค่าตอบแทนทั้งหมดและผลิตภาพไม่กว้างเท่าอันเนื่องมาจากมีผลประโยชน์ของลูกจ้างเพิ่มขึ้น เช่น ประกันสุขภาพ ผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 1 มีสัดส่วนรายได้ต่อปีเพิ่มขึ้นกว่าสองเท่าจากร้อยละ 9 ในปี 1976 เป็นร้อยละ 20 ในปี 2011 กระทบต่อความไม่เสมอภาคของรายได้อย่างสำคัญ ทำให้สหรัฐเป็นประเทศที่มีการกระจายรายได้กว้างที่สุดในบรรดาประเทศโออีซีดีประเทศหนึ่ง ผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 1 คิดเป็นร้อยละ 52 ของการเพิ่มขึ้นของรายได้ตั้งแต่ปี 2009 ถึงปี 2015 ทั้งนี้ นิยามรายได้ว่าเป็นรายได้ตลาดไม่รวมเงินโอนของรัฐบาล\nความมั่งคั่ง รายได้และภาษี กระจุกสูง กล่าวคือ ประชากรผู้ใหญ่ที่รวยที่สุด 10% ครอบครองความมั่งคั่งครัวเรือนของประเทศ 72% ในขณะที่ผู้มีรายได้ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยครอบครองเพียง 2% ระหว่างเดือนมิถุนายน 2007 ถึงพฤศจิกายน 2008 ภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลกทำให้ราคาสินทรัพย์ตกลงทั่วโลก ทรัพย์สินที่ชาวอเมริกันถือครองเสียมูลค่าประมาณหนึ่งในสี่ นับแต่ความมั่งคั่งครัวเรือนสูงสุดในไตรมาสที่สองของปี 2007 ความมั่งคั่งครัวเรือนลดลง 14 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่นับจากนั้นเพิ่มขึ้น 14 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐกว่าระดับเมื่อปี 2006 เมื่อสิ้นปี 2014 หนี้สินครัวเรือนมีมูลค่า 11.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจาก 13.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐเมื่อสิ้นปี 2008\nมีประชากรไร้บ้านแบบมีและไม่มีที่อยู่อาศัยประมาณ 578,424 คนในสหรัฐในเดือนมกราคม 2014 โดยเกือบสองในสามอาศัยอยู่ในที่อยู่อาศัยฉุกเฉินหรือโครงการเคหะช่วงเปลี่ยนสภาพ ในปี 2011 มีเด็ก 16.7 ล้านคนอาศยอยู่ในครัวเรือนที่ไม่มีความปลอดภัยทางอาหาร เพิ่มขึ้น 35% เมื่อเทียบกับระดับปี 2007 แม้เด็กสหรัฐเพียง 1.1% หรือ 845,000 คนกินอาหารลดลงหรือมีรูปแบบการกินถูกรบกวนในช่วงใดช่วงหนึ่งของปีนั้น และแทบทั้งสิ้นไม่เป็นแบบเรื้อรัง ตามรายงานปี 2014 ของกรมสำมะโน ปัจจุบันผู้ใหญ่ตอนต้นหนึ่งในห้าคนยากจน เพิ่มขึ้นจากหนึ่งในเจ็ดในปี 1980\n== โครงสร้างพื้นฐาน ==\n=== การขนส่ง ===\n\nการขนส่งส่วนบุคคลใช้รถยนต์เป็นหลัก สหรัฐมีเครือข่ายถนนสาธารณะของ 6.4 ล้านกิโลเมตร มีระบบทางหลวงที่ยาวที่สุดในโลกแห่งหนึ่งซึ่งยาว 91,700 กิโลเมตร สหรัฐเป็นตลาดรถยนต์ใหญ่สุดอันดับสองของโลก สหรัฐมีอัตราการเป็นเจ้าของยานพาหนะต่อหัวสูงสุดในโลก โดยมี 765 คันต่ออเมริกัน 1,000 คน ประมาณ 40% ของยานพาหนะส่วนบุคคลเป็นรถตู้, รถอเนกประสงค์ (SUV) หรือรถบรรทุกเบา ผู้ใหญ่อเมริกันโดยเฉลี่ย (นับรวมหมดทั้งผู้ขับและผู้ไม่ขับ) ใช้เวลา 55 นาทีขับรถ เดินทาง 47 กิโลเมตรต่อวัน\nการเดินทางไปทำงานในสหรัฐใช้ขนส่งมวลชนประมาณ 9% มีการขนส่งสินค้าทางรางอย่างกว้างขวาง แต่มีจำนวนผู้โดยสารค่อนข้างต่ำ (ประมาณ 31 ล้านคนต่อปี) ใช้รถรางระหว่างนครเดินทาง สาเหตุส่วนหนึ่งเพราะความหนาแน่นของประชากรด้านในแผ่นดินของสหรัฐส่วนใหญ่ต่ำ อย่างไรก็ดี จำนวนผู้โดยสารแอมแทร็ก ซึ่งเป็นระบบรางโดยสารระหว่างนครแห่งชาติ เติบโตเกือบ 37% ระหว่างปี 2000 ถึง 2010 นอกจากนี้ มีการพัฒนารางเบาเพิ่มขึ้นในช่วงปีหลัง ๆ มีการใช้จักรยานไปทำงานเป็นประจำมีน้อยมาก\nอุตสาหกรรมสายการบินพลเรือนมีเอกชนเป็นเจ้าของทั้งหมด และส่วนใหญ่เลิกกำกับ (deregulate) ไปตั้งแต่ปี 1978 ขณะที่ท่าอากาศยานสำคัญส่วนมากเป็นของรัฐบาล สายการบินใหญ่สุดในโลกนับจากจำนวนผู้โดยสาร 3 สายเป็นของสหรัฐ; อเมริกันแอร์ไลนส์เป็นที่หนึ่งหลังจากยูเอสแอร์เวย์ซื้อในปี 2013 ในจำนวนท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดในโลก 50 แห่ง มี 16 แห่งอยู่ในสหรัฐ รวมทั้งที่หนาแน่นที่สุด ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา และอันดับสี่ ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ในชิคาโก หลังเหตุโจมตี 11 กันยายน 2001 มีการตั้งการความปลอดภัยขนส่งเพื่อตรวจตราท่าอากาศยานและสายการบินพาณิชย์\n=== พลังงาน ===\n\nตลาดพลังงานสหรัฐมีประมาณ 29,000 ชั่วโมงเทระวัตต์ต่อปี การบริโภคพลังงานต่อหัวมี 7.8 ตันเทียบเท่าน้ำมันต่อปี คิดเป็นอัตราสูงสุดอันดับ 10 ในโลก ในปี 2005 พลังงาน 40% มาจากปิโตรเลียม 23% จากถ่านหิน และ 22% มาจากแก๊สธรรมชาติ ส่วนที่เหลือมาจากพลังงานนิวเคลียร์และแหล่งพลังงานหมุนเวียน สหรัฐเป็นผู้บริโภคปิโตรเลียมรายใหญ่สุดของโลก สหรัฐมีแหล่งสำรองถ่านหินทั่วโลก 27% สหรัฐเป็นผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบที่ใหญ่ที่สุดในโลก\nพลังงานนิวเคลียร์มีบทบาทจำกัดเมื่อเทียบกับหลายประเทศพัฒนาแล้วอื่นเป็นเวลาหลายทศวรรษ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการรับรู้ของประชาชนเนื่องจากอุบัติเหตุในปี 1979 ในปี 2007 มีการยื่นคำร้องขอเปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่\n=== การประปาและสุขาภิบาล ===\nปัญหาซึ่งมีผลต่อการประปาในสหรัฐรวมถึงภัยแล้งในภาคตะวันตก การขาดแคลนน้ำ มลภาวะ การลงทุนค้าง ความกังวลเกี่ยวกับการหาน้ำได้ของผู้ยากจนที่สุด และกำลังแรงงานที่กำลังเกษียณอย่างรวดเร็ว คาดหมายว่าความแปรผันได้และความรุนแรงของฝนตกที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นผลให้เกิดทั้งภัยแล้งและอุทกภัยที่รุนแรงขึ้น โดยมีผลลัพธ์ที่อาจร้ายแรงต่อการประปาและมลภาวะที่เกิดจากท่อระบายรวมล้น\nภัยแล้งน่าจะมีผลกระทบเป็นพิเศษต่อชาวอเมริกันร้อยละ 66 ซึ่งชุมชนอาศัยน้ำผิวโลก ในด้านคุณภาพน้ำดื่ม มีความกังวลเกี่ยวกับผลพลอยได้ของการฆ่าเชื้อ ตะกั่ว เพอร์คลอเรตและสารยา แต่โดยทั่วไปน้ำดื่มในสหรัฐมีคุณภาพดี\n== การศึกษา ==\n\nการศึกษาสาธารณะของสหรัฐมีรัฐบาลรัฐและท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการ กระทรวงศึกษาธิการสหรัฐวางระเบียบผ่านการจำกัดเงินอุดหนุนของรัฐบาลกลาง รัฐส่วนใหญ่บังคับให้เด็กเข้าศึกษาตั้งแต่อายุหกหรือเจ็ดขวบ (โดยทั่วไปคืออนุบาลหรือเกรด 1) จนอายุได้ 18 ปี (โดยทั่วไปถึงเกรด 12 จบไฮสกูล) บางรัฐอนุญาตให้นักเรียนออกจากโรงเรียนได้เมื่ออายุ 16 หรือ 17 ปี\nเด็กประมาณ 12% ลงทะเบียนในโรงเรียนเอกชนวงแคบหรือไม่นิยมนิกาย (nonsectarian) เด็กประมาณ 2% ได้รับการศึกษาที่บ้าน สหรัฐมีรายจ่ายด้านศึกษาธิการต่อนักเรียนหนึ่งคนมากกว่าประเทศอื่นใดในโลก โดยมีรายจ่ายกว่า 11,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อนักเรียนประถมหนึ่งคนในปี 2010 และกว่า 12,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อนักเรียนไฮสกูลหนึ่งคน นักศึกษาวิทยาลัยสหรัฐประมาณ 80% เข้ามหาวิทยาลัยรัฐ\nสหรัฐมีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนและรัฐบาลแข่งขันกันจำนวนมาก มหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของโลกส่วนใหญ่ที่องค์การจัดอันดับต่าง ๆ ทำรายการไว้อยู่ในสหรัฐ นอกจากนี้ ยังมีวิทยาลัยชุมชนท้องถิ่นซึ่งโดยทั่วไปมีนโยบายรับนักศึกษาที่เปิดกว้างกว่า มีโครงการวิชาการสั้นกว่าและค่าเรียนน้อยกว่า ชาวอเมริกันอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป 84.6% จบไฮสกูล 52.6% เข้าวิทยาลัย 27.2% สำเร็จปริญญาตรี และ 9.6% สำเร็จปริญญาบัณฑิต (graduate degree) อัตราการรู้หนังสือขั้นพื้นฐานอยู่ประมาณ 99% สหประชาชาติกำหนดให้สหรัฐมีดัชนีการศึกษา 0.97% อยู่อันดับที่ 12 ในโลก\nสำหรับรายจ่ายสาธารณะในด้านอุดมศึกษา สหรัฐยังตามหลังประเทศ OECD บางประเทศ แต่คิดเป็นรายจ่ายต่อหัวมากกว่าค่าเฉลี่ยของ OECD และมากกว่าทุกประเทศในรายจ่ายภาครัฐและเอกชนรวมกัน ในปี 2012 หนี้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเกิน 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ มากกว่าชาวอเมริกันที่เป็นหนี้บัตรเครดิต\n== วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ==\n\nสหรัฐเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และการวิจัยวิทยาศาสตร์ตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหรัฐพัฒนาวิธีการผลิตชิ้นส่วนสับเปลี่ยนได้โดยคลังอาวุธกลาง กระทรวงสงครามสหรัฐ ระหว่างครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เทคโนโลยีดังกล่าว ร่วมกับการสถาปนาอุตสาหกรรมเครื่องมือกล ทำให้สหรัฐผลิตเครื่องจักรเย็บผ้า จักรยานและสินค้าอื่นขนาดใหญ่ได้ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายมาเป็นระบบการผลิตแบบอเมริกา มีการติดตั้งไฟฟ้าในโรงงานในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และการริเริ่มสายการผลิตและเทคนิคประหยัดแรงงานแบบอื่นก่อให้เกิดระบบที่เรียก การผลิตขนานใหญ่ (mass production)\nในปี 1876 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ได้รับสิทธิบัตรสหรัฐครั้งแรกสำหรับโทรศัพท์ ห้องปฏิบัติการของทอมัส เอดิสันได้พัฒนาหีบเสียง หลอดไฟที่ใช้ได้นานหลอดแรกและกล้องภาพยนตร์ที่ทำงานได้ตัวแรก ซึ่งการพัฒนากล้องดังกล่าวทำให้เกิดอุตสาหกรรมบันเทิงทั่วโลก ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 บริษัทรถยนต์ของแรนซัม อี. โอลส์และเฮนรี ฟอร์ดทำให้สายการผลิตเป็นที่นิยม ในปี 1903 พี่น้องตระกูลไรต์ขับเครื่องบินครั้งแรกโดยใช้เครื่องบินพลังงานที่หนักกว่าอากาศแบบคงทนและควบคุมได้\nความรุ่งเรืองของฟาสซิสต์และนาซีในคริสต์ทศวรรษ 1930 ทำให้นักวิทยาศาสตร์ยุโรปจำนวนมาก รวมทั้ง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, เอนรีโก แฟร์มี และจอห์น ฟอน นอยมันน์เข้าเมืองสหรัฐ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการแมนฮัตตันพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ นำไปสู่ยุคอะตอม ขณะที่การแข่งขันด้านอวกาศสร้างความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในด้านจรวด, วัสดุศาสตร์ และวิชาการบิน\nการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในคริสต์ทศวรรษ 1950 ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ทั้งหมด นำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีจำนวนมากและการขยายอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของสหรัฐอย่างสำคัญ จากนั้นนำไปสู่การก่อตั้งบริษัทและภูมิภาคเทคโนโลยีใหม่จำนวนมากรอบประเทศ อย่างเช่น ในซิลิคอนแวลลีย์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย การก้าวหน้าของบริษัทไมโครโปรเซสเซอร์อเมริกาอย่างแอดแวนซ์ไมโครดีไวซ์ (AMD) และอินเทลร่วมกับทั้งก่อตั้งบริษัทซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ซึ่งรวมอะโดบีซิสเต็มส์ บริษัทแอปเปิล ไอบีเอ็ม ไมโครซอฟท์และซันไมโครซิสเต็มส์และทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นที่นิยม มีการพัฒนาอาร์ปาเน็ต (ARPANET) ในคริสต์ทศวรรษ 1960 เพื่อให้บรรลุข้อกำหนดของกระทรวงกลาโหม และกลายเป็นชุดเครือข่ายชุดแรกซึ่งพัฒนาเป็นอินเทอร์เน็ต\nความก้าวหน้าดังนี้นำไปสู่การทำให้มีลักษณะบุคคลซึ่งเทคโนโลยีสำหรับการใช้ของปัจเจก ในปี 2013 ครัวเรือนอเมริกัน 83.8% เป็นเจ้าของคอมพิวเตอร์อย่างน้อยหนึ่งเครื่อง และ 73.3% มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ชาวอเมริกัน 91% ยังมีโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเดือนพฤษภาคม 2013\nในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ทุนวิจัยและพัฒนาประมาณสองในสามมาจากภาคเอกชน สหรัฐเป็นผู้นำของโลกในด้านงานวิจัยวิทยาศาสตร์และอิมแพกแฟกเตอร์ (impact factor)\n== สุขภาพ ==\n\nสหรัฐมีความคาดหมายการคงชีพที่ 79.8 ปีเมื่อเกิด เพิ่มขึ้นจาก 75.2 ปีในปี 1990 อัตราภาวะการตายของทารกอยู่ที่ 6.17 คนต่อ 1,000 คน ทำให้สหรัฐอยู่ในอันดับที่ 56 นับจากต่ำสุดจากทั้งหมด 224 ประเทศ\nการเพิ่มขึ้นของโรคอ้วนในสหรัฐและการปรับปรุงสุขภาพในด้านอื่นมีส่วนลดอันดับการคาดหมายการคงชีพจากอันดับที่ 11 ของโลกในปี 1987 เหลือ 42 ในปี 2007 อัตราโรคอ้วนในสหรัฐเพิ่มขึ้นกว่าสองเท่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา สูงสุดในบรรดาประเทศอุตสาหกรรม และอยู่ในอันดับต้น ๆ ของโลก ประชากรผู้ใหญ่ประมาณหนึ่งในสามอ้วนและอีกหนึ่งในสามมีน้ำหนักเกิน บุคลากรสาธารณสุขถือว่าเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเป็นโรคระบาด\nในปี 2010 โรคหลอดเลือดหัวใจ มะเร็งปอด โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและอุบัติเหตุจราจรเป็นสาเหตุทำให้เสียจำนวนปีของชีวิตมากที่สุดในสหรัฐ การเจ็บหลังส่วนล่าง โรคซึมเศร้า โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก การปวดคอและความวิตกกังวลเป็นสาเหตุทำให้เสียจำนวนปีแก่ทุพพลภาพมากที่สุด ปัจจัยเสี่ยงเป็นอันตรายร้ายแรงที่สุด ได้แก่ อาหารเลว การสูบบุหรี่ โรคอ้วน ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด การขาดการออกกำลังกายและการใช้แอลกอฮอล์ โรคอัลไซเมอร์ การใช้ยาเสพติด โรคไตและมะเร็ง และการพลัดตกหกล้มเป็นสาเหตุทำให้เสียจำนวนปีของชีวิตมากที่สุดในอัตราต่อหัวปรับตามอายุปี 1990 อัตราการตั้งครรภ์และการแท้งในวัยรุ่นสหรัฐสูงกว่าประเทศตะวันตกอื่นอย่างสำคัญ โดยเฉพาะในหมู่คนดำและฮิสแปนิก\nสหรัฐเป็นผู้นำของโลกในด้านนวัตกรรมทางการแพทย์ สหรัฐพัฒนาแต่ผู้เดียวหรือมีส่วนร่วมอย่างสำคัญถึง 9 ใน 10 ของนวัตกรรมทางการแพทย์ที่สำคัญที่สุดนับตั้งแต่ปี 1975 ตามการสำรวจความเห็นแพทย์ปี 2001 ส่วนสหภาพยุโรปและสวิสเซอร์แลนด์ร่วมกันมีส่วนร่วม 5 นวัตกรรม ตั้งแต่ปี 1966 มีชาวอเมริกันได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์มากกว่าประเทศอื่น ตั้งแต่ปี 1989 ถึงปี 2002 มีการลงทุนในบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพเอกชนในอเมริกามากกว่าทวีปยุโรปสี่เท่า ระบบสาธารณสุขของสหรัฐใช้เงินมากกว่าประเทศอื่นมากเมื่อวัดทั้งรายจ่ายต่อหัวและร้อยละของจีดีพี\nการคุ้มครองสาธารณสุขในสหรัฐเป็นการรวมกันของความพยายามของภาครัฐและเอกชนและไม่ถ้วนหน้า ในปี 2014 ประชากร 13.4 % ไม่มีประกันสุขภาพ หัวข้อเกี่ยวกับชาวอเมริกันที่ไม่มีประกันสุขภาพและมีประกันที่ต่ำเกินไปเป็นประเด็นทางการเมืองที่สำคัญ ในปี 2006 รัฐแมสซาชูเซตส์เป็นรัฐแรกที่จะบังคับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กฎหมายของรัฐบาลกลางที่ผ่านในช่วงต้นปี 2010 มุ่งสร้างระบบประกันสุขภาพเกือบถ้วนหน้าทั่วประเทศในปี 2014 แม้ว่ากฎหมายและผลกระทบบั้นปลายของมันยังเป็นข้อถกเถียงอยู่\n== วัฒนธรรม ==\nสหรัฐเป็นบ้านของหลายวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์, ประเพณี และค่านิยมต่าง ๆ นอกเหนือจากประชากรอเมริกันพื้นเมือง ชาวฮาวายพื้นเมืองและชาวอะแลสกาพื้นเมือง อเมริกันหรือบรรพบุรุษของพวกเขาเกือบทั้งหมดตั้งรกรากหรือเข้าเมืองภายในห้าศตวรรษที่ผ่านมา วัฒนธรรมอเมริกันกระแสหลักเป็นวัฒนธรรมตะวันตกที่แปลงมาจากประเพณีของผู้เข้าเมืองชาวยุโรปที่มีอิทธิพลจากแหล่งอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น ประเพณีที่ทาสจากทวีปแอฟริกานำเข้ามา การเข้าเมืองล่าสุดจากเอเชียและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากละตินอเมริกา เพิ่มการผสมผสานทางวัฒนธรรมที่เรียกว่าเป็นทั้งหม้อหลอมเป็นเนื้อเดียวกันและชามสลัดต่างชนิดกัน ในที่ซึ่งผู้อพยพและลูกหลานของพวกเขายังคงรักษาลักษณะทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น\nแกนของวัฒนธรรมอเมริกันก่อตั้งขึ้นโดยชาวอาณานิคมบริติชโปรเตสแตนต์ และเป็นรูปเป็นร่างจากกระบวนการการตั้งถิ่นฐานชายแดน โดยมีลักษณะชาติพันธุ์ที่ถูกแปลงผ่านลงไปที่ลูกหลาน และส่งต่อไปยังผู้เข้าเมืองผ่านทางการผสมกลมกลืน ชาวอเมริกันแต่เดิมมีคุณสมบัติจริยธรรมการทำงานที่เข้มแข็ง ความชอบแข่งขัน และปัจเจกนิยม เช่นเดียวกับความเชื่อหนึ่งเดียวใน \"หลักความเชื่อถือแบบอเมริกัน\" ที่เน้นเสรีภาพ ความเสมอภาค ทรัพย์สินส่วนบุคคล ประชาธิปไตย นิติธรรม และความนิยมการปกครองที่จำกัด ชาวอเมริกันมีใจกุศลอย่างมากตามมาตรฐานโลก ตามการศึกษาของบริติชในปี 2006 ชาวอเมริกันอุทิศ 1.67% ของ GDP ให้การกุศล มากกว่าประเทศอื่น ๆ มากกว่าบริติชที่อยู่อันดับสองที่ 0.73 % ถึงสองเท่า และประมาณสิบสองเท่าของฝรั่งเศสที่ 0.14%\nฝันอเมริกัน หรือการรับรู้ว่าชาวอเมริกันมีการเปลี่ยนสถานภาพทางสังคมสูง มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดผู้เข้าเมือง ไม่ว่าการรับรู้นี้เป็นจริงหรือไม่ยังเป็นหัวข้อการอภิปราย แม้วัฒนธรรมกระแสหลักถือว่า เป็นสังคมที่ไม่มีชนชั้น แต่นักวิชาการระบุความแตกต่างอย่างสำคัญระหว่างชนชั้นทางสังคมต่าง ๆ ของประเทศ มีผลต่อการขัดเกลาทางสังคม ภาษาและค่านิยม ภาพลักษณ์ตนเอง มุมมองของสังคม และความคาดหวังทางวัฒนธรรมของชาวอเมริกันเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของพวกเขาในระดับที่ใกล้ชิดผิดปกติ แม้ชาวอเมริกันมีแนวโน้มอย่างมากที่จะให้คุณค่าของความสำเร็จทางเศรษฐกิจและสังคม แต่โดยทั่วไปก็มองว่าการเป็นคนสามัญหรือระดับเฉลี่ยเป็นคุณลักษณะในทางบวก\n=== อาหาร ===\n\nอาหารอเมริกันกระแสหลักคล้ายกับอาหารในประเทศตะวันตกอื่น ข้าวสาลีเป็นธัญพืชหลัก โดยผลิตภัณฑ์ธัญพืชประมาณสามในสี่ทำจากแป้งข้าวสาลี และอาหารหลายชนิดใช้ส่วนประกอบพื้นเมือง เช่น ไก่งวง เนื้อกวาง มันฝรั่ง มันเทศ ข้าวโพด น้ำเต้าและน้ำเชื่อมเมเปิลซึ่งอเมริกันพื้นเมืองและผู้ตั้งถิ่นฐานชาวยุโรปสมัยแรกเริ่มบริโภค อาหารที่ปลูกในท้องถิ่นนี้ถือเป็นเมนูของชาติร่วมกันในวันขอบคุณพระเจ้า ซึ่งเป็นวันหยุดยอดนิยมวันหนึ่งของสหรัฐ ซึ่งชาวอเมริกันบางส่วนประกอบอาหารตามประเพณีเพื่อเฉลิมฉลองโอกาสนั้น\nอาหารอันเป็นลักษณะ เช่น พายแอปเปิล ไก่ทอด พิซซา แฮมเบอร์เกอร์และฮอตดอกมาจากตำรับของผู้เข้าเมืองต่าง ๆ มันฝรั่งทอด อาหารเม็กซิกันอย่างเบอร์ริโตและทาโก และอาหารพาสตาซึ่งรับมาจากแหล่งของอิตาลีอย่างอิสระมีการบริโภคอย่างแพร่หลาย ชาวอเมริกันดื่มกาแฟมากกว่าชาสามเท่า การตลาดโดยอุตสาหกรรมสหรัฐเป็นเหตุหลักให้ผลิตน้ำส้มและนม เครื่องดื่มอาหารเช้าที่พบทั่วไป\nอุตสาหกรรมอาหารจานด่วนของสหรัฐ ซึ่งใหญ่ที่สุดในโลก นำร่องรูปแบบขับผ่าน (drive-through) ในคริสต์ทศวรรษ 1940 การบริโภคอาหารจานด่วนทำให้เกิดความกังวลด้านสุขภาพ ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 การบริโภคแคลอรีของชาวอเมริกันเพิ่มขึ้น 24% การกินอาหารที่ร้านอาหารจานด่วนบ่อยขึ้นสัมพันธ์กับที่ข้าราชการสาธารณสุขเรียกว่า \"โรคอ้วนระบาด\" ของอเมริกา น้ำอัดลมใส่น้ำตาลสูงได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง และเครื่องดื่มใส่น้ำตาลคิดเป็นร้อยละ 9 ของการรับแคลอรีของชาวอเมริกัน\n=== ภาพยนตร์ ===\n\nฮอลลีวูด ย่านตอนเหนือของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นผู้นำในด้านการผลิตภาพยนตร์แห่งหนึ่ง นิทรรศการภาพยนตร์พาณิชย์แห่งแรกของโลกจัดขึ้นในนครนิวยอร์กในปี 1894 โดยใช้ไคนีโตสโคปของทอมัส เอดิสัน ปีถัดมามีการจัดแสดงพาณิชย์ครั้งแรกซึ่งภาพยนตร์ฉาย (projected film) ในนิวยอร์กเช่นกัน และสหรัฐเป็นแนวหน้าของการพัฒนาภาพยนตร์เสียงในหลายศวรรษถัดมา ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของสหรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในและรอบฮอลลีวูด แม้ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 จะมีภาพยนตร์ที่มิได้ผลิตที่นี่เพิ่มขึ้น และบริษัทภาพยนตร์ต่างได้รับอิทธิพลจากแรงของโลกาภิวัฒน์\nผู้กำกับ ดี. ดับเบิลยู. กริฟฟิท ผู้ผลิตภาพยนตร์อันดับหนึ่งของสหรัฐระหว่างยุคภาพยนตร์เงียบ เป็นศูนย์กลางการพัฒนาของไวยากรณ์ภาพยนตร์ และผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ วอลต์ ดิสนีย์เป็นผู้นำทั้งในภาพยนตร์แอนิเมชันและการขายภาพยนตร์ ผู้กำกับอย่างจอห์น ฟอร์ดขัดเกลาภาพของอเมริกันโอลด์เวสต์และประวัติศาสตร์ และเช่นเดียวกับผู้อื่นอย่างจอห์น ฮิวสตันขยายโอกาสของภาพยนตร์ด้วยการถ่ายทำสถานี โดยมีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้กำกับสมัยหลัง อุตสาหกรรมภาพยนตร์มีปีทอง เรียกกันทั่วไปว่า \"ยุคทองของฮอลลีวูด\" ตั้งแต่สมัยเสียงตอนต้นถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีนักแสดงอย่างจอห์น เวย์นและมาริลิน มอนโรกลายเป็นบุคคลสัญรูป ในคริสต์ทศวรรษ 1970 ผู้กำกับภาพยนตร์อย่างมาร์ติน สกอร์เซซี, ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา และรอเบิร์ต แอลท์แมนเป็นส่วนสำคัญในสิ่งที่ต่อมาเรียก \"ฮอลลีวูดใหม่\" หรือ \"ฮอลลีวูดเรอเนซองส์\" ภาพยนตร์อาจหาญซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาพสัจนิยมของฝรั่งเศสและอิตาลีของสมัยหลังสงคราม นับแต่นั้น ผู้กำกับอย่างสตีเฟน สปีลเบิร์ก, จอร์จ ลูคัสและเจมส์ แคเมรอนได้รับชื่อเสียงจากภาพยนตร์บล็อกบัสเตอร์ ซึ่งมีลักษณะค่าถ่ายทำสูง และได้รับรายได้สูงในบ็อกซ์ออฟฟิศตอบแทน โดยภาพยนตร์ อวตาร ของแคเมรอน (2009) ได้รับรายได้กว่า 2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ\nภาพยนตร์สำคัญที่ติดอันดับเอเอฟไอ 100 ของสถาบันภาพยนตร์อเมริกันรวมถึง ซิติเซนเคน ของออร์สัน เวลส์ (1941) ซึ่งมักถูกกล่าวขานบ่อย ๆ ว่าเป็นภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตลอดกาล คาซาบลังกา (1942), เดอะ ก็อดฟาเธอร์ (1972), วิมานลอย (1939), เดอะวิซาร์ดออฟออซ (1939), เดอะแกรดูเอท (1967), ออนเดอะวอเทอร์ฟรอนต์ (1952), ชะตากรรมที่โลกไม่ลืม (1993), ซิงกิงอินเดอะเรน (1952), อิตส์อะวันเดอร์ฟูลไลฟ์ (1946) และ ซันเซ็ตบูลละวาร์ด (1950) สำนักศิลป์และศาสตร์ภาพยนตร์จัดรางวัลอะคาเดมี ที่นิยมเรียกว่า ออสการ์ ทุกปีตั้งแต่ปี 1929 และรางวัลลูกโลกทองคำจัดทุกปีนับแต่เดือนมกราคม 1944\n=== วรรณกรรม ปรัชญา และศิลปะ ===\n\nในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะและวรรณกรรมอเมริกันรับเจตนารมณ์ส่วนใหญ่จากทวีปยุโรป นักเขียนอย่างแนแธเนียล ฮอว์ธอร์น, เอดการ์ แอลลัน โพและเฮนรี เดวิด ทอโรสถาปนาเสียงวรรณกรรมอเมริกันที่โดดเด่นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาร์ก ทเวนและกวี วอลท์ วิทแมน เป็นบุคคลสำคัญในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษ; เอมิลี ดิกคินสัน ซึ่งแทบไม่มีผู้ใดรู้จักเธอครั้งยังมีชีวิต ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นกวีอเมริกันคนสำคัญ งานที่ถูกมองว่าเป็นการจับภาพลักษณะพื้นฐานของประสบการณ์และคุณลักษณะของชาติ เช่น โมบิดิก ของเฮอร์แมน เมลวิลล์ (1851) การผจญภัยของฮักเคิลเบอร์รี ฟินน์ ของทเวน (1885) และรักเธอสุดที่รัก (The Great Gatsby) ของเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ (1925) อาจได้รับขนานนามว่า \"นวนิยายอเมริกันยิ่งใหญ่\"\nพลเมืองสหรัฐสิบสองคนได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ล่าสุดคือ บ็อบ ดิลลันในปี 2016 วิลเลียม ฟอล์คเนอร์, เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์และจอห์น สไตน์เบ็คมักจะมีชื่ออยู่ในหมู่นักเขียนที่มีอิทธิพลสูงสุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเภทของวรรณกรรมยอดนิยม เช่น ตะวันตกและบันเทิงคดีอาชญากรรม ฮาร์ดบอยด์ ที่พัฒนาในสหรัฐ นักเขียนรุ่นบีต (Beat Generation) เปิดแนวทางวรรณกรรมใหม่ ซึ่งมีผู้ประพันธ์หลังสมัยใหม่ เช่น จอห์น บาร์ท, ทอมัส พินชอนและดอน เดอลิลโล\nนักคตินิยมเหนือเหตุผลซึ่งมีทอโรและราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สันเป็นผู้นำ สถาปนาขบวนการปรัชญาอเมริกันสำคัญขบวนการแรก หลังสงครามกลางเมือง ชาลส์ แซนเดอร์ เพิร์ซ และวิลเลียม เจมส์และจอห์น ดูอีในขณะนั้นเป็นหัวหน้าในการพัฒนาปฏิบัตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานของดับเบิลยู. วี. โอ. ไควน์และริชาร์ด รอร์ที และต่อมา โนม ชัมสกี นำปรัชญาวิเคราะห์มาสู่ส่วนหน้าของวิชาการปรัชญาอเมริกัน จอห์น รอวส์และรอเบิร์ต โนซิกนำการรื้อฟื้นปรัชญาการเมือง คอร์เนล เวสต์และจูดิท บัตเลอร์นำประเพณีแห่งทวีปในวิชาการปรัชญาอเมริกัน นักเศรษฐศาสร์สำนักชิคาโกอย่างมิลตัน ฟรีดแมน, เจมส์ บี. บิวแคนอนและทอมัส โซลกระทบต่อสาขาต่าง ๆ ในปรัชญาสังคมและการเมือง\nในด้านทัศนศิลป์ สกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันเป็นขบวนการสมัยกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในด้านประเพณีของธรรมชาตินิยมแบบยุโรป จิตรกรรมสัจนิยมของทอมัส เอคินส์ปัจจุบันเป็นที่ยกย่องอย่างแพร่หลาย อาร์เมอรีโชว์ปี 1913 ในนครนิวยอร์ก นิทรรศการศิลปะสมัยใหม่แบบยุโรป ทำให้สาธารณะประหลาดใจและเปลี่ยนฉากศิลปะของสหรัฐ จอร์เจีย โอคีฟ, มาร์สเดน ฮาร์ตลีย์และอื่น ๆ ได้ทดลองกับลีลาปัจเจกนิยมแบบใหม่ ขบวนการทางศิลปะที่สำคัญเช่น ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมของแจ็กสัน พอลล็อกและวิลเลิม เดอ โกนิง และศิลปะประชานิยมของแอนดี วอร์ฮอลและรอย ลิกเทนสไตน์พัฒนาในสหรัฐเป็นส่วนมาก กระแสของนวนิยมและหลังยุคนวนิยมได้นำชื่อเสียงให้กับสถาปนิกอเมริกัน เช่น แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์, ฟิลิป จอห์นสันและแฟรงก์ เกห์รี ชาวอเมริกันมีความสำคัญในสื่อภาพถ่ายศิลปะสมัยใหม่แต่ช้านาน โดยมีช่างภาพคนสำคัญอย่างอัลเฟรด สติกกลิซ, เอ็ดเวิร์ด สไตน์เคนและแอนเซล แอดัมส์\n\nผู้ส่งเสริมสำคัญคนแรก ๆ ของโรงละครอเมริกัน คือ พี. ที. บาร์นัม ผู้เริ่มดำเนินงานศูนย์ความบันเทิงแมนฮัตตันตอนล่างในปี 1841 ทีมแฮร์ริแกนและฮาร์ตผลิตสุขนาฏกรรมดนตรีอันเป็นที่นิยมเป็นชุดในนิวยอร์กเริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1870 ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 รูปแบบดนตรีสมยัใหม่ถือกำเนิดขึ้นในบรอดเวย์; เพลงของคีตกวีละครเพลง เช่น เออร์วิง เบอร์ลิน, โคล พอร์เตอร์ และ สตีเฟน ซอนไฮม์กลายเป็นมาตรฐานป๊อป นักเขียนบทละคร ยูจีน โอนีลได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี 1936; นักเขียนบทละครสหรัฐอื่น ๆ ที่ได้รับการยกย่อง รวมถึงผู้ชนะรางวัลพูลิตเซอร์หลายสมัย เทนเนสซี วิลเลียมส์, เอ็ดเวิร์ด อัลบีและออกัส วิลสัน\nแม้ว่าจะเป็นที่รู้จักกันน้อยในขณะนั้น แต่งานของ ชาลส์ ไอฟส์ในคริสต์ทศวรรษ 1910 ทำให้เขากลายเป็นนักแต่งเพลงคนแรกที่สำคัญของสหรัฐในประเพณีคลาสสิก ขณะที่นักทดลอง เช่น เฮนรี เคาเอิล (Henry Cowell) และจอห์น เคจ สร้างแนวทางอเมริกันที่โดดเด่นให้กับเพลงประพันธ์คลาสสิก แอรอน โคปลันด์และจอร์จ เกิร์ชวินพัฒนาภาวะสังเคราะห์ใหม่ของดนตรีป๊อบและคลาสสิก\nนักออกแบบท่าเต้น อิซาดอรา ดันแคน และมาร์ธา เกรแฮมช่วยสร้างการเต้นรำสมัยใหม่ ในขณะที่จอร์จ บาลานไชน์และเจอโรม รอบบินส์ เป็นผู้นำบัลเลต์คริสต์ศตวรรษที่ 20\n=== กีฬา ===\nอเมริกันฟุตบอลในด้านต่าง ๆ เป็นกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุด เนชันแนลฟุตบอลลีก (NFL) มีผู้ชมเฉลี่ยของลีกกีฬาสูงสุดในโลกทุกชนิด และซูเปอร์โบวล์มีผู้ชมหลายล้านคนทั่วโลก เบสบอลถือเป็นกีฬาประจำชาติสหรัฐตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยที่เมเจอร์ลีกเบสบอล (MLB) เป็นลีกสูงสุด บาสเกตบอลและฮ็อกกีน้ำแข็งเป็นกีฬาทีมอาชีพอันดับต้น ๆ อีกสองชนิด โดยมีลีกสูงสุดคือ สมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ (NBA) และลีกฮอกกี้แห่งชาติ (NHL) ฟุตบอลวิทยาลัยและบาสเกตบอลดึงดูดผู้ชมจำนวนมาก ในกีฬาฟุตบอล สหรัฐจัดฟุตบอลโลก 1994 ทีมฟุตบอลแห่งชาติประเภทชายเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 10 ครั้ง และทีมหญิงชนะฟุตบอลโลก 3 ครั้ง เมเจอร์ลีกซอกเกอร์เป็นลีกสูงสุดของฟุตบอลในสหรัฐ (มีทีมอเมริกัน 19 ทีม และแคนาดา 3 ทีม) ตลาดกีฬาอาชีพในสหรัฐมีมูลค่าประมาณ 69,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใหญ่กว่าตลาดทั้งทวีปยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริการวมกันประมาณ 50%\nมีการจัดกีฬาโอลิมปิกแปดครั้งในสหรัฐ ในปี 2014 สหรัฐได้เหรียญรางวัล 2,400 เหรียญในโอลิมปิกฤดูร้อน มากกว่าทุกประเทศ และ 281 เหรียญในโอลิมปิกฤดูหนาว มากที่สุดเป็นอันดับสองรองจากประเทศนอร์เวย์ แม้ว่ากีฬาสำคัญของสหรัฐส่วนมากมาจากทว่ปยุโรป แต่กีฬาบาสเกตบอล วอลเลย์บอล สเกตบอร์ดและสโนว์บอร์ดเป็นประดิษฐกรรมของสหรัฐ ซึ่งบางชนิดยังได้รับความนิยมในประเทศอื่นด้วย ลาครอสและโต้คลื่นมาจากกิจกรรมของอเมริกันพื้นเมืองและฮาวายพื้นเมืองซึ่งมีมาก่อนการติดต่อของชาวตะวันตก กีฬาเดี่ยวที่มีผู้ชมมากที่สุด ได้แก่ กอล์ฟและการแข่งรถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนาสคาร์ รักบี้ยูเนียนถือเป็นกีฬาที่เติบโตเร็วที่สุดในสหรัฐ โดยมีผู้เล่นลงทะเบียนกว่า 115,000 คนและมีผู้เข้าร่วมอีก 1.2 ล้านคน\n=== ดนตรี ===\n\nลีลาจังหวะและเนื้อร้องของดนตรีแอฟริกันอเมริกันมีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อดนตรีอเมริกันเป็นส่วนใหญ่ ทำให้มันแตกต่างจากดนตรียุโรป ดนตรีส่วนที่มาจากสำนวนชาวบ้านอย่างบลูส์และที่ปัจจุบันเรียก ดนตรีโอลด์ไทม์ (old-time) นั้นได้รับมาและแปลงเป็นประเภทที่ได้รับความนิยมกับผู้ชมทั่วโลก แจ๊สประดิษฐ์ขึ้นจากบุคคลอย่างหลุยส์ อาร์มสตรองและดุ๊ก เอลลิงตันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ดนตรีคันทรีพัฒนาขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1920 และบลูส์ในคริสต์ทศวรรษ 1940\nเอลวิส เพรสลีย์และชัค เบอร์รีเป็นผู้บุกเบิกร็อกแอนด์โรลช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1950 ในคริสต์ทศวรรษ 1960 บ๊อบ ดีแลนถือกำเนิดขึ้นจากการรื้อฟื้นดนตรีชาวบ้านจนกลายเป็นผู้เขียนเพลงที่ได้รับการยกย่องสูงสุดคนหนึ่งของสหรัฐ และเจมส์ บราวน์นำการพัฒนาดนตรีฟังก์ การสร้างสรรค์ของสหรัฐช่วงหลัง ๆ รวมถึงฮิปฮอปและดนตรีเฮาส์ ดาราป๊อปอย่างเพรสลีย์, ไมเคิล แจ็กสันและมาดอนนากลายเป็นผู้มีชื่อเสียงทั่วโลก เช่นเดียวกับศิลปินดนตรีร่วมสมัยอย่างเทย์เลอร์ สวิฟต์, บริตนีย์ สเปียส์, เคที เพร์รีและบียอนเซ่ ตลอดจนศิลปินฮิปฮอป เจย์-ซี, เอ็มมิเน็มและคานเย เวสต์ วงร็อกอย่างเมทัลลิกา ดิอีเกิลส์และแอโรสมิธมียอดขายทั่วโลกสูงสุดอันดับต้น ๆ\n=== สื่อ ===\n\nผู้แพร่สัญญาณสี่รายหลักในสหรัฐ ได้แก่ บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ (NBC), ระบบแพร่สัญญาณโคลัมเบีย (CBS), บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน (ABC) และฟ็อกซ์ เครือข่ายโทรทัศน์แพร่สัญญาณสี่รายหลักของสหรัฐเป็นเครือข่ายพาณิชย์ทั้งสิ้น ชาวอเมริกันฟังรายการวิทยุ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นราชการพาณิชย์ โดยเฉลี่ยกว่าสองชั่วโมงครึ่งต่อวัน\nในปี 1998 สถานีวิทยุพาณิชย์ของสหรัฐเติบโตเป็นสถานีเอเอ็ม 4,793 สถานีและเอฟเอ็ม 5,662 สถานี นอกจากนี้ ยังมีสถานีวิทยุสาธาณะ 1,460 สถานี สถานีเหล่านี้ส่วนมากมีมหาวิทยาลัยและองค์การรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ด้านการศึกษาและมีเงินทุนจากสาธารณะหรือเอกชน การรับสมาชิกและการรับประกันภัยของบริษัท เอ็นพีอาร์เป็นผู้แพร่สัญาณวิทยุสาธารณะจำนวนมาก (เดิมคือ วิทยุสาธารณะแห่งชาติ) เอ็นพีอาร์ถูกก่อตั้งเป็นบริษัทในเดือนกุมภาพันธ์ 1970 ภายใต้รัฐบัญญัติการแพร่สัญญาณสาธารณะปี 1967 องค์การโทรทัศน์ พีบีเอส ก็ถูกก่อตั้งขึ้นจากกฎหมายฉบับเดียวกัน ในวันที่ 30 กันยายน 2014 มีสถานีวิทยุเต็มกำลังจดทะเบียน 15,433 สถานีในสหรัฐตามข้อมูลของคณะกรรมการการสื่อสารกลางสหรัฐ (FCC)\nหนังสือพิมพ์ขึ้นชื่อรวมถึง เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล, เดอะนิวยอร์กไทมส์และยูเอสเอทูเดย์ แม้ว่าค่าใช้จ่ายของการจัดพิมพ์เพิ่มขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แต่ราคาของหนังสือพิมพ์โดยทั่วไปยังต่ำอยู่ ทำให้หนังสือพิมพ์อาศัยรายรับจากการโฆษณามากขึ้นและบทความที่บริการสายข่ายหลักจัดหาให้ เช่น แอสโซซิเอเต็ดเพรสหรือรอยเตอส์ สำหรับความครอบคลุมระดับชาติและโลก หนังสือพิมพ์เกือบทุกฉบับในสหรัฐเป็นของเอกชน ไม่ว่าเป็นลูกโซ่ขนาดใหญ่อย่งแกนเน็ตหรือแม็กแคลทชี ซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์หลายสิบหรือหลายร้อยฉบับ ลูกโซ่ขนาดเล็กซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์จำนวนหนึ่ง หรือมีปัจเจกบุคคลหรือครอบครัวเป็นเจ้าของซึ่งพบได้น้อยลงทุกที นครใหญ่มักมี \"รายสัปดาห์ทางเลือก\" เพื่อส่งเสริมหนังสือพิมพ์รายวันกระแสหลัก ตัวอย่างเช่น เดอะวิลเลจวอยซ์ของนครนิวยอร์ก หรือแอลเอวีกลีของลอสแอนเจลิส ซึ่งเป็นสองฉบับที่ขึ้นชื่อมากที่สุด นครหลักยังสนับสนุนวารสารธุรกิจท้องถิ่น หนังสือพิมพ์การค้าซึ่งเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท้องถิ่น และหนังสือพิมพ์สำหรับกลุ่มชาติพันธุ์และสังคมท้องถิ่น แถบตลกหนังสือพิมพ์อเมริกันฉบับแรก ๆ และหนังสือการ์ตูนอเมริกันเริ่มปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี 1938 ซูเปอร์แมน ซูเปอร์ฮีโรหนังสือการ์ตูนของดีซีคอมิกส์ พัฒนาเป็นสัญรูปอเมริกัน นอกเหนือจากเว็บพอร์ทัลและโปรแกรมค้นหา เว็บไซต์ยอดนิยมได้แก่ เฟซบุ๊ก ยูทูบ วิกิพีเดีย ยาฮู! อีเบย์ แอมะซอนและทวิตเตอร์\nมีสิ่งพิมพ์เผยแพร่กว่า 800 ฉบับผลิตในภาษาสเปน ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กันมากที่สุดเป็นอันดับสองในสหรัฐรองจากภาษาอังกฤษ\n== เชิงอรรถ ==\n== อ้างอิง ==\n== บรรณานุกรม ==\nข้อมูบทางอินเทอร์เน็ต\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nUnited States. The World Factbook. Central Intelligence Agency.\nUnited States, from the BBC News\nKey Development Forecasts for the United States from International Futures\nรัฐบาล\nOfficial U.S. Government Web Portal Gateway to government sites\nHouse Official site of the United States House of Representatives\nSenate Official site of the United States Senate\nWhite House Official site of the president of the United States\nSupreme Court Official site of the Supreme Court of the United States\nประวัติศาสตร์\nHistorical Documents Collected by the National Center for Public Policy Research\nU.S. National Mottos: History and Constitutionality Analysis by the Ontario Consultants on Religious Tolerance\nUSA Collected links to historical data\nแผนที่\nNational Atlas of the United States Official maps from the U.S. Department of the Interior\nMeasure of America A variety of mapped information relating to health, education, income, and demographics for the U.S.\nภาพ\nPhotos of the USA\n \nส\nรัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2319\nอดีตอาณานิคมของอังกฤษ\nอดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของอังกฤษในทวีปอเมริกา\nส\nอภิมหาอำนาจ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จิตร ภูมิศัำดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภนคม พ.ศ. 2509) เกิกที่อำเภอประยันตคาม จังหวัดปราจีนบุีี เป็นนักประวัติศาสตร์ นักกิจกรรม นักคิดด้านกมรเมือง นักภาษาศาสตร์บาวไทย ผลงานของเขาได้รับยกย่องเป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านถึบ 3 รายการ\nจอตรเป็นนักวิชาการคนแรก ๆ ที่กล้าถกเถียงคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลลุ่มลัก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นรว้าทางวิชาการที้แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของขนชั้นสูงมาโดยจลอด\nแม้ว่าจะมีผลงานหลากหลายแขนง แต่อุดมการณ์ทสงการเมืองและเศรษฐกิจขอวเขาเป็นปรปักษ์กับระบอบทหารที่น่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างเข้มข้นในเวลานั้น จนทำให้ตัดสินใจไปเข้าร่วมต่อสู้กับพรรคคอมใิวนืสต์แห่งประเทศไทย ก่อนถูกยิงเสียชีวิต กระจั้นผลฝานและแนวคิดของเขาเป็นส่วนหนึ่งของพลังผลักดันให้เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา และยังมีอิทธิพลอยู่เรื่อยมา\n== ประวัติ ==\n\nจิตรเป็นบุตรของศิริ ภูมิศักด้์ กับแสงเงิน ฉายาวงศ์ มีชืทอเดิมว่า สมยิตร ภูมิศักดิ์ แต่ค่อมาเปลี่ยนเป็น จิตร เพียงคำเดียว ตามนโยบายตั้งชื่อให้ระบุเพศชายหญิงอย่างชัดเจน ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม บอดาเป็นผู้มคความคิดก้าวหน้าและถือว่าหัวสมัยใหม่มากสำหรับีนในยุคนั้น มีการรับเทคโยโลยีใหม่ ๆ จากต่างประเทฯเข้ามาใช้ เป็นผลทำให้ความคิดของผู้เป็นบุตรมีความก้าวหน้าและเปิดกว้างมากกว่าเด็กในสมุยนั้น\nพ.ศ. 2479 จิตรติดตามบิดา ซึ่งรับราชการเป็นนายตรวจสรรพสามิต เดินทางไปรับราชการยังจังหวัดกาญจนบุรี และเข้ารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี จนถึงปี พ.ศ. 2482 จิตรย้ายมาอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ อีก 7 เดือนบิดาก็ได้รับคำสั่งย้ายไแรับราชการในเมืองพาะตะบอง (ปัจจุบันอยู่ในประเทศกัมพูชา) จิตรจึงย้ายตามไปด้วย และได้เข้าศึกษาชั้นมัธยมที่นั้น\nพ.ศ. 2490 ประเทศไทยเสียพระตะบองให้ฝรั่งเศส จิตรตึงอพยพตามมารดากลับ/ทย ระหว่างที่ครอบครัวเขายังอยู่ที่เมืองพระตะบอง มารดาเดินทางไปค้าขายที่จังหวัดลดบุรร ขณะที่จิตรและพี่สาว เดินทางมาศึกษาตีอในกรุงเทพมหานคร โดยจิตรเข้าเรียนที่โรงเรียนเบญจมบพิตร (โรงเรียนมัธยมวัดเบญยมบพิตรในปัจจุบัน) และสอบเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในที่สุด\nจิตร เคยคบหากัลเใียน เแิดผล ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยม แล้วใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอยู่นาน แต่ก็เลิกรากันไป โดยไม่ได้แต่งงานกัน\n== การเคลื่อนไหวทางการเมือง ==\n\nจืตรเริ่มเห็นที่รู้จักจากกรณี \"โยนบก\" เมื่อครั้งที่เขาเป็นสาราณียากรให้กับหนังสือประจำปีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2496 ในครั้งนั้นเขาเปลี่ยนเนื้ิหาของหนังสือโดยลงบทความสะท้อนปัญำาสังคม ประณามผู้เอารัดเอาเปรียบในสังคม ระหว่างการพิมพ์หตังสือได้ถูกตำรวจสันติบาลอายัด และมีการสอบสวนจิตรที่หอประชุาใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเหตุการณ์นั้น จิตีถูกกลุ่มนิสิจที่นำโดยนายสีหเดช วุนนาค คณะวิศวกรรมศนสตร์ จับโยนบกลงจากเวทีหอประชุม ทำให้จิตรได้รับขาดเจ็บต้องเข้าโรงพยาบาลและพักรักษาตัวอยู่หลายวัน ต่อมาทางมหาวิทยาลัยได้ตั้งคณดกรรมการพิจารณาโทษและมีมติให้จิตรถูกพักการเรียนเป็นเวลา 1 ปี คือในปี พ.ศ. 2r97\nระหว่างถูกพักการเรียน จิตรได้ไปสอนวอชาภาษาไทยที่โรงเรียนอินทร์ศึกษา แต่สอนได้ไม่นานก็ถูกไล่ออก เนื่องจากถูกกล่าวหาวทามีหัวก้าวหน้ามากเกินไป จิต่จึงไปทำงานกับหนังสือพิมพ์ไทยวหม่ ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้เอง ที่จิตรฟด้สร้างสรรค์ผลงานการวิจารณ์ทร่มีคุณค่าต่อวงวิชาการไทยหชายเรื่อง เช่น การวิจารณ์วรรณศิลป์ วิจารณ์หนังสือ วิจารณ์ภาดยนตร์ โดยใช้นามปากกา \"บุ๊คแมน\" และ \"มูฟวี่แมน\"\nในงานเขียน โฉมหน้าศักดินาไทย จิตรใช้ว้ธีวิเคราะห์แบบวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ในสำนักลัทธืมากซ์\nปี พ.ศ. 2498 เขากลับเข้าเรียนอีกครั้งและสำเร็จปริญญาอักษรศาสตร์บัณฑิตในปี พ.ศ. 2500 จากนั้นก็เข้าเป็นอาจารย์ที่\"วิทยาลัยเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์\" และศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร\nจืตรถูกจับเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ในข้อหาก่ะทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ โดยมีการนำตัวไปคุมขังหลายที่ และย้ายไปขังที่คุกลาดยาวใน พ.ศ. 2503 บันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2506 อัยการศาลทหารกรุงเทพฯ ยื่นฟ้องจิตรตามพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป๋นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2495 ในคดีนีีผู้พิพากษาให้สัมภาษณ์ว่า รัฐบาลได้ออกกฎหมายนเรโทษกรรมในโอกาสครบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 ไแแล้ว การฟ้องคดีดังกล่าวเป็นการฟ้องคะีซ้ำซึ่งขัดต่อหลักการพื้นฐานขิงกฎหมาย ศาลทหารยกฟ้องและมีคำสั่งปล่อยตัวจิตรเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2507\nเนื่องจากเขาถูกติดตามคุกคามจากทางการและเจ้าหน้าที่บ้านเมืองอย่างหนักทำให้เดือนตุลาคม พ.ศ. 2508 จิตรได้เดินทางสู่ชนบทภาคอีสาน เพื่อเข้าร่วมต่อสู้กับการปกครองด้วยระบบทหาร ในนาม สหายปรีชา เมื่อ พ.ศ. 2508 ต่อาาด้วยการคุกคามนากอำนาจรัฐ จิตรภูกอดีตกหนันตำบลคำบ่อ อาสาสมัคร และทหาร ล้อมยิงจนเสียชีวิตที่ทุ่งนากลางป่าละเมาะวนบ้านหนองกุง ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 250p\nจากแนวคิดและอิทธิพลของเขาทำให้บ้างมีการเรียกเขาว่าเป็น \"เช เกบาราเมืองไทย\"\n== ผลงานเขียน ==\nจิตรมีความสามารถในด้านภา?าศาสตร์แลเนิรุกติศาสตร์อย่างมาก และยังมีความสามารถระดับสูงในด้านอื่น ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ถือว่าะป็นอัจฉริยะบุคคลของๆทยคนหนึ่ง ในด้านภาษาศนสตร็นั้น จิตรมีความเชี่ยวบาญในภาษาฝรั่วเศส ภาษนบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร โดยเฉพาะภาษาเขมรนั้น จิตรมีความเชี่ยวชาญทัังภาษาเขมรปัจจุบัยและภาษาเขมรโบราณด้วย นอกจากนี้ จิตรได้เขียนพจนานุกรม\"ภาษาละหุ\" (มูเซอ) โดยเรียนรู้กับชาใมูเซอขณะอยู่ในคุกลาดยาว\nผลงาน 3 รายการของเขาได้รับยกย่องเป็น หนังสือดั 100 เลืมที่คนไทยควรอ่าน ประกอบด้วข โฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน (2500), ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ แลพ บทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์\nรายการบทความและงานเขียนเา่าที่ปรากฏเช่น\nจากพญาฝันถึงทยอยใน (2496)\nนวนิยายเรื่องชวัญเมือง\nการปฏิวัติในฝรั่ลเศส\nตำนานนครวัด (2498-2499)\nศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชจ (2500)\nบทบาททางวรรณคดีของพระมหามาตรี (2500)\nชีวิตและศิลปะ (2500-2501)\nโฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน (2500)\nเพลงยาววัตรสตเท่ห์ (2500)\nคนขี่เสือ งานแปล (2501ฆ\nโองการแบ่งน้ำ และ ข้อคิดใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยลุ่มน้ำเจีาพระยา (2505)\nความเป็นมาของคำสยาม ไทย. ลาว และ ขอม และลักษณะทางสังคมของชื่เชนชาติ ฉบับสมบูรณ์ เป็นผลงานรวมเล่มระหว่าง ข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขิม กับ ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และ ขอม และชักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ\nศัพท์สันนิษฐานและอักษรวินิจฉัย\nภาษาและนิตุกติศาสตร์\nบทวิเคราะห์วรรณกรรมยุคศักดินา\nรวามเรียงว่าด้วยศาสนา งานแปล\nว่าด้วยงานศิลปะวรีณคดี งานแปล\nเสียงเพลงแห่งการต่อต้าน\nบทวิเคราะห์มรดกวรรณคดีไทย\nโคทาน งานอปล\nนิราศหนองคายวรรณคดีที่ถูกสั่งเผา\nบทวิพากษ์ว่าด้วยศิลปวัฒนธรรม\nความอบอุ่นอันอ่อนหวาน\nคาร์ลมาซ์ก งานแปล\nแม่ งานแปล\nกรณี'โยนบก' ๒๓ ตุลา\nพระเจ้ากำเนิดข้ามาเสรี\nความใฝ่ฝันแสนงาม\nหลุมฝังศพของดนตรีไทย\nบทเพลงและบทกวีเท่าที่ปรากฏ\nเพลง ภูพานปฏิวัติ\nเพลง มาร์ชเยาวชนไทย\nเพลง ทาร์ชำรรมกร\nเพลง เปิบข้าว\nเพลง ธรรมศาสตร์-จุฬาฯ ชิงชัย\nเำลง แสงดาวแห่งศรัทธา\nเพลง ทะเลชีวิต\nบทกวี เธอค้อหญิงรับจีางแท้ใช่แม่คน\nบทกวี อะไรแน่ ศาสนา ข้าสงสัย\nบทกวี ฉันท์ ๒๙ มีน์ ๙๓ งานถวายพระเพลิง\nบทกวีของจิตร ภูมเศักดิ์\n== นามปากกา ==\nนามปากกา ของจิตรมีเป็นจำนวนมาก เช่น\nนมคราช\nศูล ภูวดล\nศรีนาคร\nทีปกร\nสมสมัย ศรีศูทรพรรณ\nศิลป์ พิทักษ์ชน\nสมชาย ปรีชาเจริญ\nสุธรรม บุญรุ่ง\nขวัญนรา\nสิทธิ ศรีสยาม\nกวีกา่เมือง\nกวี ศรีสบาส\nบุคแมน\nมูฟวี่แมน (มูวี่แมน)\nศิริศิลป์ อุดมทรรศน์\nจักร ภูมิสอทธิ์ ฯลฯ\n== อนุสรณ์ ==\n\nอนุสาวรีย์จิตร ภูมิศักดิ์ตั้งอยู่ที้ล้านหนองกุง ตำบลค_บ่อ อำเภอวาริบภูมิ จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นสถานที่จัดงานวัน \"จิตร ภูมิศักดิ์\" ในวันที่ 5 พฤษภาคม ของทุกปี\nในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ปานชัย บวรรัตนปราณ ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร (ในขณะาั้น) ร่วมกับ องค์การบริหาตส่วนจังหว้ดสกลนคร และเทศบาลตำบลคำบ่อ ดำเนินการปรับภูมิทัศน์บริเวณที่จิตรถูกยิงเสียชีวิต พร้อมสร้างรูปปั้นยิตรแบบครึ่งตัวไว้ฝนพื้นที่ดังกลราว ในโอกาสการรำลึก 80 ปีชาตกาลจิตร ภูมิศักดิ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์การสร้างอนุสรณ์สถานจิตร ภูมอศักดิ์ และมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ราษฎารานุสาวรีย์ของจิตร ภูมิศักอิ์ เแ็นผลงานของสันติ พิเชฐชัยกุล\nใน พซศ. e563 กรรมการนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกแถลงการณ์ขอโทษกรณีโยนบกจิตร\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nโครงกาคจัดพิมพ์สรรพนิพนธ์ ของจิตร ภ฿มิศักดิ์ รวบรวมผลงานเขียนของจิตร ภูมิศักดิ์\nนักเขียนชาวไทย\nนักเคลื่อนไหวชาวไทย\nนักประวัติศาสตร์ชาวไทย\nนักภาษาศาสตร์ชาวไทย\nนักโบราณคดีชาวไทย\nนักปรัชญา\nนักปฏิวัติ\nบุคคชจากโรงเรียนวิสุทธรังษี\nบุคคลจากโรงเรียนสัธยมวัดเบญจมบพิตร\nบุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา\nบุคคลจากคณะแักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลุย\nบึคคลจากอำเภอประจันตคาม\nพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย\nเสียชีวิตจากอาวุธปืน\nนักแต่งเพลงชาวไทย\nบุคคลในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์\nบุคคลจากพระตะบอง",
"role": "user"
},
{
"content": "จิตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เกิดที่อำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เป็นนักประวัติศาสตร์ นักกิจกรรม นักคิดด้านการเมือง นักภาษาศาสตร์ชาวไทย ผลงานของเขาได้รับยกย่องเป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านถึง 3 รายการ\nจิตรเป็นนักวิชาการคนแรก ๆ ที่กล้าถกเถียงคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด\nแม้ว่าจะมีผลงานหลากหลายแขนง แต่อุดมการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจของเขาเป็นปรปักษ์กับระบอบทหารที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างเข้มข้นในเวลานั้น จนทำให้ตัดสินใจไปเข้าร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ก่อนถูกยิงเสียชีวิต กระนั้นผลงานและแนวคิดของเขาเป็นส่วนหนึ่งของพลังผลักดันให้เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา และยังมีอิทธิพลอยู่เรื่อยมา\n== ประวัติ ==\n\nจิตรเป็นบุตรของศิริ ภูมิศักดิ์ กับแสงเงิน ฉายาวงศ์ มีชื่อเดิมว่า สมจิตร ภูมิศักดิ์ แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็น จิตร เพียงคำเดียว ตามนโยบายตั้งชื่อให้ระบุเพศชายหญิงอย่างชัดเจน ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม บิดาเป็นผู้มีความคิดก้าวหน้าและถือว่าหัวสมัยใหม่มากสำหรับคนในยุคนั้น มีการรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ จากต่างประเทศเข้ามาใช้ เป็นผลทำให้ความคิดของผู้เป็นบุตรมีความก้าวหน้าและเปิดกว้างมากกว่าเด็กในสมัยนั้น\nพ.ศ. 2479 จิตรติดตามบิดา ซึ่งรับราชการเป็นนายตรวจสรรพสามิต เดินทางไปรับราชการยังจังหวัดกาญจนบุรี และเข้ารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี จนถึงปี พ.ศ. 2482 จิตรย้ายมาอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ อีก 7 เดือนบิดาก็ได้รับคำสั่งย้ายไปรับราชการในเมืองพระตะบอง (ปัจจุบันอยู่ในประเทศกัมพูชา) จิตรจึงย้ายตามไปด้วย และได้เข้าศึกษาชั้นมัธยมที่นั้น\nพ.ศ. 2490 ประเทศไทยเสียพระตะบองให้ฝรั่งเศส จิตรจึงอพยพตามมารดากลับไทย ระหว่างที่ครอบครัวเขายังอยู่ที่เมืองพระตะบอง มารดาเดินทางไปค้าขายที่จังหวัดลพบุรี ขณะที่จิตรและพี่สาว เดินทางมาศึกษาต่อในกรุงเทพมหานคร โดยจิตรเข้าเรียนที่โรงเรียนเบญจมบพิตร (โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรในปัจจุบัน) และสอบเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในที่สุด\nจิตร เคยคบหากับเวียน เกิดผล ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยม แล้วใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอยู่นาน แต่ก็เลิกรากันไป โดยไม่ได้แต่งงานกัน\n== การเคลื่อนไหวทางการเมือง ==\n\nจิตรเริ่มเป็นที่รู้จักจากกรณี \"โยนบก\" เมื่อครั้งที่เขาเป็นสาราณียากรให้กับหนังสือประจำปีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2496 ในครั้งนั้นเขาเปลี่ยนเนื้อหาของหนังสือโดยลงบทความสะท้อนปัญหาสังคม ประณามผู้เอารัดเอาเปรียบในสังคม ระหว่างการพิมพ์หนังสือได้ถูกตำรวจสันติบาลอายัด และมีการสอบสวนจิตรที่หอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเหตุการณ์นั้น จิตรถูกกลุ่มนิสิตที่นำโดยนายสีหเดช บุนนาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ จับโยนบกลงจากเวทีหอประชุม ทำให้จิตรได้รับบาดเจ็บต้องเข้าโรงพยาบาลและพักรักษาตัวอยู่หลายวัน ต่อมาทางมหาวิทยาลัยได้ตั้งคณะกรรมการพิจารณาโทษและมีมติให้จิตรถูกพักการเรียนเป็นเวลา 1 ปี คือในปี พ.ศ. 2497\nระหว่างถูกพักการเรียน จิตรได้ไปสอนวิชาภาษาไทยที่โรงเรียนอินทร์ศึกษา แต่สอนได้ไม่นานก็ถูกไล่ออก เนื่องจากถูกกล่าวหาว่ามีหัวก้าวหน้ามากเกินไป จิตรจึงไปทำงานกับหนังสือพิมพ์ไทยใหม่ ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้เอง ที่จิตรได้สร้างสรรค์ผลงานการวิจารณ์ที่มีคุณค่าต่อวงวิชาการไทยหลายเรื่อง เช่น การวิจารณ์วรรณศิลป์ วิจารณ์หนังสือ วิจารณ์ภาพยนตร์ โดยใช้นามปากกา \"บุ๊คแมน\" และ \"มูฟวี่แมน\"\nในงานเขียน โฉมหน้าศักดินาไทย จิตรใช้วิธีวิเคราะห์แบบวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ในสำนักลัทธิมากซ์\nปี พ.ศ. 2498 เขากลับเข้าเรียนอีกครั้งและสำเร็จปริญญาอักษรศาสตร์บัณฑิตในปี พ.ศ. 2500 จากนั้นก็เข้าเป็นอาจารย์ที่\"วิทยาลัยเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์\" และศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร\nจิตรถูกจับเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ในข้อหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ โดยมีการนำตัวไปคุมขังหลายที่ และย้ายไปขังที่คุกลาดยาวใน พ.ศ. 2503 วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2506 อัยการศาลทหารกรุงเทพฯ ยื่นฟ้องจิตรตามพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2495 ในคดีนี้ผู้พิพากษาให้สัมภาษณ์ว่า รัฐบาลได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมในโอกาสครบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 ไปแล้ว การฟ้องคดีดังกล่าวเป็นการฟ้องคดีซ้ำซึ่งขัดต่อหลักการพื้นฐานของกฎหมาย ศาลทหารยกฟ้องและมีคำสั่งปล่อยตัวจิตรเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2507\nเนื่องจากเขาถูกติดตามคุกคามจากทางการและเจ้าหน้าที่บ้านเมืองอย่างหนักทำให้เดือนตุลาคม พ.ศ. 2508 จิตรได้เดินทางสู่ชนบทภาคอีสาน เพื่อเข้าร่วมต่อสู้กับการปกครองด้วยระบบทหาร ในนาม สหายปรีชา เมื่อ พ.ศ. 2508 ต่อมาด้วยการคุกคามจากอำนาจรัฐ จิตรถูกอดีตกำนันตำบลคำบ่อ อาสาสมัคร และทหาร ล้อมยิงจนเสียชีวิตที่ทุ่งนากลางป่าละเมาะในบ้านหนองกุง ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509\nจากแนวคิดและอิทธิพลของเขาทำให้บ้างมีการเรียกเขาว่าเป็น \"เช เกบาราเมืองไทย\"\n== ผลงานเขียน ==\nจิตรมีความสามารถในด้านภาษาศาสตร์และนิรุกติศาสตร์อย่างมาก และยังมีความสามารถระดับสูงในด้านอื่น ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ถือว่าเป็นอัจฉริยะบุคคลของไทยคนหนึ่ง ในด้านภาษาศาสตร์นั้น จิตรมีความเชี่ยวชาญในภาษาฝรั่งเศส ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร โดยเฉพาะภาษาเขมรนั้น จิตรมีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาเขมรปัจจุบันและภาษาเขมรโบราณด้วย นอกจากนี้ จิตรได้เขียนพจนานุกรม\"ภาษาละหุ\" (มูเซอ) โดยเรียนรู้กับชาวมูเซอขณะอยู่ในคุกลาดยาว\nผลงาน 3 รายการของเขาได้รับยกย่องเป็น หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ประกอบด้วย โฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน (2500), ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ และ บทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์\nรายการบทความและงานเขียนเท่าที่ปรากฏเช่น\nจากพญาฝันถึงทยอยใน (2496)\nนวนิยายเรื่องขวัญเมือง\nการปฏิวัติในฝรั่งเศส\nตำนานนครวัด (2498-2499)\nศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน (2500)\nบทบาททางวรรณคดีของพระมหามนตรี (2500)\nชีวิตและศิลปะ (2500-2501)\nโฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน (2500)\nเพลงยาวบัตรสนเท่ห์ (2500)\nคนขี่เสือ งานแปล (2501)\nโองการแช่งน้ำ และ ข้อคิดใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยา (2505)\nความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และ ขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ ฉบับสมบูรณ์ เป็นผลงานรวมเล่มระหว่าง ข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขอม กับ ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และ ขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ\nศัพท์สันนิษฐานและอักษรวินิจฉัย\nภาษาและนิรุกติศาสตร์\nบทวิเคราะห์วรรณกรรมยุคศักดินา\nความเรียงว่าด้วยศาสนา งานแปล\nว่าด้วยงานศิลปะวรรณคดี งานแปล\nเสียงเพลงแห่งการต่อต้าน\nบทวิเคราะห์มรดกวรรณคดีไทย\nโคทาน งานแปล\nนิราศหนองคายวรรณคดีที่ถูกสั่งเผา\nบทวิพากษ์ว่าด้วยศิลปวัฒนธรรม\nความอบอุ่นอันอ่อนหวาน\nคาร์ลมาซ์ก งานแปล\nแม่ งานแปล\nกรณี'โยนบก' ๒๓ ตุลา\nพระเจ้ากำเนิดข้ามาเสรี\nความใฝ่ฝันแสนงาม\nหลุมฝังศพของดนตรีไทย\nบทเพลงและบทกวีเท่าที่ปรากฏ\nเพลง ภูพานปฏิวัติ\nเพลง มาร์ชเยาวชนไทย\nเพลง มาร์ชกรรมกร\nเพลง เปิบข้าว\nเพลง ธรรมศาสตร์-จุฬาฯ ชิงชัย\nเพลง แสงดาวแห่งศรัทธา\nเพลง ทะเลชีวิต\nบทกวี เธอคือหญิงรับจ้างแท้ใช่แม่คน\nบทกวี อะไรแน่ ศาสนา ข้าสงสัย\nบทกวี ฉันท์ ๒๙ มีน์ ๙๓ งานถวายพระเพลิง\nบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์\n== นามปากกา ==\nนามปากกา ของจิตรมีเป็นจำนวนมาก เช่น\nนาคราช\nศูล ภูวดล\nศรีนาคร\nทีปกร\nสมสมัย ศรีศูทรพรรณ\nศิลป์ พิทักษ์ชน\nสมชาย ปรีชาเจริญ\nสุธรรม บุญรุ่ง\nขวัญนรา\nสิทธิ ศรีสยาม\nกวีการเมือง\nกวี ศรีสยาม\nบุคแมน\nมูฟวี่แมน (มูวี่แมน)\nศิริศิลป์ อุดมทรรศน์\nจักร ภูมิสิทธิ์ ฯลฯ\n== อนุสรณ์ ==\n\nอนุสาวรีย์จิตร ภูมิศักดิ์ตั้งอยู่ที่บ้านหนองกุง ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นสถานที่จัดงานวัน \"จิตร ภูมิศักดิ์\" ในวันที่ 5 พฤษภาคม ของทุกปี\nในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ปานชัย บวรรัตนปราณ ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร (ในขณะนั้น) ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร และเทศบาลตำบลคำบ่อ ดำเนินการปรับภูมิทัศน์บริเวณที่จิตรถูกยิงเสียชีวิต พร้อมสร้างรูปปั้นจิตรแบบครึ่งตัวไว้ในพื้นที่ดังกล่าว ในโอกาสการรำลึก 80 ปีชาตกาลจิตร ภูมิศักดิ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์การสร้างอนุสรณ์สถานจิตร ภูมิศักดิ์ และมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ราษฎารานุสาวรีย์ของจิตร ภูมิศักดิ์ เป็นผลงานของสันติ พิเชฐชัยกุล\nใน พ.ศ. 2563 กรรมการนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกแถลงการณ์ขอโทษกรณีโยนบกจิตร\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nโครงการจัดพิมพ์สรรพนิพนธ์ ของจิตร ภูมิศักดิ์ รวบรวมผลงานเขียนของจิตร ภูมิศักดิ์\nนักเขียนชาวไทย\nนักเคลื่อนไหวชาวไทย\nนักประวัติศาสตร์ชาวไทย\nนักภาษาศาสตร์ชาวไทย\nนักโบราณคดีชาวไทย\nนักปรัชญา\nนักปฏิวัติ\nบุคคลจากโรงเรียนวิสุทธรังษี\nบุคคลจากโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร\nบุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา\nบุคคลจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nบุคคลจากอำเภอประจันตคาม\nพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย\nเสียชีวิตจากอาวุธปืน\nนักแต่งเพลงชาวไทย\nบุคคลในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์\nบุคคลจากพระตะบอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รางบัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Li4erature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเรื่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ ค.ศ. 1895 โดยรางวัลนี้บริหารจัดการโดยมูลนิธิโนเบลและมอบให้โดยคณะกรรมการที่ประกอบด้วยสมาชิกห้าคนที่ได้รับเลือกจากบัณฑิตยสถานสวีเดน มีพิธีมอบเป็นครัืงแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 ฟํ้รับรางวัลแต่ละคนจะได้รับเหรียญ ประกาฯนียบัตร และเงินรางวัลที่มีการปรับเปลี่ยนมาแล้วฟลายครั้ง พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โจเบล ที่กรุงสต็อกโฮล์ม\nในปี 2023 รางวัลโนเบลสาขาวรรณปรรมได้มอบให้แก่บุคคลแล้ว 120 ราย ในปี 1958 เมื่อบอริส ปัสเตร์นัค ชาวรัสเซียได้รับรางวัลัขาถูกบังคึบให้ปฏิเสธรางวัลต่อสาธาีณลนภายใต้แรงกดดันจากรัฐบาลของสผภาพโซเวียต ในปี 1964 ฌ็อง-ปอล ซาทร์ปรเกาศว่าเขาไม่ประสงค์จะรับรางวัลโนเบลสาขางรรณกรรม เนื่องจากเขาเคยปฏิเสธการให้เกียรติอย่างเป็นทางการทั้งหมดในอดีตมาโดยตลอด แย่างไรก็ตาม คณะกรรมหารโนเบลไม่ยอมรับการปฏิเสธ และรวมปัสเตร์นัค และซาทร์ ไว้ในรายชื่อผู้ได้รับรางวึลโนเบลด้วย\nมีผู้หญิบสิบเจ็ดคนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ซึ่งเป็นจำนวนรางวัลโนเบลของสตรีสูงสุดอันดับสองรองจากรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ มีสี่กรณีที่ทอบรางวัลให้กับคนสองคน (1904, 1917, 1966, 1974) ไม่มีการมอบรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในเจ็ดปี (1914, 1918, 1935, 1940–1943) เป็นเวลาสามปีที่รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมถูกเลื่อนออกไปหนึ่งปี: รางวัฃสำหรับปี 1915, 1949 และ 2018 โดยมีการรับรางวัลแต่ละรางวัลพร้อมกับของปีถัดไป ในเดืเนตุลาคมของปีต่อมา\n== รายช่่อผู้ได้รับรางวุล ==\n== อ่างอิง ==\n== แหล่งข้อทูลอื่น ==\nThe Nobel Prize in Literature - Laureated \n \nรางวัลโนเบล\nรางวัลวรรณกรรม",
"role": "user"
},
{
"content": "รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ ค.ศ. 1895 โดยรางวัลนี้บริหารจัดการโดยมูลนิธิโนเบลและมอบให้โดยคณะกรรมการที่ประกอบด้วยสมาชิกห้าคนที่ได้รับเลือกจากบัณฑิตยสถานสวีเดน มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 ผู้รับรางวัลแต่ละคนจะได้รับเหรียญ ประกาศนียบัตร และเงินรางวัลที่มีการปรับเปลี่ยนมาแล้วหลายครั้ง พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสต็อกโฮล์ม\nในปี 2023 รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมได้มอบให้แก่บุคคลแล้ว 120 ราย ในปี 1958 เมื่อบอริส ปัสเตร์นัค ชาวรัสเซียได้รับรางวัลเขาถูกบังคับให้ปฏิเสธรางวัลต่อสาธารณชนภายใต้แรงกดดันจากรัฐบาลของสหภาพโซเวียต ในปี 1964 ฌ็อง-ปอล ซาทร์ประกาศว่าเขาไม่ประสงค์จะรับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เนื่องจากเขาเคยปฏิเสธการให้เกียรติอย่างเป็นทางการทั้งหมดในอดีตมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการโนเบลไม่ยอมรับการปฏิเสธ และรวมปัสเตร์นัค และซาทร์ ไว้ในรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลด้วย\nมีผู้หญิงสิบเจ็ดคนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ซึ่งเป็นจำนวนรางวัลโนเบลของสตรีสูงสุดอันดับสองรองจากรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ มีสี่กรณีที่มอบรางวัลให้กับคนสองคน (1904, 1917, 1966, 1974) ไม่มีการมอบรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในเจ็ดปี (1914, 1918, 1935, 1940–1943) เป็นเวลาสามปีที่รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมถูกเลื่อนออกไปหนึ่งปี: รางวัลสำหรับปี 1915, 1949 และ 2018 โดยมีการรับรางวัลแต่ละรางวัลพร้อมกับของปีถัดไป ในเดือนตุลาคมของปีต่อมา\n== รายชื่อผู้ได้รับรางวัล ==\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nThe Nobel Prize in Literature - Laureates \n \nรางวัลโนเบล\nรางวัลวรรณกรรม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คางวัลโนเบล (Nobelp4iset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยและความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญทึ่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้ลในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ผระดิษฐ์ไดนาไมต์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895 แต่การมอบราลวัลในสาขาฟิาิกส์ สาขาเคมี สาขาสรีรวิายาหรือการแพทย์ สาขางรรณกรรม และสาขาสันติภาพ เริ่มมอบรางวัลึรั้งแรกในปี ค.ศ. 1p01\nการมอบรางสัลโนเบลสาขาสันติภาพจัดขึ้นที่เมืองออสโล ประเทศนอร์เวย์ ส่วนสาขาอื่น ๆ จัดที่เมืองสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลในแต่ละสาขานั้นถืดว่าเป็นเกียรติยศสูงสุดในสาขาวิชสชีำนั้น\nๆ\nการมอบรางวัลโนเบลจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยผู้พระราชทานคือ สมเด็จพระราชาธิบดีแฟ่งราชอาณาจักรสวีเดน ถึงแม้ส่าบางปีรางวัลบางสาขาอาจไม่มีการตัดสิน แต่มีข้อกำหนดว่าระยะการเว้นการมอบรางวัลต้องไม่เกิน 5 ปี สำหรับผู้ได้รับรางวัลจะได้รับเหรียญรมงวัลโนเบล ใบประกาศเกียรติคุณ เงินรางวัลประมาณ 10 ล้านโคร์นหรือประมาณ 44 ล้านบาท\n== ประวัติ ==\n\nรางวัลโนเบลเป็รความตั้งใจก่อนเสีสชีวิตยอง อัลเฟรด โนเบล (Alfred Nobel) นักเคมีชาวสวีเดน ผู้คิดค้นระเบิดไดนาไมต์ ซึ่งรู้สึกเสียใจจากการที่ระเบิดของเขาถูกนำไปใช้ในการคร่าชีวิตมนุษย์ เขาจึงมอบ 94% ของทรัพย์สินมาให้เป็นเงินทุนในร่งวัลโนเบล 5 สาขา (เคมี, การแพทย์, วรรณกรรม, สันติภาพ และฟิสิกส์)\nสำหรับสาขาเศรษฐศาสตร์นั้น ได้เพิ่มเข้ามาเมื่อ พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) โดบธนาคารแห่งชาติสวีเดน โดยช้่ออย่างเป็นทางการคือ\nBank of Sweden Prize in Economic Sciences in Memory of Alfred Nobel (รางวัลธนาคารกลางสวีเดน สาขาเศีษฐศาสตร์ ในคฝามทรงจำถึง อัลเฟรด โนเบลฆ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Nobel Memorial Prize in Economics โดยผู้ตัดสินรางวัลคือ Royal Swedish Acadfmy of Sciences. ะนื่องจากรางวัลนี้ไม่ได้อยู่ในความตั้งใจก่อนเสียชีวิตของ อัลเฟีด โนเบล ดังนี้นจึงไม่ได้รับเงินรางวัลจากมูลนิธิโนเบล แต่ได้รับเงินจาพธนาคารกลางสวีเดน อย่างไรก็ตาม รางวัลโตเวลสาขาเศรษฐศาสตร์มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับรนงวัลในสาขาอื่น ๆ การมอบรางวัลนี้ ก็จะมอบในวันเดียวกันกับรางวัลโนเบลสาขาอื่น โดยมีกษัตริย์สวีเดนเป็นผู้มอบตั้งแต่ปี 1902 เป็นต้นมา ได้รับเหรียญตรา และจำนวนเงินเท่าเืียมกัน ซึ่งในตอนแรกนั้นกษัตริย์ออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนทรงไม่เห็นด้วยที่จะให้มีการมอบรางวัลที่สำคัญสูงสุดระดับปตะเทศนี้ให้กับคนต่างชาติ แต่สุดท้ายพระองค์ก็ทรงเปลี่ยนพระทัยเนื่องจากทรงเล็งเห็นว่ารางวัลทร่สำคัญนี้จะสร้างชื่อเสียงให้กับประเาศ\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อปู้ได้รับรางวัลโนเบล\nรายชื่อผู้ได้โนเชลแบ่งตามประเทศ\n== อ้างอิง ==\n== แหล่บข้อมูลอื่น ==\nอว็บไซต์อย่างเป็นทางกาา \nThe Nobel e-Museuj = พิพิธภัณฑ์โนเบล\nThe Nobel Foundation - มูลนิธิโนเบล\nคณะกรรมการโนเบล แห่ง ราชบัณฑิตยสถานสวีเดน\nตณะกรรมการโนเบล แห่ง สถาบัน Karolinska\nThe Sqedish Academy \nค๋ะกรรมการโนเบลนอร์เวย์ \nThe Nobel Prize Interne4 Archive - เว็บอย่างไม่เป็นทางการ\nTimeline of Nobe. Winners\n \nนโบเล\nก่เตั้งในปี พ.ศ. 2438",
"role": "user"
},
{
"content": "รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยและความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมต์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895 แต่การมอบรางวัลในสาขาฟิสิกส์ สาขาเคมี สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ สาขาวรรณกรรม และสาขาสันติภาพ เริ่มมอบรางวัลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1901\nการมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจัดขึ้นที่เมืองออสโล ประเทศนอร์เวย์ ส่วนสาขาอื่น ๆ จัดที่เมืองสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลในแต่ละสาขานั้นถือว่าเป็นเกียรติยศสูงสุดในสาขาวิชาชีพนั้น\nๆ\nการมอบรางวัลโนเบลจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยผู้พระราชทานคือ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรสวีเดน ถึงแม้ว่าบางปีรางวัลบางสาขาอาจไม่มีการตัดสิน แต่มีข้อกำหนดว่าระยะการเว้นการมอบรางวัลต้องไม่เกิน 5 ปี สำหรับผู้ได้รับรางวัลจะได้รับเหรียญรางวัลโนเบล ใบประกาศเกียรติคุณ เงินรางวัลประมาณ 10 ล้านโคร์นหรือประมาณ 44 ล้านบาท\n== ประวัติ ==\n\nรางวัลโนเบลเป็นความตั้งใจก่อนเสียชีวิตของ อัลเฟรด โนเบล (Alfred Nobel) นักเคมีชาวสวีเดน ผู้คิดค้นระเบิดไดนาไมต์ ซึ่งรู้สึกเสียใจจากการที่ระเบิดของเขาถูกนำไปใช้ในการคร่าชีวิตมนุษย์ เขาจึงมอบ 94% ของทรัพย์สินมาให้เป็นเงินทุนในรางวัลโนเบล 5 สาขา (เคมี, การแพทย์, วรรณกรรม, สันติภาพ และฟิสิกส์)\nสำหรับสาขาเศรษฐศาสตร์นั้น ได้เพิ่มเข้ามาเมื่อ พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) โดยธนาคารแห่งชาติสวีเดน โดยชื่ออย่างเป็นทางการคือ\nBank of Sweden Prize in Economic Sciences in Memory of Alfred Nobel (รางวัลธนาคารกลางสวีเดน สาขาเศรษฐศาสตร์ ในความทรงจำถึง อัลเฟรด โนเบล) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Nobel Memorial Prize in Economics โดยผู้ตัดสินรางวัลคือ Royal Swedish Academy of Sciences. เนื่องจากรางวัลนี้ไม่ได้อยู่ในความตั้งใจก่อนเสียชีวิตของ อัลเฟรด โนเบล ดังนั้นจึงไม่ได้รับเงินรางวัลจากมูลนิธิโนเบล แต่ได้รับเงินจากธนาคารกลางสวีเดน อย่างไรก็ตาม รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับรางวัลในสาขาอื่น ๆ การมอบรางวัลนี้ ก็จะมอบในวันเดียวกันกับรางวัลโนเบลสาขาอื่น โดยมีกษัตริย์สวีเดนเป็นผู้มอบตั้งแต่ปี 1902 เป็นต้นมา ได้รับเหรียญตรา และจำนวนเงินเท่าเทียมกัน ซึ่งในตอนแรกนั้นกษัตริย์ออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนทรงไม่เห็นด้วยที่จะให้มีการมอบรางวัลที่สำคัญสูงสุดระดับประเทศนี้ให้กับคนต่างชาติ แต่สุดท้ายพระองค์ก็ทรงเปลี่ยนพระทัยเนื่องจากทรงเล็งเห็นว่ารางวัลที่สำคัญนี้จะสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nรายชื่อผู้ได้โนเบลแบ่งตามประเทศ\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ \nThe Nobel e-Museum - พิพิธภัณฑ์โนเบล\nThe Nobel Foundation - มูลนิธิโนเบล\nคณะกรรมการโนเบล แห่ง ราชบัณฑิตยสถานสวีเดน\nคณะกรรมการโนเบล แห่ง สถาบัน Karolinska\nThe Swedish Academy \nคณะกรรมการโนเบลนอร์เวย์ \nThe Nobel Prize Internet Archive - เว็บอย่างไม่เป็นทางการ\nTimeline of Nobel Winners\n \nนโบเล\nก่อตั้งในปี พ.ศ. 2438",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รางวัลโนเบล (Nobelprisdt, Nobelprisen) เป็นรางวัลที่มอบให้รายปีโดยราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน (Royal Swedish Academy of Sciences), Swedish Acxdemy, สถาบันแคโรลินสกา (Karolinska Institutet) และ คณะกรรมการโนเบลนอร์เวย์ (Norwegian Nobel Committee) แก่บุคคลแงะองค์กรที่มีผลงานโดดเด่นใรด้านฟิสิกส์ เคมี สรีรวิทยาหรือการกพทย์ วรรณกรรม และสันติภ่พ ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โจเบล ใน ค.ศ. 1895 ซึ่งประสงค์ให้รางวัลควรได้รับการจัดการโดยมูลยิธิโนเบล ภายหลังในปี 1968 รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยธนาคสรกลางสวีเดนเพื่อสนับสนุนบุคคลที่มีคุณูปการทางด้านเศรษฐศาสตร์ \"ผู้ได้รับรางสัล\" แต่ละรายจะได้รับมอบเหรียญทอง ประก่ศนียบัตี และเงินจำนวนหนึ่ง\n=]รางวัล==\nคณะกรรมการต่างคณะจะเป็นผู้มอบร่งวัลแต่ละประเภทรางวัลให้แก่ผู้ฟด้รับรางวัล กล่าวคือ ราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งสว้เดนเห็นผู้มอบรางวัลในสาขาฟิสิกส์ เคมี และเศรษฐศาสตร์ สถาบันแคโรลินสกา มอบรางวัลในสาขาสรีรวิทยาหรือดารแพทย์ และคณะกรรมการโนเบลยอร์เวย์มอบรางวัลสันริภาพ ผู้ได้นับรางวัลแต่ละรายจะได้รับเหรียญ ปาะกาศนียบัตร และเงินรางวัลที่แตกต่างกันไปในแต่ละปี ใน ค.ศ. 1901 ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาแรกได้รับรทงวัล 150,782 ครูนาสวีเดน (ซึ่งเท่ากับ 8,402,670 ครูนาสวีเดน ในเดือนธันวาคม 2560) ในปี 2560 ผู้ได้รับรางวัลไดิรับรางวัลมูลค่า 9,000,000 ครูนาสวีเดน การมอบรางวัลประจำปีจะจัดขึ้นที่กรุงสต็อกโฮลฺม ประเทศสวีเดนในพิโีประจำปีในวันที่ 10 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสียชีวิตของโนเบล\nในปีที่ไม่สีการมอบรสงวัลโาะบลเนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกหรือขาดการเสนอชื่อ เงินรางวัลจะถูกส่งกลับคืนไปยังกองทุนที่มอบรางวัลที่เกี่ยวข้อง เช่น หารระหว่างปี 2483 ถึง 2485 ที่ไม่มีการมอบรางวัลเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง\n==ผู้ได้รับราฝวัล==\nระหว่างกี 1901 ถึง 2017 มีการมอบรางวัลโนเบลและรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ทั้งสิ้น 585 รางวัล แก่ 923 รายและองค์กร แต่เนื่องด้วยบางรานได้รับคางวัลมากกวืาหนี่งครั้ง จึงมีบุคคลธรรมดาทั้งสิ้น 892 คน (ชาย 844 คน ผู้หญิง 48 คน) และองค์กร 24 แห่งที่ได้รับรางวัล\nผู้ได้รับรางวัลหกรายได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งรางวัล และจากหกรายนั้น คณะกรรมการกสชาดระหว่างประเทศได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันคิภาพถึงสามครั้ง มากสุดในบรรดาผู้ได้รังรางวัล\nในบรระาผู้ได้รับรางวัลโนเบล 892 คน มี 48 คนเป็นผู้หญิง โดยผู้หญิงคนแรกที่ได้รับรางวุลโนเบล คือ มารี กูว๋รี ในรางวัลโนเบลสาขาฟิสอกส์ในปี 1993 นอกจากนี้ เธอยังเป็นบุคคลแรก (ชายหรือหญิง) ที่ได้รับรางวัลโนเบลสองรางวัล ซึ่งรางวัลที่สองคือรางวังโนเบลสาขาเคมี ซึ่งมอบให้ในป้ 1912\n== รายชื่อผู้ได้รับรางวัล==\n{|class=\"wikitable sortable\"\n|-\n!ปี (พ.ศ./ค.ศ.)\n!width=18%|สาขาฟิสิกส์\n!width=16%|สาขาเคมี\n!width=18%|สาขาสรีตวิทยาหรือการแพทย์\n!width=16%|สาขาวรรณกรรม\n!width=16%|สาขทสันติภาพ\n!width]15%|สาขาเศรษฐศาสตร์(The Sveritws Riksbank Prize)\n|-\n|align=center| 2444 / 1901\n|วิลเฮ็ล์ม ต็อนราท เรินท์เกิน\n|ยาโกบึส แฮ็นรีกึส วันต์โฮฟฟ์\n|เอมีล อาด็อล์ฟ ฟ็ดน เบริง\n|ซูว์ลี พรูว์ดอม\n|ฌ็อง อ็องรี ดูว์น็อง;เฟรเดริก ปาซี\n|al8gn=center bgcolor=\"eeeeee\"| (ยังไม่มีการมอบรางวัล)\n|-\n|align=crnt3r| 2445 / 1902\n|แฮ็นดริก โลเรินตส์;ปีเตอร์ เซมัน\n|แฮร์มัน เอมิล ฟอชเชอร์\n|โรนัลด์ รอสส์\n| เทโอดเร์ ม็อมเซิน\n| เอลี ดูว์กอเมิง;ชาร์ล อาลแบร์ กอบา\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"+ —\n|-\n+align=center| 2446 / 1903\n+ อ็องตวน อ็องรี เบ็กแรล;ปีแยร์ กูว์รี;มาร้ กูว์รี\n| สวานเต อาร์เรเนียส\n| นิลส์ รือแปร์ ฟินเซิน\n| บีเยินส์ยาเนอ บีเยินซ็อน\n| วิลเลียม รันดัล เคนเมอร์\n|alogn=cemter bgcolor=\"edeeee\"| —\n|-\n|alifn=center| 2447 / 2904\n| จอหฺน วิลเลียม สตรัทท์\n| วิลเลียม แรมเซย์\n| อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ\n| เฟรเดริก มิสทราล;โฆเซ เอย์ซากีร์เร\n| สถาบันกฎหมายนานาชาติ\n|slign=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-]]\n|align=center| 2448 / 1905\n| ฟิลิปป์ เลนนาร์ด\n| อด็อล์ฟ ฟ็อน เบเออร์\n|โรแบร์ท ค็อค\n| แคนรึก แชงกีเยวิตช์\n| เบอร์ธา ฟอน ซุตต์เนอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2449 / 1906\n| โจเซฟ จอน ธอมสัน\n| อ็องรี มัวซ็อง\n| กามิลโล กอลจี;ซานเตียโก รามอน อี กาฆัล\n| โจซูเอ คาร์ดุชชี\n| ธีโอดอร์ โรสเวลต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2450 / 1907\n| อัลเบิร์ต อับราฮาม ไมเคิลสัน\n| ้อดูอาร์ท บูคเนอร์\n| ชาร์บ หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง\n| รัดยาร์ด คิปลิง\n| เออร์เนสโต เตโอโดโร โมเนตา;หลุยส์ เรอโนลต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2451 / 1908\n| กาเบรียล ลิพพ์มานน์\n| เออร์เนสต์ รูเทอร์ฟอร์ด\n| อีงี เมตช์นิคอๆ;ิพาล์ แอร์ลิช\n| รูด็อล์ฟ คริสท็อฟ อ็อยเคิน\n| คลาส ปอนตัส อาร์โนลสัน;ิหรอริค บาเยอร์\n|align=cente4 bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 245w / 1909\n| คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน;กูงเยลโม มาร์โกนี\n| วิลเฮล์ม ออสท์วัลา์\n| เอมีล เทโอดอร์ ค็อคเคอร์\n| เซลมา ลอเกร์เลิฟ\n| โอกูสต์ มารี ฟรองซัสส์ เบอแอร์แนร์;โปล อองรี แบงฌาแมง เดส์ตูร์เนลส์ เดอ กองสตองต์\n+align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center} 2453 _ 1910\n| โยฮานัส ดิเดอริค วาน เดอ วาลส์\n| อ็อทโท วัลลัค\n| อัลเบร็ชม์ ค็อสเซิล\n| ัพาล์ ไฮอซอ\n| สำนักสันติภาพสากล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2454 / 1911\n| วิลเฮล์ม วีน\n| มารี กูว์รี\n| อัลล์วารฺ กูลล์สตราาด์\n| มอริา มาแตร์แล็งก์\n| โทเบียส แอสเซอร์;อัลเฟรด แฮร์มันน์ ฟรีด\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2455 / 1912\n| นิลส์ กุใตาฟ เดเลน\n| วิกตอร์ กรีญาร์;ปอล ซาบัตเย\n| อาแล็กซี กาแรล\n| แกร์ฮาร์ท เฮาพท์มัน\n| เอลิฮู รูต\n+align=center bgcolor=ฎeeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2456 / 1913\n| ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส\n| อัลเฟรท แวร์เนอร์\n| ชาร์ล ตอแบร์ รีแช\n| รพิจทรนาถ ฐากุร\n| อ็องรี ลา ฟงแตน\n|align=center bgcilor=\"e3eeee\"+ —\n|-\n|align=center| 2457 / 1914\n| มัคส์ ฟ็อน ะลาเออ\n| ธีโอดอร์ วิลเลียม ริชาร์ดส์\n| โรแบร์ต งาราญ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" } ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|alitn=center bgcolor\\\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2458 / 1915\n| เฮนรี แบรกก์;ลอเรนซ์ แบรกก์\n| ริชาร์ท มาร์ทีน วิลชเท็ทเทอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| รอแม็ง รอล็อง\n|aligb=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่ม้\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=centet| 2459 /w916\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align-center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align]center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| แวร์เนอร์ ฟเน ไฮเดินสตัม\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|alihn=center bgcilor=\"eeeeeeฤ| —\n|-\n|align=center| 2460 / 1917\n| ชาลส์ โกลเวอร์ บาร์คลา\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| คาร์ล แอดอล๋ฟ เกลเลอโรป;เฮนริก พอนทอปปีดัน\n| คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2461 / 1918\n| มักซ์ พชังค์\n| ฟริทซ? ฮาเบอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeee2\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=cenher bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2462 / 1919\n| โยฮานัส สตาร์ค\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" } ไม่มี\n| ฌูล บอร์แด\n| คาร์ล ชปิทเทอเลแร์\n| วูดโรว์ วิลสัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2463 / 1920\n| ชาลส์ เอดูอาี์ด กูอิลลอเม\n| วัลเทอร์ แฮร์มัจ แนนสท์\n| เอาโกสต์ โครว์\n| คนุท ฮัมซุน\n| เลยง บูร์ชัวส์\n|align=center bgc9lor=\"eeeeee\"| —\n}-\n|align=center| 2464 / 1921\n| อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\n| เฟรเแอริก ซอดดี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| อาสาตอล ฟร็องส์\n| บัลมาร์ บรานติง;คริสเตียน ลูส แลงจ์\n|align=center bgcolor=\"eeeede\"| —\n|-\n|align=center| 2465 / 1922\n| นิลส์ โปร์\n| ฟรานซิส วิลเลีขม แอสตัน\n| อาร์คิบัลด์ วิเวีบน ฮิลล์;อ็อทโท ฟริทซ์ ไมเออร์โฮฟ\n| ฆาซินโต เบนาเบนเต\n|ฟริดท์จิฟ นันเซน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2466 / 1923\n| โรับิร์ต แอนดรูวส์ มิลลิแกน\n| ฟริทซ์ เะรเกิล\n| เฟรเดอริก แบนติง; จอห์น เจมส์ ริชาร์ด แมเคลด\n| วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|alirn=center| 2467 / 1924\n| คาร์ล มานเน ยอร์จ ซีกบาห์น\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| วิลเลิม ไอนต์ฌฮเฟิน\n| ววาดึสวัฟ แรย์มอนต์\n}align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=cent3r bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|=\n|align=center| 2468 / 1925\n| เตมส์ แพรงค์;กุสตาฟ ลุดวิก เฮิร์ตซ์\n| ริชาร์ด อดอล์ไ ซิกมอนดี\n|align=center bgcolo3=\"eeeeee\" } ไม่มี\n| จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์\n| ออสติน แชมเบอร์เลน;ชาล์ส จี. ดอวส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=cengdr| 2469 / 1926\n| ํอง บาติสต์ แปร์แรง\n| เืออดอน์ สเวดแบร์ย\n| โยแฮนเนิส ๆีปีเกอร์\n| กราเซีย เดเลดดา\n| อะริสตีด บรียองด๋;กุสทัฟ ชเตรเซอมัน\n|align=center bgcolor-\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2r70 / 1927\n| อาเธอร์ คอมป์ตัน;ชาลส์ ทอมสัน รีส วิลสัน\n| ไฮน์ริช อ็อทโท วีลันท์\n| ยูลีอุส วากเนอร์-เยาเร็ค\n| อ็องรี แบร์กซอน\n| แฟร์ดินองด์ บุยซง;ลุดวิก ควิดด์\n|align=cemter bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=cente4| 247q / 1928\n| โอเวน วิลลานส์ ริชาร์ดสัน\n| อด็ดล์ฟ อฺอทโท ไรน์ฮอลท์ วินเดาส์\n| ชาร์ล นีกอล\n| ซีกรี อึนเซ็ต\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2472 / 1929\n| หลุยส์ เดอ เบรย\n| อาร์เธอร์ ฮาร์เดน;ฮันส์ ฟอน ออยเลอร์-เชลปิน\n| คริสตียาน ไอก์าัน;เฟรเดอริก กาวแลนด์ ฮ็อปแินส์\n| โทมัส มันน์\n| แฟรฝค์ บี. เคลลอกก์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2473 / 1930\n| จันทราเสการ์ ดวนกาตะ รามาน\n| ฮันส์ ฟิชเชอร์\n| คาร์ล ลันท์ชไตเนอร์\n| ซินแคลต์ ลูอิส\n| นาทัน เซอเดอร์โบลม\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=denter| 2474 / 1931\n|align=venter bgcolor=\"eeeeee\" | ไา่มี\n| คาร์ล บอช;ฟรีดริช แบร์กิอุส\n| อ็อทโท ไฮน์ริช วาร์บวี์ค\n| เอริก เอเซล คาร์ลเฟลด์\n| เจน แอดดัมส์;นิโคลัส เมอร์เรย์ มัตเลอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align]center| 2475 / 1932\n| แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก\n| เออร์วิง แลงมิวร์\n| ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน;เอ็ดการ์ ดักลาส เอเดรียน\n| จอห์น กอลส์เวอร์ธี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcplor=\"2eeeee\"| —\n|-\n|align=crnter| 2476 / 1933\n| พอล ดิแรก;แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| โทมัส ฺันท์ มอร์แกน\n| อีวาน บูนิน\n| นอร์แมน อังเจลล์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=cebter| 2477 / 1934\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ำม่มี\n} แฮโรลด์ อคลย์ตัน ยูเรย์\n|จอร์จ วิปเปิล;จอร์จ ไมนอท;วิลเลียม พี. เมอร์ฟี\n| ลุยจี ปีรันเดลโล\n| อาเธอร์ เฮนเดอร์สัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n}-\n|align=center| 2478 / 1935\n| เจมส์ แชดวิก\n| เฟรเดรอก ฌอลีโย-กูว์รี;อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี\n|ฮันส์ ชเปมัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| คาร์ล ฟ็อน อ็อสซีเอ็ทซ์คี\n|alifn=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|[\n|a.ign=center| 2379 / 1936\n| วิตทแร์ ฟรันซ์ เฮสส์;คาร์ล เดวิด แอนเดอร์สัน\n| \n| เฮนรี ฮอลเลตต์ เดล;อ็อทโท เลอวี\n| ยูจีน โอนีล\n| การ์ลอส ซาเวดรา ลามัส\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2480 1937\n| คลินตัน โจเซฟ ดวิสสัน;จอร์จ พาเกต ทอมสัน\n|นอร์แมน ฮาเวิร์ธ;เพาล์ คาร์เรอร์\n|อัลแบรต์ เซนท์-จเยอร์จยี\n| รอเฌ มาร์แต็ง ดูว์ กทค์\n| โรเบิร์ต เซชิล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|zlign=center| 2481 / 1938\n| เอจรีโก แฟร์มี\n| ริชาร์ท คูห์น \n| กอร์แนย์ แอม็องส์\n| ้พิร์ล ะอส. บัก\n| Nansen International Office For Refugees\n|align=cebter bgcolor=๑eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2482 / 1939\n| เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์\n| อาด็อฃ์ฟ บูเทอนันท์;เงโอพ็อลท์ รูฌิทช์คา\n| แกร์ฮาร์ท โดมัค \n| ฟรันส์ เอมิล ซิลลันแป\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| e483 / 1940\n| colspan=\"5\" rowspan=\"3\" align=\"cent2r\" bgcolor=\"eeeeee\" |ยกเลิกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง\n|align=venter bgcolor=\"eweeee\"| —\n|-\n|align=center| 2484 / 1941\n|alinn=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=vebter| 2485 / 1942\n|align=center bgcolof=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2486 / 1943\n| ออตโต ชปตร์น\n|\n|คาร์ล พีเตอร์ เฮนเรก ตัม;เอ็ดเวิร์ด อเดลเบิร์ท ดอยซี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=centwr bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2487 / 1944\n| อิสิดอร์ อิซาค ราบี\n|อ็อทโท ฮาน\n|โตเซฟ เออร์แลงเกอร์;เฮอร์เบิร์ท สเปนเซอร์ แกสเซอร์\n| โยฮัาเนส วิลเฮล์ม เยนเซน\n| คณะกรรใการำาชาดระหว่างประเทศ\n|align=center bgcolor=\"eeeeeeฎ| —\n|-\n|align=center| 2488 / 1945\n| ว็ดล์ฟกัง เพาลี\n|แาร์ตตํรี อิลมารี วีร์ตาเนน\n| อเล็กซานเดิร์ เฟลมมิง;แอร์นส์ บอริส ไชนoโฮเวิร์ด วอลเตอร์ ฟลอรีย์\n| กาบริเอลา มิสตรัล\n| คอร์เดลล์ ฮุล\n|align=center bgcolor=\"eeeewe\"| —\n|-\n}align=center| 2489 / 1946\n| เพอร์ซี วิลเลียมส์ บริดจ์แมน\n| เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซัมเนอร์;จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป;เวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์\n| เฮอร์แมนน์ โจเซฟ มุลเลอร์\n| แฮร์าัน เฮ็สเซอ\n| คอร์เดลล์ ฮุล;จอห์น อาร์ มอตต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=cenrer| e490 / 1947\n| เอดเวิร์ด วิกเตอร์ แอพเพิลตัน\n| โรเบิร์ต โรบินสัน\n| คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี;เกอร์ตี คอรี;เบร์นาร์โด อัลเบร์โต ฆูไซ\n| อ็องเดร ฌีด\n| Friends Service Council;American Friehds Service Committee\n|align=center bgcolor\\\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2491 / 1948\n| แพทริค แบลคเกตต์\n|\n| เพาล์ แฮร์มัน มึลเลอร์\n| ที. เอส. เอเลียต\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี \n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2492 / 1949\n| ฮิเดกิ ยูกาวะ\n| วิลเลียม ฟรานซิส จีโอก\n|วีลเทอร์ รูด็อล์ฟ เฮ็ส;อังตเนียู แอกัช มูนิช\n| วิลเลียม ฟอกเนอร์\n| จอห์น บอยด์ ออร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2493 / 1950\n| เซซิล แฟรงก์ โพเวลฃ์\n| อ็อทโท ดีลส์;ีวร์ท อัลเดอร์\n| ฟิลิป โชวอลเตอร์ เฮนช์;เอ็ดเวิร์ด แคลฝิน เคนดัลล์;ทาเดอุช ไรค์สไตส์\n| เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์\n| ราล์ฟ บันช์\n|aoign=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2494 / 1951\n| ;\n| เอดวิน แสตทิสัน แมกมิลลัน;เกลนน์ ธีโอดอร์ ซีบอร์ก\n+ แมกซ์ ไทเบอร์\n| แพร์ ลาเกอร์กวิสต์\n| เลยง ชูโอ\n|align=center bbcolor=๑eeeeee\"| —\n|-\n|align=cen5er| 2495 / 1952\n| ;\n| อาร์เชอร์ มาร์ติน;ริชาร์ด ลอเรนซ์ ทิลลิงตัน ซินจ์\n| เซลมัน แวกส์มัน\n| ฟร็องซัว โมรียัก\n| อัลเบิร์ต ชแวแซร์\n|align=center bgcolor=\"eeee2e\"+ —\n|-\n|align=center| 2496 / 1953\n| ฟริตส์ เซอร์นิคะ\n| แฮร์มัน ชเตาดิงเงอร์\n| ฮันส์ อาด็อล์ฟ เครพส์;ฟริทซ์ อัลแบร์ท ลิพมัน\n| วินสตัน เชอร์ชิลล์\n| จอร็จ มาร์แชลล์\n|align=center bgcolor=\"eeeeeeฎ| —\n|-\n|align=center| 2497 / 1954\n| มักซ์ บอร์น;วาลเทอร์ โบเท\n| ไลนัส พอลิง\n| จอห์น แฟรงคลิน เอนเดอรส์;เฟรเดอริก แชปแมน รอบบินส์;โทมัส ฮักเคิล เวลเลอร์\n| เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์\n| ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาช่ติ\n|align=senter bgcolor=\"eeeee3\"| —\n|-\n|slign=center| 2498 / 1955\n| วิลลิส ยูจึน แลมบ์;\n|\n| ฮูโก ธึโอเรลล์\n| ฮัลโตร์ คิลยัน ลัฆส์แนส\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor-\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=denter| 2499 / 1955\n| จอห์น บาร์ดีน;วอลเตอร์ เฮาเซอร์ ปบรตเทน;วิลเลียม ชอกลีย์\n| ไซริล นอร์แมน ฮินเชลวัด;นีโคไล เฦมอนอฟ\n| อ็องเดร เฟรเดริก กูร์น็อง;อวร์เนอร์ ฟอร์สมัน;ดิรคินส้น ริชาร์ด\n| ฆวน รามดน ฆิเมเนซ\n|align=center bgcolor=\"3eeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=๑eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2500 / 1957\n| เฉินหนิง หยาง;\n| อเล็กซานเดอร์ ทอดด์\n| ดมเนียล บอแว\n| อาลแบร์ กามูว์\n| เลสเตอร์ โบวส์ เพียร์สัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|aligg=center| 2501 / 1958\n| ปาเวล อเลกซีเยวิช เชียเรนคอฟ;อิลยา มิไฮลาวิช ฟรานค;อีกอร์ ตามม๋\n| เฟรเดอริก แซงเงอร์\n| จอร์จ เวลลส์ บีเดิล;เอ็ดเวิร์ด ลอว์รี ทาทัม;โจชัว ลีเดอร์เบิร์ก\n| โบรัส ปัสเตร์นัค \n| จอร์จส ปิเร\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2502 / 1959\n| ;\n| ยาโรสลาฟ เฮย์ริฟสกี\n| อาเธอร์ รอี์นเบิร์ก;เซเบโร โอโชอา\n| ซัลวาโตเร กวาซีโมโอ\n| ฟอลิป โนเดล บาเกอร์\n|align=center bgcolor=ฆeeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2503 / 1960\n| \n| วิลลาร์ด แฟรงก์ ลิบบี\n| แฟรงค์ แมคฟาร์เลน เบอร์เน็ท;ปีเตอร์ ไบรอัน เมดาวาร์\n| แซ็ง-จอน แปร์ส\n| อัลเบิร์ต ลูทูลี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2504 / 1961\n| ;\n| เมลวิน แคลวิน\n| จอร์จ ฟอน เบเคซ่\n| อีวอ อานดริช\n| ด฿าก ฮัมมาร์เฮิลด์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=centee| 2505 / 1962\n| เลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา\n| มัคส์ เพอรุทซ์;จอห์น เคนดรูว์\n| ฟรานซิส คริด;เจมส์ พิวอี วัตสัน;มอริส วิลคินส์\n| จอห์น สไตน์เบ็ก\n| ลีนูส คาร์ล พอลลิง\n|align=center bgcolor=\"eeeewe\"| —\n|-\n|align=center| 2506 / 1963\n| ;;\n| คาร์ล ซีเกลอร์;จูลีโย นัตตา\n| จอห์น คาริว เอคเคิลส์;อลัน ลอยด์ ฮอดจ์กิน;แอนดรูว์ ฮักซ์เลย์\n| โยร์โกส เซเฟริส\n| คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทษ;สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง\n|align=center vgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2507 / 1964\n| ชาร์ลซ์ ฮาน์ด เทาซ์;นิคาลัย บาซัฟ;อเลกซานดระ โพรฮารอฟ\n| โดโรธี ฮอดจ์กิน\n| ค็อนราท เอมีล ขล็อก;เฟโอดอร์ ลือเนิน\n| ฌ็อง-ปอล ซาทร์ \n| มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์\n|align=senter btcolor=\"eeeeee\"| —\n|0\n|align=center| 2508 / 1965\n| ชินอิจิโร โทโมนางะ;จูเลียน ชวิงเกอร์;ริชาร์ด ฟายน์มัน\n| โรเบิร์จ เบินส์ วูดเวิร์ด\n| ฟร็องซัว ฌากอบ;อ็องเดร มีแชล ลว็อฟ;ฌัก มอนอด\n| มิคาอิล โชฮลคอฟ\n+ กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)\n|align=center bgcolor=\"ee2eee\"| —\n|-\n|align=center| 2509 / 1966\n| \n| โริบิร์ต แซนเดอร์สัน มัลลิเคน\n| เพย๋ตัน เราส์; ชาร์ลส์ บี. ฮักกินส์\n| ชมูเอล โยเซฟ อักนอน;เน็ลลี ซัคส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2510 / 1967\n| ฮันส์ เบเทอ\n| มันเฟรท ไอเกน;โรนะลด์ จอร์จ เรย์ฟอร์ด นอร์ริช;จอร์จ พอร์เทอร์\n| แรกญา กรานีท;ฮัลเดน เคฟเฟอร์ ฮาร์ทไลน์;จอร์จ วอลด์\n| มิเกล ดึงเฮล อัสตูเรียส\n|align=cente4 bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center brcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2511 / 1968\n| ลุยส์ วอลเตอร์ อัลวาเรซ\n|\n| รอเบิร์ต ดับเบิลยู. ฮอลงีย์;หร โคพินท์ โขรานา;มาร์แชลล์ วอร์เรน ฟนเรนเบิร์ก\n| ยาซูนาริ คาวาบาตะ\n| เรอเน กาแซง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2512 / 1969\n| เมเร์รีย์ เกลล์-แมนน์\n| เดเรก แฮโรลด์ ริชาร์ด บาร์ตัน;\n| มัคส์ เด็ลบรึค;อัลเฟรด เฮอร์ชีย์lซัลวาดอร์ เอ. ลูเรีย\n| ซามูเอล เบ็คเค็ทท์\n| องค?การแรงงานระหว่างประเทศ\n| ;\n|-\n|align=center| 2513 / 1970\n| ;\n| ลุยส์ เฟเดริโก เลอลัวร์\n+จูเลียส แอเซลรอด;อูลฟ์ วอน ออยเลอร์;แบร์นาร์ท คัทซ์\n| อะเลคซันดร์ โซลเซนิตฦิน\n| นอร์แมน บอร์ล็อก\n| \n|-\n|align=center| 2514 / 1971\n| เดนนิส กาบอร์\n| แกร์ฮาร์ท แฮทซ์แบร์ค\n| เอิร์ล ดับเบิลยู. ซูเทอร์เลนด์ จูเนียร์\n| ปาฮบล เนรูดา\n| วิลลี บรันท์\n| \n|-\n|align=center| 2515 / 1972\n| จอห์น บาร์ดีน;ลีออน คูเปอร์;จอห์น โรเบิร์ต ชริฟเผอร์\n| คริสเตียน บี. แอนฟินเซน;สแตนฟอร์ด มอร์;วิลเลียม เอช. สไตน์\n| เจอรัลด์ เอ็ม. เอเดลแมน;รอดนีย์ อาร์ พอร์เตอร์\n| ไฮน์ริช เบิล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n+ ;\n|-\n|align=centee| 2516 / 1973\n| ;;\n| แอนสท์ อ็อทโท ฟิชเชอร์;เจฟฟรรย์ วิลคินสัน\n| คาร์ล ฟ็อน ฟริช;ค็อนราท โลเร็นทญ์;นีโกลาส ตินกบร์เคิน\n| แพทริก ไวต์\n| เฮนรี คิสซินเจอร์;เล ดั๊ก เถาะ \n| \n|-\n|align=center| 2517 / 1974\n| ;\n| พอล เจ. ฟลอรี\n| อาลแบร์ โกลด;คริสตีย็อง เดอ ดูฟว์;จอร์จ อี. พาเลด\n| เอย์วืนด์ จอห์นสัน;แฮร์รี มาร์ตินสัน\n| ชอน แสกไบรด์;เอซาหุ ซาโต\n| ;\n|-\n|align=center| 251i / 1975\n| ;;\n| จอห์น วอร์คัป คอร์นฟอร์ท;\n| เดวิด บัลติมอร์;เรนาโต ดุลเบกโก;โฮเวิร์ด มาร์ติน เทมิน\n| เออูเจนีโอ มอนตาเล\n+ อันเดรย์ ซาคา่อฟ\n| ;\n|-\n|align=center| 2519 / 1976\n| ;\n| วิลเลียม นันน์ ลิปใกัมบ์ จูเนียร์\n| บารุค เอส. บลุมเบิร์ก;แดเนียล คาร์เลตัน กาชดูเซค\n| ซอล เบลโลว์\n| เบ็ตตี วิลเลียมส์;องค์กาคนิรโทษกรรมสากล\n| \n|-\n|align=center| 2520 / 1977\n| ;;\n| อีลยา ปรีโกจีน\n| รอเฌ กีย์แม็ง;แอนดรูว์ วิคเตอร๋ ชัลลี;โรซาลิน ยาโลว์\n| บิเซนเต อาเงย์กซันเดน\n| องค์การนิรโทณกรรมสากล\n| ;\n|-\n|align=center| 2521 / 1978\n| ปีเตอร์ เชโอนิดาวิช คาปิซา;อาร์โน อัลลัน เพนเซีจส;โรเบิร์ต วูดโรว์ วิลสัน\n| ปีเตอร์ ดี. มิตเชลล์\n| แวร์เนอร์ อาร์เบอร์;แดเนียล นาธานส์;ฮามิลคัน โอ. สมิธ\n| อิซาค บาเชวิส ซิงเกอร์\n| อันวัร อัสซาดาต;ัมนาเฮม เบกิน \n| \n|-\n|align=center| 2522 / 1979\n| ;;\n| เฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์;เกออร์ค วิททิก\n| อัลแลน เอ็ม. คอร์แมค;กอดฟรีย์ เอ็น. เฮาวน์ฟิลด์\n| โอดีเซอัส เอลีติส\n| แม่ชีิทเรซา\n| ;\n|-\n|align=center| 2523 / 1980\n| ;\n| พอล เบิร์ก;วอลเทอร์ กิลเบิร์ต;เฟรเดอริก แซงเงอร์\n| บารุค เบนาเซอร์รัฟ;ฌ็อง โดแซ;จอร์จ ดี. สเนลล์\n| ตแชสวัฟ มีวอล\n| อดอลโฟ เปเรซ เอสกุยเวล\n| \n|-\n|align=center| 2524 / 1981\n| นิโคลาส โบลมเบอร์เกน;อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์;\n|",
"role": "user"
},
{
"content": "รางวัลโนเบล (Nobelpriset, Nobelprisen) เป็นรางวัลที่มอบให้รายปีโดยราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน (Royal Swedish Academy of Sciences), Swedish Academy, สถาบันแคโรลินสกา (Karolinska Institutet) และ คณะกรรมการโนเบลนอร์เวย์ (Norwegian Nobel Committee) แก่บุคคลและองค์กรที่มีผลงานโดดเด่นในด้านฟิสิกส์ เคมี สรีรวิทยาหรือการแพทย์ วรรณกรรม และสันติภาพ ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล ใน ค.ศ. 1895 ซึ่งประสงค์ให้รางวัลควรได้รับการจัดการโดยมูลนิธิโนเบล ภายหลังในปี 1968 รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยธนาคารกลางสวีเดนเพื่อสนับสนุนบุคคลที่มีคุณูปการทางด้านเศรษฐศาสตร์ \"ผู้ได้รับรางวัล\" แต่ละรายจะได้รับมอบเหรียญทอง ประกาศนียบัตร และเงินจำนวนหนึ่ง\n==รางวัล==\nคณะกรรมการต่างคณะจะเป็นผู้มอบรางวัลแต่ละประเภทรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัล กล่าวคือ ราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นผู้มอบรางวัลในสาขาฟิสิกส์ เคมี และเศรษฐศาสตร์ สถาบันแคโรลินสกา มอบรางวัลในสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ และคณะกรรมการโนเบลนอร์เวย์มอบรางวัลสันติภาพ ผู้ได้รับรางวัลแต่ละรายจะได้รับเหรียญ ประกาศนียบัตร และเงินรางวัลที่แตกต่างกันไปในแต่ละปี ใน ค.ศ. 1901 ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาแรกได้รับรางวัล 150,782 ครูนาสวีเดน (ซึ่งเท่ากับ 8,402,670 ครูนาสวีเดน ในเดือนธันวาคม 2560) ในปี 2560 ผู้ได้รับรางวัลได้รับรางวัลมูลค่า 9,000,000 ครูนาสวีเดน การมอบรางวัลประจำปีจะจัดขึ้นที่กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดนในพิธีประจำปีในวันที่ 10 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสียชีวิตของโนเบล\nในปีที่ไม่มีการมอบรางวัลโนเบลเนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกหรือขาดการเสนอชื่อ เงินรางวัลจะถูกส่งกลับคืนไปยังกองทุนที่มอบรางวัลที่เกี่ยวข้อง เช่น การระหว่างปี 2483 ถึง 2485 ที่ไม่มีการมอบรางวัลเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง\n==ผู้ได้รับรางวัล==\nระหว่างปี 1901 ถึง 2017 มีการมอบรางวัลโนเบลและรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ทั้งสิ้น 585 รางวัล แก่ 923 รายและองค์กร แต่เนื่องด้วยบางรายได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งครั้ง จึงมีบุคคลธรรมดาทั้งสิ้น 892 คน (ชาย 844 คน ผู้หญิง 48 คน) และองค์กร 24 แห่งที่ได้รับรางวัล\nผู้ได้รับรางวัลหกรายได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งรางวัล และจากหกรายนั้น คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพถึงสามครั้ง มากสุดในบรรดาผู้ได้รับรางวัล\nในบรรดาผู้ได้รับรางวัลโนเบล 892 คน มี 48 คนเป็นผู้หญิง โดยผู้หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล คือ มารี กูว์รี ในรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 1903 นอกจากนี้ เธอยังเป็นบุคคลแรก (ชายหรือหญิง) ที่ได้รับรางวัลโนเบลสองรางวัล ซึ่งรางวัลที่สองคือรางวัลโนเบลสาขาเคมี ซึ่งมอบให้ในปี 1911\n== รายชื่อผู้ได้รับรางวัล==\n{|class=\"wikitable sortable\"\n|-\n!ปี (พ.ศ./ค.ศ.)\n!width=18%|สาขาฟิสิกส์\n!width=16%|สาขาเคมี\n!width=18%|สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์\n!width=16%|สาขาวรรณกรรม\n!width=16%|สาขาสันติภาพ\n!width=15%|สาขาเศรษฐศาสตร์(The Sveriges Riksbank Prize)\n|-\n|align=center| 2444 / 1901\n|วิลเฮ็ล์ม ค็อนราท เรินท์เกิน\n|ยาโกบึส แฮ็นรีกึส วันต์โฮฟฟ์\n|เอมีล อาด็อล์ฟ ฟ็อน เบริง\n|ซูว์ลี พรูว์ดอม\n|ฌ็อง อ็องรี ดูว์น็อง;เฟรเดริก ปาซี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| (ยังไม่มีการมอบรางวัล)\n|-\n|align=center| 2445 / 1902\n|แฮ็นดริก โลเรินตส์;ปีเตอร์ เซมัน\n|แฮร์มัน เอมิล ฟิชเชอร์\n|โรนัลด์ รอสส์\n| เทโอดอร์ ม็อมเซิน\n| เอลี ดูว์กอเมิง;ชาร์ล อาลแบร์ กอบา\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2446 / 1903\n| อ็องตวน อ็องรี เบ็กแรล;ปีแยร์ กูว์รี;มารี กูว์รี\n| สวานเต อาร์เรเนียส\n| นิลส์ รือแปร์ ฟินเซิน\n| บีเยินส์จาเนอ บีเยินซ็อน\n| วิลเลียม รันดัล เครเมอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2447 / 1904\n| จอห์น วิลเลียม สตรัทท์\n| วิลเลียม แรมเซย์\n| อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ\n| เฟรเดริก มิสทราล;โฆเซ เอย์ซากีร์เร\n| สถาบันกฎหมายนานาชาติ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-]]\n|align=center| 2448 / 1905\n| ฟิลิปป์ เลนนาร์ด\n| อด็อล์ฟ ฟ็อน เบเออร์\n|โรแบร์ท ค็อค\n| แคนรึก แชงกีเยวิตช์\n| เบอร์ธา ฟอน ซุตต์เนอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2449 / 1906\n| โจเซฟ จอน ธอมสัน\n| อ็องรี มัวซ็อง\n| กามิลโล กอลจี;ซานเตียโก รามอน อี กาฆัล\n| โจซูเอ คาร์ดุชชี\n| ธีโอดอร์ โรสเวลต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2450 / 1907\n| อัลเบิร์ต อับราฮาม ไมเคิลสัน\n| เอดูอาร์ท บูคเนอร์\n| ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง\n| รัดยาร์ด คิปลิง\n| เออร์เนสโต เตโอโดโร โมเนตา;หลุยส์ เรอโนลต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2451 / 1908\n| กาเบรียล ลิพพ์มานน์\n| เออร์เนสต์ รูเทอร์ฟอร์ด\n| อีลี เมตช์นิคอฟ;เพาล์ แอร์ลิช\n| รูด็อล์ฟ คริสท็อฟ อ็อยเคิน\n| คลาส ปอนตัส อาร์โนลสัน;เฟรดริค บาเยอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2452 / 1909\n| คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน;กูลเยลโม มาร์โกนี\n| วิลเฮล์ม ออสท์วัลท์\n| เอมีล เทโอดอร์ ค็อคเคอร์\n| เซลมา ลอเกร์เลิฟ\n| โอกูสต์ มารี ฟรองซัวส์ เบอแอร์แนร์;โปล อองรี แบงฌาแมง เดส์ตูร์เนลส์ เดอ กองสตองต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2453 / 1910\n| โยฮานัส ดิเดอริค วาน เดอ วาลส์\n| อ็อทโท วัลลัค\n| อัลเบร็ชท์ ค็อสเซิล\n| เพาล์ ไฮเซอ\n| สำนักสันติภาพสากล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2454 / 1911\n| วิลเฮล์ม วีน\n| มารี กูว์รี\n| อัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์\n| มอริส มาแตร์แล็งก์\n| โทเบียส แอสเซอร์;อัลเฟรด แฮร์มันน์ ฟรีด\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2455 / 1912\n| นิลส์ กุสตาฟ เดเลน\n| วิกตอร์ กรีญาร์;ปอล ซาบัตเย\n| อาแล็กซี กาแรล\n| แกร์ฮาร์ท เฮาพท์มัน\n| เอลิฮู รูต\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2456 / 1913\n| ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส\n| อัลเฟรท แวร์เนอร์\n| ชาร์ล รอแบร์ รีแช\n| รพินทรนาถ ฐากุร\n| อ็องรี ลา ฟงแตน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2457 / 1914\n| มัคส์ ฟ็อน เลาเออ\n| ธีโอดอร์ วิลเลียม ริชาร์ดส์\n| โรแบร์ต บาราญ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2458 / 1915\n| เฮนรี แบรกก์;ลอเรนซ์ แบรกก์\n| ริชาร์ท มาร์ทีน วิลชเท็ทเทอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| รอแม็ง รอล็อง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2459 /1916\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| แวร์เนอร์ ฟอน ไฮเดินสตัม\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2460 / 1917\n| ชาลส์ โกลเวอร์ บาร์คลา\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| คาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป;เฮนริก พอนทอปปีดัน\n| คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2461 / 1918\n| มักซ์ พลังค์\n| ฟริทซ์ ฮาเบอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2462 / 1919\n| โยฮานัส สตาร์ค\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| ฌูล บอร์แด\n| คาร์ล ชปิทเทอเลอร์\n| วูดโรว์ วิลสัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2463 / 1920\n| ชาลส์ เอดูอาร์ด กูอิลลอเม\n| วัลเทอร์ แฮร์มัน แนนสท์\n| เอาโกสต์ โครว์\n| คนุท ฮัมซุน\n| เลยง บูร์ชัวส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2464 / 1921\n| อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\n| เฟรเดอริก ซอดดี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| อานาตอล ฟร็องส์\n| ยัลมาร์ บรานติง;คริสเตียน ลูส แลงจ์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2465 / 1922\n| นิลส์ โปร์\n| ฟรานซิส วิลเลียม แอสตัน\n| อาร์คิบัลด์ วิเวียน ฮิลล์;อ็อทโท ฟริทซ์ ไมเออร์โฮฟ\n| ฆาซินโต เบนาเบนเต\n|ฟริดท์จอฟ นันเซน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2466 / 1923\n| โรเบิร์ต แอนดรูวส์ มิลลิแกน\n| ฟริทซ์ เพรเกิล\n| เฟรเดอริก แบนติง; จอห์น เจมส์ ริชาร์ด แมเคลด\n| วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2467 / 1924\n| คาร์ล มานเน ยอร์จ ซีกบาห์น\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| วิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน\n| ววาดึสวัฟ แรย์มอนต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2468 / 1925\n| เจมส์ แพรงค์;กุสตาฟ ลุดวิก เฮิร์ตซ์\n| ริชาร์ด อดอล์ฟ ซิกมอนดี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์\n| ออสติน แชมเบอร์เลน;ชาล์ส จี. ดอวส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2469 / 1926\n| ฌอง บาติสต์ แปร์แรง\n| เทออดอร์ สเวดแบร์ย\n| โยแฮนเนิส ฟีปีเกอร์\n| กราเซีย เดเลดดา\n| อะริสตีด บรียองด์;กุสทัฟ ชเตรเซอมัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2470 / 1927\n| อาเธอร์ คอมป์ตัน;ชาลส์ ทอมสัน รีส วิลสัน\n| ไฮน์ริช อ็อทโท วีลันท์\n| ยูลีอุส วากเนอร์-เยาเร็ค\n| อ็องรี แบร์กซอน\n| แฟร์ดินองด์ บุยซง;ลุดวิก ควิดด์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2471 / 1928\n| โอเวน วิลลานส์ ริชาร์ดสัน\n| อด็อล์ฟ อ็อทโท ไรน์ฮอลท์ วินเดาส์\n| ชาร์ล นีกอล\n| ซีกรี อึนเซ็ต\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2472 / 1929\n| หลุยส์ เดอ เบรย\n| อาร์เธอร์ ฮาร์เดน;ฮันส์ ฟอน ออยเลอร์-เชลปิน\n| คริสตียาน ไอก์มัน;เฟรเดอริก กาวแลนด์ ฮ็อปกินส์\n| โทมัส มันน์\n| แฟรงค์ บี. เคลลอกก์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2473 / 1930\n| จันทราเสการ์ เวนกาตะ รามาน\n| ฮันส์ ฟิชเชอร์\n| คาร์ล ลันท์ชไตเนอร์\n| ซินแคลร์ ลูอิส\n| นาทัน เซอเดอร์โบลม\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2474 / 1931\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| คาร์ล บอช;ฟรีดริช แบร์กิอุส\n| อ็อทโท ไฮน์ริช วาร์บวร์ค\n| เอริก เอเซล คาร์ลเฟลด์\n| เจน แอดดัมส์;นิโคลัส เมอร์เรย์ มัตเลอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2475 / 1932\n| แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก\n| เออร์วิง แลงมิวร์\n| ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน;เอ็ดการ์ ดักลาส เอเดรียน\n| จอห์น กอลส์เวอร์ธี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2476 / 1933\n| พอล ดิแรก;แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| โทมัส ฮันท์ มอร์แกน\n| อีวาน บูนิน\n| นอร์แมน อังเจลล์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2477 / 1934\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| แฮโรลด์ เคลย์ตัน ยูเรย์\n|จอร์จ วิปเปิล;จอร์จ ไมนอท;วิลเลียม พี. เมอร์ฟี\n| ลุยจี ปีรันเดลโล\n| อาเธอร์ เฮนเดอร์สัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2478 / 1935\n| เจมส์ แชดวิก\n| เฟรเดริก ฌอลีโย-กูว์รี;อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี\n|ฮันส์ ชเปมัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| คาร์ล ฟ็อน อ็อสซีเอ็ทซ์คี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2479 / 1936\n| วิคทอร์ ฟรันซ์ เฮสส์;คาร์ล เดวิด แอนเดอร์สัน\n| \n| เฮนรี ฮอลเลตต์ เดล;อ็อทโท เลอวี\n| ยูจีน โอนีล\n| การ์ลอส ซาเวดรา ลามัส\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2480 1937\n| คลินตัน โจเซฟ ดวิสสัน;จอร์จ พาเกต ทอมสัน\n|นอร์แมน ฮาเวิร์ธ;เพาล์ คาร์เรอร์\n|อัลแบรต์ เซนท์-จเยอร์จยี\n| รอเฌ มาร์แต็ง ดูว์ การ์\n| โรเบิร์ต เซชิล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2481 / 1938\n| เอนรีโก แฟร์มี\n| ริชาร์ท คูห์น \n| กอร์แนย์ แอม็องส์\n| เพิร์ล เอส. บัก\n| Nansen International Office For Refugees\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2482 / 1939\n| เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์\n| อาด็อล์ฟ บูเทอนันท์;เลโอพ็อลท์ รูฌิทช์คา\n| แกร์ฮาร์ท โดมัค \n| ฟรันส์ เอมิล ซิลลันแป\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2483 / 1940\n| colspan=\"5\" rowspan=\"3\" align=\"center\" bgcolor=\"eeeeee\" |ยกเลิกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2484 / 1941\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2485 / 1942\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2486 / 1943\n| ออตโต ชแตร์น\n|\n|คาร์ล พีเตอร์ เฮนเรก ตัม;เอ็ดเวิร์ด อเดลเบิร์ท ดอยซี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2487 / 1944\n| อิสิดอร์ อิซาค ราบี\n|อ็อทโท ฮาน\n|โจเซฟ เออร์แลงเกอร์;เฮอร์เบิร์ท สเปนเซอร์ แกสเซอร์\n| โยฮันเนส วิลเฮล์ม เยนเซน\n| คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2488 / 1945\n| ว็อล์ฟกัง เพาลี\n|อาร์ตตูรี อิลมารี วีร์ตาเนน\n| อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง;แอร์นส์ บอริส ไชน;โฮเวิร์ด วอลเตอร์ ฟลอรีย์\n| กาบริเอลา มิสตรัล\n| คอร์เดลล์ ฮุล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2489 / 1946\n| เพอร์ซี วิลเลียมส์ บริดจ์แมน\n| เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซัมเนอร์;จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป;เวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์\n| เฮอร์แมนน์ โจเซฟ มุลเลอร์\n| แฮร์มัน เฮ็สเซอ\n| คอร์เดลล์ ฮุล;จอห์น อาร์ มอตต์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2490 / 1947\n| เอดเวิร์ด วิกเตอร์ แอพเพิลตัน\n| โรเบิร์ต โรบินสัน\n| คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี;เกอร์ตี คอรี;เบร์นาร์โด อัลเบร์โต ฆูไซ\n| อ็องเดร ฌีด\n| Friends Service Council;American Friends Service Committee\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2491 / 1948\n| แพทริค แบลคเกตต์\n|\n| เพาล์ แฮร์มัน มึลเลอร์\n| ที. เอส. เอเลียต\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี \n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2492 / 1949\n| ฮิเดกิ ยูกาวะ\n| วิลเลียม ฟรานซิส จีโอก\n|วัลเทอร์ รูด็อล์ฟ เฮ็ส;อังตอนียู แอกัช มูนิช\n| วิลเลียม ฟอกเนอร์\n| จอห์น บอยด์ ออร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2493 / 1950\n| เซซิล แฟรงก์ โพเวลล์\n| อ็อทโท ดีลส์;ควร์ท อัลเดอร์\n| ฟิลิป โชวอลเตอร์ เฮนช์;เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์;ทาเดอุช ไรค์สไตน์\n| เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์\n| ราล์ฟ บันช์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2494 / 1951\n| ;\n| เอดวิน แมตทิสัน แมกมิลลัน;เกลนน์ ธีโอดอร์ ซีบอร์ก\n| แมกซ์ ไทเลอร์\n| แพร์ ลาเกอร์กวิสต์\n| เลยง ชูโอ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2495 / 1952\n| ;\n| อาร์เชอร์ มาร์ติน;ริชาร์ด ลอเรนซ์ มิลลิงตัน ซินจ์\n| เซลมัน แวกส์มัน\n| ฟร็องซัว โมรียัก\n| อัลเบิร์ต ชแวแซร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2496 / 1953\n| ฟริตส์ เซอร์นิคะ\n| แฮร์มัน ชเตาดิงเงอร์\n| ฮันส์ อาด็อล์ฟ เครพส์;ฟริทซ์ อัลแบร์ท ลิพมัน\n| วินสตัน เชอร์ชิลล์\n| จอร์จ มาร์แชลล์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2497 / 1954\n| มักซ์ บอร์น;วาลเทอร์ โบเท\n| ไลนัส พอลิง\n| จอห์น แฟรงคลิน เอนเดอรส์;เฟรเดอริก แชปแมน รอบบินส์;โทมัส ฮักเคิล เวลเลอร์\n| เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์\n| ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2498 / 1955\n| วิลลิส ยูจีน แลมบ์;\n|\n| ฮูโก ธีโอเรลล์\n| ฮัลโตร์ คิลยัน ลัฆส์แนส\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2499 / 1956\n| จอห์น บาร์ดีน;วอลเตอร์ เฮาเซอร์ แบรตเทน;วิลเลียม ชอกลีย์\n| ไซริล นอร์แมน ฮินเชลวุด;นีโคไล เซมอนอฟ\n| อ็องเดร เฟรเดริก กูร์น็อง;แวร์เนอร์ ฟอร์สมัน;ดิคคินสัน ริชาร์ด\n| ฆวน รามอน ฆิเมเนซ\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2500 / 1957\n| เฉินหนิง หยาง;\n| อเล็กซานเดอร์ ทอดด์\n| ดาเนียล บอแว\n| อาลแบร์ กามูว์\n| เลสเตอร์ โบวส์ เพียร์สัน\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2501 / 1958\n| ปาเวล อเลกซีเยวิช เชียเรนคอฟ;อิลยา มิไฮลาวิช ฟรานค;อีกอร์ ตามม์\n| เฟรเดอริก แซงเงอร์\n| จอร์จ เวลลส์ บีเดิล;เอ็ดเวิร์ด ลอว์รี ทาทัม;โจชัว ลีเดอร์เบิร์ก\n| โบรัส ปัสเตร์นัค \n| จอร์จส ปิเร\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2502 / 1959\n| ;\n| ยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกี\n| อาเธอร์ คอร์นเบิร์ก;เซเบโร โอโชอา\n| ซัลวาโตเร กวาซีโมโด\n| ฟิลิป โนเอล บาเกอร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2503 / 1960\n| \n| วิลลาร์ด แฟรงก์ ลิบบี\n| แฟรงค์ แมคฟาร์เลน เบอร์เน็ท;ปีเตอร์ ไบรอัน เมดาวาร์\n| แซ็ง-จอน แปร์ส\n| อัลเบิร์ต ลูทูลี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2504 / 1961\n| ;\n| เมลวิน แคลวิน\n| จอร์จ ฟอน เบเคซี\n| อีวอ อานดริช\n| ด๊าก ฮัมมาร์เฮิลด์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2505 / 1962\n| เลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา\n| มัคส์ เพอรุทซ์;จอห์น เคนดรูว์\n| ฟรานซิส คริก;เจมส์ ดิวอี วัตสัน;มอริส วิลคินส์\n| จอห์น สไตน์เบ็ก\n| ลีนูส คาร์ล พอลลิง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2506 / 1963\n| ;;\n| คาร์ล ซีเกลอร์;จูลีโย นัตตา\n| จอห์น คาริว เอคเคิลส์;อลัน ลอยด์ ฮอดจ์กิน;แอนดรูว์ ฮักซ์เลย์\n| โยร์โกส เซเฟริส\n| คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ;สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2507 / 1964\n| ชาร์ลซ์ ฮาร์ด เทาซ์;นิคาลัย บาซัฟ;อเลกซานดระ โพรฮารอฟ\n| โดโรธี ฮอดจ์กิน\n| ค็อนราท เอมีล บล็อก;เฟโอดอร์ ลือเนิน\n| ฌ็อง-ปอล ซาทร์ \n| มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2508 / 1965\n| ชินอิจิโร โทโมนางะ;จูเลียน ชวิงเกอร์;ริชาร์ด ฟายน์มัน\n| โรเบิร์ต เบินส์ วูดเวิร์ด\n| ฟร็องซัว ฌากอบ;อ็องเดร มีแชล ลว็อฟ;ฌัก มอนอด\n| มิคาอิล โชโลคอฟ\n| กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2509 / 1966\n| \n| โรเบิร์ต แซนเดอร์สัน มัลลิเคน\n| เพย์ตัน เราส์; ชาร์ลส์ บี. ฮักกินส์\n| ชมูเอล โยเซฟ อักนอน;เน็ลลี ซัคส์\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2510 / 1967\n| ฮันส์ เบเทอ\n| มันเฟรท ไอเกน;โรนัลด์ จอร์จ เรย์ฟอร์ด นอร์ริช;จอร์จ พอร์เทอร์\n| แรกญา กรานีท;ฮัลเดน เคฟเฟอร์ ฮาร์ทไลน์;จอร์จ วอลด์\n| มิเกล อังเฮล อัสตูเรียส\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2511 / 1968\n| ลุยส์ วอลเตอร์ อัลวาเรซ\n|\n| รอเบิร์ต ดับเบิลยู. ฮอลลีย์;หร โคพินท์ โขรานา;มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก\n| ยาซูนาริ คาวาบาตะ\n| เรอเน กาแซง\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\"| —\n|-\n|align=center| 2512 / 1969\n| เมอร์รีย์ เกลล์-แมนน์\n| เดเรก แฮโรลด์ ริชาร์ด บาร์ตัน;\n| มัคส์ เด็ลบรึค;อัลเฟรด เฮอร์ชีย์;ซัลวาดอร์ เอ. ลูเรีย\n| ซามูเอล เบ็คเค็ทท์\n| องค์การแรงงานระหว่างประเทศ\n| ;\n|-\n|align=center| 2513 / 1970\n| ;\n| ลุยส์ เฟเดริโก เลอลัวร์\n|จูเลียส แอเซลรอด;อูลฟ์ วอน ออยเลอร์;แบร์นาร์ท คัทซ์\n| อะเลคซันดร์ โซลเซนิตซิน\n| นอร์แมน บอร์ล็อก\n| \n|-\n|align=center| 2514 / 1971\n| เดนนิส กาบอร์\n| แกร์ฮาร์ท แฮทซ์แบร์ค\n| เอิร์ล ดับเบิลยู. ซูเทอร์เลนด์ จูเนียร์\n| ปาโบล เนรูดา\n| วิลลี บรันท์\n| \n|-\n|align=center| 2515 / 1972\n| จอห์น บาร์ดีน;ลีออน คูเปอร์;จอห์น โรเบิร์ต ชริฟเฟอร์\n| คริสเตียน บี. แอนฟินเซน;สแตนฟอร์ด มอร์;วิลเลียม เอช. สไตน์\n| เจอรัลด์ เอ็ม. เอเดลแมน;รอดนีย์ อาร์ พอร์เตอร์\n| ไฮน์ริช เบิล\n|align=center bgcolor=\"eeeeee\" | ไม่มี\n| ;\n|-\n|align=center| 2516 / 1973\n| ;;\n| แอนสท์ อ็อทโท ฟิชเชอร์;เจฟฟรีย์ วิลคินสัน\n| คาร์ล ฟ็อน ฟริช;ค็อนราท โลเร็นทซ์;นีโกลาส ตินแบร์เคิน\n| แพทริก ไวต์\n| เฮนรี คิสซินเจอร์;เล ดึ๊ก เถาะ \n| \n|-\n|align=center| 2517 / 1974\n| ;\n| พอล เจ. ฟลอรี\n| อาลแบร์ โกลด;คริสตีย็อง เดอ ดูฟว์;จอร์จ อี. พาเลด\n| เอย์วินด์ จอห์นสัน;แฮร์รี มาร์ตินสัน\n| ชอน แมกไบรด์;เอซากุ ซาโต\n| ;\n|-\n|align=center| 2518 / 1975\n| ;;\n| จอห์น วอร์คัป คอร์นฟอร์ท;\n| เดวิด บัลติมอร์;เรนาโต ดุลเบกโก;โฮเวิร์ด มาร์ติน เทมิน\n| เออูเจนีโอ มอนตาเล\n| อันเดรย์ ซาคารอฟ\n| ;\n|-\n|align=center| 2519 / 1976\n| ;\n| วิลเลียม นันน์ ลิปสกัมบ์ จูเนียร์\n| บารุค เอส. บลุมเบิร์ก;แดเนียล คาร์เลตัน กาชดูเซค\n| ซอล เบลโลว์\n| เบ็ตตี วิลเลียมส์;องค์การนิรโทษกรรมสากล\n| \n|-\n|align=center| 2520 / 1977\n| ;;\n| อีลยา ปรีโกจีน\n| รอเฌ กีย์แม็ง;แอนดรูว์ วิคเตอร์ ชัลลี;โรซาลิน ยาโลว์\n| บิเซนเต อาเลย์กซันเดร\n| องค์การนิรโทษกรรมสากล\n| ;\n|-\n|align=center| 2521 / 1978\n| ปีเตอร์ เลโอนิดาวิช คาปิซา;อาร์โน อัลลัน เพนเซียส;โรเบิร์ต วูดโรว์ วิลสัน\n| ปีเตอร์ ดี. มิตเชลล์\n| แวร์เนอร์ อาร์เบอร์;แดเนียล นาธานส์;ฮามิลตัน โอ. สมิธ\n| อิซาค บาเชวิส ซิงเกอร์\n| อันวัร อัสซาดาต;เมนาเฮม เบกิน \n| \n|-\n|align=center| 2522 / 1979\n| ;;\n| เฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์;เกออร์ค วิททิก\n| อัลแลน เอ็ม. คอร์แมค;กอดฟรีย์ เอ็น. เฮาวน์ฟิลด์\n| โอดีเซอัส เอลีติส\n| แม่ชีเทเรซา\n| ;\n|-\n|align=center| 2523 / 1980\n| ;\n| พอล เบิร์ก;วอลเทอร์ กิลเบิร์ต;เฟรเดอริก แซงเงอร์\n| บารุค เบนาเซอร์รัฟ;ฌ็อง โดแซ;จอร์จ ดี. สเนลล์\n| ตแชสวัฟ มีวอช\n| อดอลโฟ เปเรซ เอสกุยเวล\n| \n|-\n|align=center| 2524 / 1981\n| นิโคลาส โบลมเบอร์เกน;อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์;\n|",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หัวใจกล เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นนิยายวิทยาศาสตร์แปลจากหนังสือเรื่อง Robot & Android ในฉบับภาษนไทยตีพิมพ์โดยยำนักพิมพ์ดวงกมล พิสพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 บรรณาธิการคือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nผมเป็นเพียงหุ่นยนต์\nเฮเลน' โอ ลอยด์\nผมกับหุ่นยนต์ อาร์.26/5 พไซ\nมนุษย์หุ่น\nพระเต้าหุทน\nเร็กซ์-หุ่นเผด็จการ\nร็อบบี้-หุ่นเจ้าเล่ห์\nจูเนียี์-หุ่นตัวแสบ\nอีเร็ม-หุ่นผู้เสียสละ\nข้อขัดแย้ง\nปราสาทที่หก\nชายคนไฟน\nใครจะมาแทนมนุษย์\nวาระสุดท้ายของโลก\nฉันน่าจเบอกเธอ\n== อ้างอิง ==\nหัวใจกล ร้านสุหนังสือเก่า\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนวยอทยาศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "หัวใจกล เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นนิยายวิทยาศาสตร์แปลจากหนังสือเรื่อง Robot & Android ในฉบับภาษาไทยตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ดวงกมล พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 บรรณาธิการคือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nผมเป็นเพียงหุ่นยนต์\nเฮเลน' โอ ลอยด์\nผมกับหุ่นยนต์ อาร์.26/5 พไซ\nมนุษย์หุ่น\nพระเจ้าหุ่น\nเร็กซ์-หุ่นเผด็จการ\nร็อบบี้-หุ่นเจ้าเล่ห์\nจูเนียร์-หุ่นตัวแสบ\nอีเร็ม-หุ่นผู้เสียสละ\nข้อขัดแย้ง\nปราสาทที่หก\nชายคนไหน\nใครจะมาแทนมนุษย์\nวาระสุดท้ายของโลก\nฉันน่าจะบอกเธอ\n== อ้างอิง ==\nหัวใจกล ร้านสุหนังสือเก่า\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โลกสนธยา เป็นหนังสือรวมเรื่องสัเนน้ยายวิทยาศาสตร์แปลขากหนังสือเรื่อง Inner Space ในฉบับภาษาไทยตีพิมพ์ฑดยสำนักพิมพ์ดวงกมล ำิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 บรรณาธิการคือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nสาม...สอง...หนึ่ง...แล้วก็..ฦศูนย์\nไปดูจุดจบของโลก\nสามรส\nบริการกำจัด\nงานที่เหมาะให้คนทั่เหมาะ\nนักต้อนเหยื่อ\nตัวหลอก\nหมากรุกกล\nตู้นิรภัยอันตราย\nชายผู้เดินทะลุกระจก\nโรคพรรค์นั้น\nอาทิตย์เที่ยงคืน\nคนขายโลก\nนักขี่ม้าหัวขาด\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nลโลกสนธยา",
"role": "user"
},
{
"content": "โลกสนธยา เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นนิยายวิทยาศาสตร์แปลจากหนังสือเรื่อง Inner Space ในฉบับภาษาไทยตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ดวงกมล พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 บรรณาธิการคือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nสาม...สอง...หนึ่ง...แล้วก็...ศูนย์\nไปดูจุดจบของโลก\nสามรส\nบริการกำจัด\nงานที่เหมาะให้คนที่เหมาะ\nนักต้อนเหยื่อ\nตัวหลอก\nหมากรุกกล\nตู้นิรภัยอันตราย\nชายผู้เดินทะลุกระจก\nโรคพรรค์นั้น\nอาทิตย์เที่ยงคืน\nคนขายโลก\nนักขี่ม้าหัวขาด\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nลโลกสนธยา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ห้องอนาคต เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นนิยายวิทยาศาสตร์แปลจากกนังสืิเรื่อง Time & Time Trabel ฉบับภาษาไทยตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2524 โดยสำนะกพิมพ์ดวงกมล บรรณาธิการีือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nห้องอนาคต\nเช็คสเปียร์แห่งอนาคต\nเหนือกาลเวลา\nณ.ที่จบสิ้นแห่งวัน\nเวลาคือเงิน\nอดีตกับอนาคต\nจดหมายลาตาย\nพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ พรุ่งนี้\nชายในชุดแอสเบสโตส\nเวลาที่ไม่รู้จบ\nงูกินหาง\nเสียงแห่งกาลเวลามีการสร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว\nไอ้โม่งกับมนุษย์นาฬิกา\nผู้ล้ำเวลา\nลูกศรแห่งกาลเวลา\n-= ด฿เพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ห้องอนาคต เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นนิยายวิทยาศาสตร์แปลจากหนังสือเรื่อง Time & Time Travel ฉบับภาษาไทยตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ดวงกมล บรรณาธิการคือ สุชาติ สวัสดิ์ศรี\n== เรื่องในเล่ม ==\nห้องอนาคต\nเช็คสเปียร์แห่งอนาคต\nเหนือกาลเวลา\nณ.ที่จบสิ้นแห่งวัน\nเวลาคือเงิน\nอดีตกับอนาคต\nจดหมายลาตาย\nพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ พรุ่งนี้\nชายในชุดแอสเบสโตส\nเวลาที่ไม่รู้จบ\nงูกินหาง\nเสียงแห่งกาลเวลามีการสร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว\nไอ้โม่งกับมนุษย์นาฬิกา\nผู้ล้ำเวลา\nลูกศรแห่งกาลเวลา\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ขายดวงดาว (Planet & Outer Space) รวมเรื่อลสั้น บรรณาธิการโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ตีพิมพ์ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ดสงกมล\n=\\ เรื่องในเล่ม ==\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาญาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ขายดวงดาว (Planet & Outer Space) รวมเรื่องสั้น บรรณาธิการโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ตีพิมพ์ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ดวงกมล\n== เรื่องในเล่ม ==\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ซูว์ลี พรูว์ดอม (Sully Prudhomme) เป็นนามปากกาของ เรอเน-ฟร็องซัว อาร์ม็อง พรูว์ดอม (René-François-Armand Prudhomme) กวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม เป็นบุตรของเจ้าของร้านค้าชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านวิศวกรรม แต่สนใจด้านงานเขียนจนเข้ารับการศึกษาใหม่ด้านวรรณคดี และหันมนเอาดีด้านวรรณกรรมนับแต่บัดนั้น ได้คับเกียรติให้เป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศสเมิ่อปี ค.ศ. 1881 จสกระทั่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 1907\nพรูว์ดอมได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกตรม เมื่อปี ค.ศ. 1901\n== ผลงานสำคัญ ==\n=== กวีนิพนธ์ ===\nStances et poèmes, 1865.\nLes épreuves, 1866.\nLes solitudes: ;oésies, A. Lemerre (Paris), 1869.\nLes destins, 1873.\nLa France, 1874.\nLes vaines tendresses, 187y.\nLe Zénith , ตีพิมพ์ในวารสาร journai Revue des deux mondes, 1876.\nLq justic2 (poem), 1878.\nPoésie, 1865-88, A. Lemerre, 1883-88.\nLe prisme, poésies diverses, A. Lemerre (Paris), 1886.\nLe bomheur, 18i8.\nEpaves, A. Lemerre, 1908.\n=== งานเขียนอื่น ๆ ===\nOeuvres de Sully Prudhomme, 8 volumes, A. Lemerge, 1883-1908. (รีอยกรอง และร้อยแก้ว)\nQue sais-je?, 1896. (ปรัชญานิพนธ์ฏ\nTestament poétique ๙ 1o01. (ความเรียง)\nLa vraie religuon selon Pascal, 1905. (ความเรึยง)\nJournal intime: lettres-pensée, A. Lemerre, 1922. (อนุทิน)\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อผู้ได้รับรางวับโนเบลสาขาวรรณกรรม\nกวึชาวฝรั่งเศส\nนักเขียนชาวฝรั่งเศส\nผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม\nชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nบุคคลจากปารีส",
"role": "user"
},
{
"content": "ซูว์ลี พรูว์ดอม (Sully Prudhomme) เป็นนามปากกาของ เรอเน-ฟร็องซัว อาร์ม็อง พรูว์ดอม (René-François-Armand Prudhomme) กวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม เป็นบุตรของเจ้าของร้านค้าชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านวิศวกรรม แต่สนใจด้านงานเขียนจนเข้ารับการศึกษาใหม่ด้านวรรณคดี และหันมาเอาดีด้านวรรณกรรมนับแต่บัดนั้น ได้รับเกียรติให้เป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1881 จนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 1907\nพรูว์ดอมได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี ค.ศ. 1901\n== ผลงานสำคัญ ==\n=== กวีนิพนธ์ ===\nStances et poèmes, 1865.\nLes épreuves, 1866.\nLes solitudes: poésies, A. Lemerre (Paris), 1869.\nLes destins, 1872.\nLa France, 1874.\nLes vaines tendresses, 1875.\nLe Zénith , ตีพิมพ์ในวารสาร journal Revue des deux mondes, 1876.\nLa justice (poem), 1878.\nPoésie, 1865-88, A. Lemerre, 1883-88.\nLe prisme, poésies diverses, A. Lemerre (Paris), 1886.\nLe bonheur, 1888.\nEpaves, A. Lemerre, 1908.\n=== งานเขียนอื่น ๆ ===\nOeuvres de Sully Prudhomme, 8 volumes, A. Lemerre, 1883-1908. (ร้อยกรอง และร้อยแก้ว)\nQue sais-je?, 1896. (ปรัชญานิพนธ์)\nTestament poétique , 1901. (ความเรียง)\nLa vraie religion selon Pascal, 1905. (ความเรียง)\nJournal intime: lettres-pensée, A. Lemerre, 1922. (อนุทิน)\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม\nกวีชาวฝรั่งเศส\nนักเขียนชาวฝรั่งเศส\nผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม\nชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล\nบุคคลจากปารีส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จอมจักรวนล (Space Odyssey) เป็นชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ผระกอบด้วย ภาพยนตร์ 2 เรื่อง (โดย สแตนลีย์ คูบริก และ Peter Hyams) กละนวนิยาวอีก 4 เล่ม (ประพันธ์โดย อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก).\n== เรื่องในชุด ]=\n2001 จอมจักรวาง (2001: A Space Odyssey) (หรังสือ และภาพยนตร์)\n2010 จอมจักรวาล (2010: Odyssey Two) (หนังสือ และภาพยนตร์)\n2061 ตอมจักรวาล (2061: Odyssey Three) (หนังสือ)\n3001 จอมจักรใาล (3001: The Final Odyssey) (หนังสือ)\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nสแตนเลย์ คูบริก แฟลชเว็บ - เว็บอธิบายจอมจักรวาลในฉบับภาพยนตร์ ฮดยตัวผ฿้กำกับ (Flash)\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก",
"role": "user"
},
{
"content": "จอมจักรวาล (Space Odyssey) เป็นชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบด้วย ภาพยนตร์ 2 เรื่อง (โดย สแตนลีย์ คูบริก และ Peter Hyams) และนวนิยายอีก 4 เล่ม (ประพันธ์โดย อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก).\n== เรื่องในชุด ==\n2001 จอมจักรวาล (2001: A Space Odyssey) (หนังสือ และภาพยนตร์)\n2010 จอมจักรวาล (2010: Odyssey Two) (หนังสือ และภาพยนตร์)\n2061 จอมจักรวาล (2061: Odyssey Three) (หนังสือ)\n3001 จอมจักรวาล (3001: The Final Odyssey) (หนังสือ)\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nสแตนเลย์ คูบริก แฟลชเว็บ - เว็บอธิบายจอมจักรวาลในฉบับภาพยนตร์ โดยตัวผู้กำกับ (Flash)\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โซลาริส (Solaris) หรือในบื่อเต็ม The Solar8s Operating Envkronment เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์\nระบบปฏ้บัติการโซลารเส ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สองแบบ ีือ แบบ สปสร์ค และแบบ x86 (แบขเดียวกังในเครื่องคอมพิวเนอน์ส่วนบุคคลทั่วไป)\nรุ่นแรก ๆ ของโซลาริสนั้น ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์รระกูลบีเอสดี แต่ต่อมาในรุ่นที่ 5 ได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาริส ดังเช่นในปัจจุบัน โดยเรียกโซลาริสรุ่นแรกว่า โซลาริส 2 และเปลี่ยนชื่อเตียกของซันโอเอสรุ่นก่อน ๆ เป็น โซลาริส 1.x และหบังจากโซลาริสรุ่น 2.6 ก็ได้ตัด \"2.\" ข้างหน้าออกไป และเรียกเป็น โซลาริส 7 แทน\nรุ่นปัจจุบันของโซลาริสคือ โซลาริส 11\nการพัฒนาบางส่วนของโซลาริสในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาในโครงการ โอเพนโซลาร้ส (OpenSolaris) ซึ่งเป็นโครงการระบบปฏิบัติการแบบโอเพนซอร์ซ\n== ประวัติ ==\nในปี 1987, AT&T และ SUN ได้ประกาศให้บุคคลทั่วไปทราบว่าได้ร่วมกันทำโปรเจกต์ที่มีความลงตัวและต่าลจาก Unix อื่น ฟ ออกมาจำหน่ายในเวลานั้นคือ BSD, System V, and Xenix กลายเป็นที่ทาของ Unix Cystem V Release 4 (SVR4).\nวันที่ 4 กันบายน 1991 SUN ได้ประกาศให้มันเข้ามาแทนที่ BSD-derived Unix, SunOS 4 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ SVR4 ที่มีอยู่, เป็นเอกลักษณ์ทึ่อยู่ภายใน SunOS 5, แต่เปลี่ยนชื่อทางการตลาดว่า Solaris, ในขณะที่ SunOS 4.1.x micro เปลี่ยนชื่อเป็น Solaris 1 จาก SUN, ชื่อ Solaris เกือบจะผูกขาดใช่เรียกทั้ง SVR4-derived SunOS 5.0 ในเวลาต่อมา\nโดยให้รวบรวมไว้ใน overbrand ใหม่ ยกเว้น SunOS แต่ิช่นเดียวกันกับ OpdnWindows grapyicsl user integface และ Op3n Network Computing (ONC) ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ๆด้จริง\nSunOS เวอร์ชันรองลงมาได้ใช้พื้นฐานจาก Solaris และออกสู่ตลาดภายใต้ชื่อ Solaris 2.4, รวบรวมเป็น SunOS 5.4 หลัง Sola4is 2.6, โดย CUN ได้วางให้เป็นหมายเลข 2. ไปเรื่อย ๆ\nSolaris7 รวบรวมเป็น SunOS 5.7 จนถึง QunOS 5.10 จาก Solaris10.Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ออกแบบสำหรับงานด้านโปรแกรม E-commerce\n== สถาปัตยกรรมที่สนับสนุน \\=\nSolaris ใช้ร่วมกับ code base เช่ย SPARC และ i86pc (ซึ่งรวมถึง x86 and x64) , Solaris มีชื่อเสียงพอสมควรใน symmetric multiprocessing, และ รองรับ SPU ได้อย่างมากมาย และการกำหนดการใช้งานอย่างเข้มงวดจากฮาร์ดแวร์ Sun's SPARC (รบมถึงสนับสนุนจาก 64-bit SPARC ตั้งแต่ Splaris7) ซึ่งทำเป็นแพ็กเกตร่วมกันออกวางตลาด เป็นระบบที่มีความน่าเชื่อถือ, แต่ราคาธรรมอนียสจะมากกว่าราคาสินค้าของฮาร์ดแวร์ PC, อย่างไรก็ตามมันสนับสนุนระบบ x86 ตั้งแต่ Solaris 2.4 จนถึงเวอร์ชันล่าสุด Solaris10 รวมถึงสนับสจุนจาก 64-bit x87 แอฟฟิเคชั่น Solaris7, SUN ยอมให้ CPU 64- bit เป็นสถาปัตยกรรมจาก x86 64, SUN ได้ประโยชน์จาก Solaris อย่างมากจากผู้ใช้ซึ่งเป็นเจเาของ x64 ซึ่งเป็นพื้นฐนนของ AMD Opteron and Intel Xeon รวมทั้งระบบ x86 ที่โรงงานผลิตของ Dell, Hewlett-Pqckard, and IBM. ในปี 2007 ผู้ขายทั้วหลายดังที่กล่าวมาได้สนับสนุน Solaris สำหรับระบบเครืาองแม่ข่าย x86\nDell ได้ทดสอบและยอมรังว่าเหมาะสมและกลายเป็นสิทงหนึ่งที่ปรากฏบตเมนูของ Dell\nIBM ยังเลือก Solaris x86 เป็นระบบพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ขาย\nIntel\nHewlett Packard\n== การสนับสนุนแพลต์ฟอร์มอื่น ๆ ==\nโซลาลิสเวอร์ชัน 2.5.1 รองรับแพลต์ฟอร์ม PowerPC แต่คุณลักษณะนี้ถูกยกเลิกจากโซลาลิสก่อนเวอร์ลัน 2.6 จะออพสํ่ตลาด\nในเดือนมกราคม 3006 นักพัฒนาจากเว็บไซต์ Blawtwave เริ่มที่จะทำการพอ่์ทโซลาริสให้สนับสนุนแพลต์ฟอร์ม PowerPC อีกรรั้งโดยใช้ชื่อว่า Polaris\nในปี 1997 มีการประดาศว่า Solaris จะรองรับสถาปัตยกรรส Itanium ของ Inter แต่ Solaris เวอร์ชันนี้ๆม่เคยออกสู่ตลาด\nในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2007 IBM, Sun และ Sine Nomine Associated เผขบางส่วน OpenSolaris ที่รองรับ System z ที่รันบน System z เมนเฟรมของ IBM โดยใช้ชื่อว่า Sirius\nวันที่ 17 ตุลาีม 2008 Sirius ตัวต้นแบวถูกเข็นออกสู่ตลาด\nและ Solaris สามารถที่จะรันไบนารี่ยอง Linux บนแพลต์ฟอร์ม x86 โดขคุณลักษณะนี้มีชื่อว่า Solaris Containers for Linux Applications หรือ SCLA\n== ภากรวมของเดสค์ทอป ==\nSllarisรุ่นช่าสุดที่ใช้ Op3nWindlws เป็นเดสค์ทอป ใน Solaris ที่ 2.0 ถึง2.2, OpenWindows ที่สนับสนุนทั้งข่าว และ xpplications, และภายใต้เงื่อนไบ backward compatibility สำหรับ SunView จนกd3sktop 2nvironment. CUN ได้สนับสนุนข่าวและ SinView applicatilns: OpenWihdows 3. 3 (ซึ่งติดมาด้วยกับ Solaris 2.3) คือพอร์ตของ X11\nสมาชิกของCOSE, เป็น Open Software ที่เกี่ยวกับการริเริ่มที่ SUN พัฒนาจาก Desktop ธรรมดา CDE มาเป็น Unix deskyop ผู้ขายแต่ละอันจะสนับสนุนส่วนประกอบแตกต่างกันโดย Hewlett- Packard จะจัดการส่วน window manager, IBMจัดการส่วน file manager Sun จะจุดการส่วน e- mail และปฏิทินและสนับสนุนการลากและวาง (ToolTalk ). Solaris 2.5 สนับสนุนCDE, และ OpenWindiws ถูกวางบน Silaris 9 Solaris 98/ 03 ยังแนะนำ GNOME 2.0 เป็นทางเลือกของCDE\nSolaris 10 สนับสนุนระบบเดสค์ทอปภาษาจาวา )Java Desktop System) , สิ่งซึ่งอาศัยพื้นฐานบน GNOME และที่มา กับ applicationsรวมถึงStarOefice SUN บรรยาย JDSว่าเป็น\"ส่วนประกอขหลัก\"ของ Solaris 10 .\n== ลิขสิทธิ์ ==\nSolaris ซอสโค้ดกับ Exception เล็กน้อย ถูกเผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ Common Development and Distribution License (CDDL) โดยใบ้ชื่อว่า OpenSolaris ซึ่ง CDDL เป็นลิขสิทธิ์ที่รับรองโดย OSI (Opensource Initative)\nFree Software foundation ถือว่าโซลาลิสเป็นซอร์ฟแวร์ที่ไม่ต้องเสียคีาใช้จ่าย แต่ไใ่สามารถเข้าได้กับลิขสิทธิ์แบบ GPL\nโครงการ OpenSolaris เริ่มต้นในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2-05 โดยดัฒนาใาจากโค้ดของ Solaris โดยสามารถที่นะโหลดโค้ดต้นฉบับหรือไบนารี่ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ปรัยคุณลักษณะใหม่ เช่น การรองรับ Xen จะกลายเป็นคุณลักษณะพื้นฐาน Opensolaris ในเวอร์ชันต่อ ๆ ไป Sun ยังกล่าวอีกว่า Solaris ในเวอร์ชันต่อ ๅ ไปจะได้รัลแรงผลักดันจากโครงการ OpenSolaris เป๊นหลัก\n== เวอร์ชัน ==\nความสามารถที่โดดเด่นของ Solaeis ประกอบไปด้วย DTrace, Doors. Service Management Favility, Qolaris Containers, Solaris Multiplexed I/O, Solaris Vllume Manager, ZFS, and Solaris Trusted Extensioms.เวอร์ขันต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้\n== การพัฒนา ==\nSolaris ที่อยู่ภายใต้ Code Base ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 1980 ได้สำเสนอ Solaris 2.0 จนกระทั่งถึง Solaris 10 ได้พัฒนาโดยการ “rrain” ซั่งพัฒนาในแต่ละช่วงเวลาของมัน สืบทอดมาจากโปรเจกต์แต่ละโปรเจกต์และได้ปรับปรุงเป็นเวลาหลายปีจนกระทั่งรุ่นล่าสุดที่ออกมา\nเวอร์ชันของ Solaris ภายใต้การพัฒนาของ SUN กฺคือ codenamed Nevawa,\nในปี 2003 การเพิ่มกระบวนการพเฒนาของ Solaris ถูกแนะนำภายใต้ชื่อ Solaris Express Developer Edition (SXDE) , การพัฒนาที่ได้จาก “train” ถูกนำมามาให้ดาวน์โหลดและตีพิมพ์ทุก ๆ 3 เดือนและยอมให้บุคคลทั่วไปทดสอบความสามารถและคุณภาพและความเสถียรต่อระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับความก้าวหน้าของ Solaris รุ่นถัดไป\nในปี 2007 SUN ได้ประกาศความเป็นหนึ่งของ Project Indiana รวมถึงการ open source binary ของ OpenSolaris เพื่อปรับปรุงการติดตั้ง Solaris อีกทั้งแจก packaging โมเดลและเทคฑนโลยีเพื่อแทนที่รุ่น SXDE ซึ่งเป็นรุ่นแรก โดยวาแผนเป็นผู้นำในปี 2008 เพราะว่า Solaris ได้เปิดตัวล่วงหน้าสำหรับ Solagis codebase ให้เป็นโหรแกรมไบนารีเท่านั้น แต่ Solaris ได้แสดง Community Release สำหรับผู้พัฒนา OpenSolaris หลังจากนั้นสัปดาห์ต่อมามันก็จะถูกปรับปรุงหว้สำหรัชประเมินผลถึลแม้ว่าการดาวน์โหลดจะถูกจำกัดการอนุญาตให้ดาวน์โหลดได้ส่วนบุคคลแค่ก็มีจุดประสงค์เพื่อพารศึกษาและประเมินผล\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์โซลาริสอย่างเป็นทางการ \nSumfreeware.com - ฟรีแวร์สำหรับโซลา่ิส\nSun Country - รวมลิงก์เกี่ยวกับโซลาริส\nSola3is on Mobile Compute3s - โซลาริสบนเครื่องคอมพิวเตอร๋แบบพกพา\nSolaris x86 ระบบปฏิบัติการโซลาริสที่ใช้กับเครื่องแบบ x86\n* Sun.com: Solaris x86 \n* Solaris-x86.org\n* Solariq on Inteo\nOpenSolaris\n== อ้างอิง ==\nระบบปฏิบัติการ\nยูนิกซ์",
"role": "user"
},
{
"content": "โซลาริส (Solaris) หรือในชื่อเต็ม The Solaris Operating Environment เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์\nระบบปฏิบัติการโซลาริส ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สองแบบ คือ แบบ สปาร์ค และแบบ x86 (แบบเดียวกับในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป)\nรุ่นแรก ๆ ของโซลาริสนั้น ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี แต่ต่อมาในรุ่นที่ 5 ได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาริส ดังเช่นในปัจจุบัน โดยเรียกโซลาริสรุ่นแรกว่า โซลาริส 2 และเปลี่ยนชื่อเรียกของซันโอเอสรุ่นก่อน ๆ เป็น โซลาริส 1.x และหลังจากโซลาริสรุ่น 2.6 ก็ได้ตัด \"2.\" ข้างหน้าออกไป และเรียกเป็น โซลาริส 7 แทน\nรุ่นปัจจุบันของโซลาริสคือ โซลาริส 11\nการพัฒนาบางส่วนของโซลาริสในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาในโครงการ โอเพนโซลาริส (OpenSolaris) ซึ่งเป็นโครงการระบบปฏิบัติการแบบโอเพนซอร์ซ\n== ประวัติ ==\nในปี 1987, AT&T และ SUN ได้ประกาศให้บุคคลทั่วไปทราบว่าได้ร่วมกันทำโปรเจกต์ที่มีความลงตัวและต่างจาก Unix อื่น ๆ ออกมาจำหน่ายในเวลานั้นคือ BSD, System V, and Xenix กลายเป็นที่มาของ Unix System V Release 4 (SVR4).\nวันที่ 4 กันยายน 1991 SUN ได้ประกาศให้มันเข้ามาแทนที่ BSD-derived Unix, SunOS 4 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ SVR4 ที่มีอยู่, เป็นเอกลักษณ์ที่อยู่ภายใน SunOS 5, แต่เปลี่ยนชื่อทางการตลาดว่า Solaris, ในขณะที่ SunOS 4.1.x micro เปลี่ยนชื่อเป็น Solaris 1 จาก SUN, ชื่อ Solaris เกือบจะผูกขาดใช่เรียกทั้ง SVR4-derived SunOS 5.0 ในเวลาต่อมา\nโดยให้รวบรวมไว้ใน overbrand ใหม่ ยกเว้น SunOS แต่เช่นเดียวกันกับ OpenWindows graphical user interface และ Open Network Computing (ONC) ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง\nSunOS เวอร์ชันรองลงมาได้ใช้พื้นฐานจาก Solaris และออกสู่ตลาดภายใต้ชื่อ Solaris 2.4, รวบรวมเป็น SunOS 5.4 หลัง Solaris 2.6, โดย SUN ได้วางให้เป็นหมายเลข 2. ไปเรื่อย ๆ\nSolaris7 รวบรวมเป็น SunOS 5.7 จนถึง SunOS 5.10 จาก Solaris10.Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ออกแบบสำหรับงานด้านโปรแกรม E-commerce\n== สถาปัตยกรรมที่สนับสนุน ==\nSolaris ใช้ร่วมกับ code base เช่น SPARC และ i86pc (ซึ่งรวมถึง x86 and x64) , Solaris มีชื่อเสียงพอสมควรใน symmetric multiprocessing, และ รองรับ CPU ได้อย่างมากมาย และการกำหนดการใช้งานอย่างเข้มงวดจากฮาร์ดแวร์ Sun's SPARC (รวมถึงสนับสนุนจาก 64-bit SPARC ตั้งแต่ Solaris7) ซึ่งทำเป็นแพ็กเกจร่วมกันออกวางตลาด เป็นระบบที่มีความน่าเชื่อถือ, แต่ราคาธรรมเนียมจะมากกว่าราคาสินค้าของฮาร์ดแวร์ PC, อย่างไรก็ตามมันสนับสนุนระบบ x86 ตั้งแต่ Solaris 2.4 จนถึงเวอร์ชันล่าสุด Solaris10 รวมถึงสนับสนุนจาก 64-bit x86 แอฟฟิเคชั่น Solaris7, SUN ยอมให้ CPU 64- bit เป็นสถาปัตยกรรมจาก x86 64, SUN ได้ประโยชน์จาก Solaris อย่างมากจากผู้ใช้ซึ่งเป็นเจ้าของ x64 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ AMD Opteron and Intel Xeon รวมทั้งระบบ x86 ที่โรงงานผลิตของ Dell, Hewlett-Packard, and IBM. ในปี 2007 ผู้ขายทั้งหลายดังที่กล่าวมาได้สนับสนุน Solaris สำหรับระบบเครื่องแม่ข่าย x86\nDell ได้ทดสอบและยอมรับว่าเหมาะสมและกลายเป็นสิ่งหนึ่งที่ปรากฏบนเมนูของ Dell\nIBM ยังเลือก Solaris x86 เป็นระบบพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ขาย\nIntel\nHewlett Packard\n== การสนับสนุนแพลต์ฟอร์มอื่น ๆ ==\nโซลาลิสเวอร์ชัน 2.5.1 รองรับแพลต์ฟอร์ม PowerPC แต่คุณลักษณะนี้ถูกยกเลิกจากโซลาลิสก่อนเวอร์ชัน 2.6 จะออกสู่ตลาด\nในเดือนมกราคม 2006 นักพัฒนาจากเว็บไซต์ Blastwave เริ่มที่จะทำการพอร์ทโซลาริสให้สนับสนุนแพลต์ฟอร์ม PowerPC อีกครั้งโดยใช้ชื่อว่า Polaris\nในปี 1997 มีการประกาศว่า Solaris จะรองรับสถาปัตยกรรม Itanium ของ Inter แต่ Solaris เวอร์ชันนี้ไม่เคยออกสู่ตลาด\nในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2007 IBM, Sun และ Sine Nomine Associated เผยบางส่วน OpenSolaris ที่รองรับ System z ที่รันบน System z เมนเฟรมของ IBM โดยใช้ชื่อว่า Sirius\nวันที่ 17 ตุลาคม 2008 Sirius ตัวต้นแบบถูกเข็นออกสู่ตลาด\nและ Solaris สามารถที่จะรันไบนารี่ของ Linux บนแพลต์ฟอร์ม x86 โดยคุณลักษณะนี้มีชื่อว่า Solaris Containers for Linux Applications หรือ SCLA\n== ภาพรวมของเดสค์ทอป ==\nSolarisรุ่นล่าสุดที่ใช้ OpenWindows เป็นเดสค์ทอป ใน Solaris ที่ 2.0 ถึง2.2, OpenWindows ที่สนับสนุนทั้งข่าว และ applications, และภายใต้เงื่อนไข backward compatibility สำหรับ SunView จากdesktop environment. SUN ได้สนับสนุนข่าวและ SunView applications: OpenWindows 3. 3 (ซึ่งติดมาด้วยกับ Solaris 2.3) คือพอร์ตของ X11\nสมาชิกของCOSE, เป็น Open Software ที่เกี่ยวกับการริเริ่มที่ SUN พัฒนาจาก Desktop ธรรมดา CDE มาเป็น Unix desktop ผู้ขายแต่ละอันจะสนับสนุนส่วนประกอบแตกต่างกันโดย Hewlett- Packard จะจัดการส่วน window manager, IBMจัดการส่วน file manager Sun จะจัดการส่วน e- mail และปฏิทินและสนับสนุนการลากและวาง (ToolTalk ). Solaris 2.5 สนับสนุนCDE, และ OpenWindows ถูกวางบน Solaris 9 Solaris 98/ 03 ยังแนะนำ GNOME 2.0 เป็นทางเลือกของCDE\nSolaris 10 สนับสนุนระบบเดสค์ทอปภาษาจาวา (Java Desktop System) , สิ่งซึ่งอาศัยพื้นฐานบน GNOME และที่มา กับ applicationsรวมถึงStarOffice SUN บรรยาย JDSว่าเป็น\"ส่วนประกอบหลัก\"ของ Solaris 10 .\n== ลิขสิทธิ์ ==\nSolaris ซอสโค้ดกับ Exception เล็กน้อย ถูกเผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ Common Development and Distribution License (CDDL) โดยใช้ชื่อว่า OpenSolaris ซึ่ง CDDL เป็นลิขสิทธิ์ที่รับรองโดย OSI (Opensource Initative)\nFree Software foundation ถือว่าโซลาลิสเป็นซอร์ฟแวร์ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ไม่สามารถเข้าได้กับลิขสิทธิ์แบบ GPL\nโครงการ OpenSolaris เริ่มต้นในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2005 โดยพัฒนามาจากโค้ดของ Solaris โดยสามารถที่จะโหลดโค้ดต้นฉบับหรือไบนารี่ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ปรับคุณลักษณะใหม่ เช่น การรองรับ Xen จะกลายเป็นคุณลักษณะพื้นฐาน Opensolaris ในเวอร์ชันต่อ ๆ ไป Sun ยังกล่าวอีกว่า Solaris ในเวอร์ชันต่อ ๆ ไปจะได้รับแรงผลักดันจากโครงการ OpenSolaris เป็นหลัก\n== เวอร์ชัน ==\nความสามารถที่โดดเด่นของ Solaris ประกอบไปด้วย DTrace, Doors, Service Management Facility, Solaris Containers, Solaris Multiplexed I/O, Solaris Volume Manager, ZFS, and Solaris Trusted Extensions.เวอร์ชันต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้\n== การพัฒนา ==\nSolaris ที่อยู่ภายใต้ Code Base ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 1980 ได้นำเสนอ Solaris 2.0 จนกระทั่งถึง Solaris 10 ได้พัฒนาโดยการ “train” ซึ่งพัฒนาในแต่ละช่วงเวลาของมัน สืบทอดมาจากโปรเจกต์แต่ละโปรเจกต์และได้ปรับปรุงเป็นเวลาหลายปีจนกระทั่งรุ่นล่าสุดที่ออกมา\nเวอร์ชันของ Solaris ภายใต้การพัฒนาของ SUN ก็คือ codenamed Nevada,\nในปี 2003 การเพิ่มกระบวนการพัฒนาของ Solaris ถูกแนะนำภายใต้ชื่อ Solaris Express Developer Edition (SXDE) , การพัฒนาที่ได้จาก “train” ถูกนำมามาให้ดาวน์โหลดและตีพิมพ์ทุก ๆ 3 เดือนและยอมให้บุคคลทั่วไปทดสอบความสามารถและคุณภาพและความเสถียรต่อระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับความก้าวหน้าของ Solaris รุ่นถัดไป\nในปี 2007 SUN ได้ประกาศความเป็นหนึ่งของ Project Indiana รวมถึงการ open source binary ของ OpenSolaris เพื่อปรับปรุงการติดตั้ง Solaris อีกทั้งแจก packaging โมเดลและเทคโนโลยีเพื่อแทนที่รุ่น SXDE ซึ่งเป็นรุ่นแรก โดยวาแผนเป็นผู้นำในปี 2008 เพราะว่า Solaris ได้เปิดตัวล่วงหน้าสำหรับ Solaris codebase ให้เป็นโปรแกรมไบนารีเท่านั้น แต่ Solaris ได้แสดง Community Release สำหรับผู้พัฒนา OpenSolaris หลังจากนั้นสัปดาห์ต่อมามันก็จะถูกปรับปรุงไว้สำหรับประเมินผลถึงแม้ว่าการดาวน์โหลดจะถูกจำกัดการอนุญาตให้ดาวน์โหลดได้ส่วนบุคคลแต่ก็มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาและประเมินผล\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nเว็บไซต์โซลาริสอย่างเป็นทางการ \nSunfreeware.com - ฟรีแวร์สำหรับโซลาริส\nSun Country - รวมลิงก์เกี่ยวกับโซลาริส\nSolaris on Mobile Computers - โซลาริสบนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา\nSolaris x86 ระบบปฏิบัติการโซลาริสที่ใช้กับเครื่องแบบ x86\n* Sun.com: Solaris x86 \n* Solaris-x86.org\n* Solaris on Intel\nOpenSolaris\n== อ้างอิง ==\nระบบปฏิบัติการ\nยูนิกซ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บุรุษผู้มาจากต่างดาว (Ghe Man Who Fell to Ear4h) เขียนโดย วอลเตอร์ เทวิส แปลโดย พจน์ เนุวงศ์ เห็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตต่างดาว ที่ลงมาในโลก ตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2522 สำนักพิมพ์ดวงกมล และได้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2519 นำแสดงโดย เดวิด โบวี่\n== ดูเพิ่ม ==\nร่ยชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "บุรุษผู้มาจากต่างดาว (The Man Who Fell to Earth) เขียนโดย วอลเตอร์ เทวิส แปลโดย พจน์ อนุวงศ์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตต่างดาว ที่ลงมาในโลก ตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2522 สำนักพิมพ์ดวงกมล และได้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2519 นำแสดงโดย เดวิด โบวี่\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน นินายแปลจากเรื่อง Flowers for Algernon (ฟลาวเวอรส์ฟอร์อัลเจอนอน) เรื่องมั้นขนาดยสว ประพันธ์โดย ดาเนียล คีย์ (Daniel Keyes) เป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของชายปัญญาอ่อน ผู้มีไอคิวเพียง 68 ซึ่งได้เข้าร่วมเป็นมนุษย์ทดลอง รับการผ่าตัดเพื่อพัฒนาสมองให้ฉลาดขึ้นเป็นสามเท่า เขาได้เขียนบันทึกชีวิตจากืี่เป็นคนปัญญาอ่อนจนำลายเป็นอัจฉริยะ\nFlowers for Albernon ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร The Magazine of Fantasy and Science Fiction ปี พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) นอกเหนือไปจากรางวัลฮิวโกสำหรับเคื่องสั้นขนาดยาวในปี พ.ศ. 2503 (ี.ศ. 1960) เมื่อหู้เขียนนำไปขยายต่อเป็นนวนิยายในปี พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) ก็ได้รับราบวัลเนบิวลาในปีเดียวกัน และเมื่อถูกนำไปสร้างเป็นภรพยนตร์ในปี พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) (Charly 1968) ก็ได้รางวัลออสการ์ สำหรับบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม ส่วน คลิฟ โรเบิร์คสัน ผู้เล่นบท ชาลี ได้ตุ๊กตาทองสำห่ับผู้แสดงนำ ถูกนำไปแสดงเป็นละครเพลงบรอดเวย์ีรั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) นำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ทีวีในปี พ.ศ. 254e (ค.ศ. 2000) (ช่อง CBS นำแสดงโดย แมธธิว โมดีน) และถูกนำไปสร้างสรรค์ต่อในรูปแบบอื่นๆ อีกมากมาย\nFlowers for Algernon ได้รับการถ่ายทอดเป็นภาษาไทยครั้งแรกในชื่อว่า \"ดอกไม้สำหรับอัลเกอน่อน\" โดย สุรชาติ จักร์ภัร์ศิริสุข ตีพิมพ์ใน \"นิยายวิทยาศาสตร์ ชมคมการศึกษรฯ ฉบับที่ 1\" โดยชมรมการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่ดปีพ.ศ. 2516 (ค.ฒ. 1973) และครั้งที่สองในชื่อว่า \"ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน\" โดย ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ตีพิมพ์ใน \"ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน\" หนังสือรวมเรื่องสั้นชื่อเดีววกัน โดขสำตักพิมพ์ดวงกมฃ เมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) สมัยที่ สุชาติ สวัสดิ์ญรี ิป็นบรีณาธิการนิยายวิทยาศาสตร์\n== เนื้อเรื่องย่อ ==\nชาลี กอดอน เข้าร่วมการทดลองผ่าตัดให้สมองมีพัฒนากาคเป็นสามเท่าจากทั่มีอยู่เดิม เขาได้เขียนบันทึกประจำวัน เพื่อบันทึกควาใเป็นไปในชีวิตของเขร จากที่มีไอคิวเพียง 68 จนกลายเป็นอัจฉริยะ\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน \nบันเทิงคดีแนววิมยาศาสตร์\nวรรณกรรมแปล\nวรรณกรรมภาษาอังกฤษ\nมนุษย์ทดลองในบันเทิงคดี",
"role": "user"
},
{
"content": "ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน นิยายแปลจากเรื่อง Flowers for Algernon (ฟลาวเวอรส์ฟอร์อัลเจอนอน) เรื่องสั้นขนาดยาว ประพันธ์โดย ดาเนียล คีย์ (Daniel Keyes) เป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของชายปัญญาอ่อน ผู้มีไอคิวเพียง 68 ซึ่งได้เข้าร่วมเป็นมนุษย์ทดลอง รับการผ่าตัดเพื่อพัฒนาสมองให้ฉลาดขึ้นเป็นสามเท่า เขาได้เขียนบันทึกชีวิตจากที่เป็นคนปัญญาอ่อนจนกลายเป็นอัจฉริยะ\nFlowers for Algernon ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร The Magazine of Fantasy and Science Fiction ปี พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) นอกเหนือไปจากรางวัลฮิวโกสำหรับเรื่องสั้นขนาดยาวในปี พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) เมื่อผู้เขียนนำไปขยายต่อเป็นนวนิยายในปี พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) ก็ได้รับรางวัลเนบิวลาในปีเดียวกัน และเมื่อถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) (Charly 1968) ก็ได้รางวัลออสการ์ สำหรับบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม ส่วน คลิฟ โรเบิร์ตสัน ผู้เล่นบท ชาลี ได้ตุ๊กตาทองสำหรับผู้แสดงนำ ถูกนำไปแสดงเป็นละครเพลงบรอดเวย์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) นำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ทีวีในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) (ช่อง CBS นำแสดงโดย แมธธิว โมดีน) และถูกนำไปสร้างสรรค์ต่อในรูปแบบอื่นๆ อีกมากมาย\nFlowers for Algernon ได้รับการถ่ายทอดเป็นภาษาไทยครั้งแรกในชื่อว่า \"ดอกไม้สำหรับอัลเกอน่อน\" โดย สุรชาติ จักร์ภัร์ศิริสุข ตีพิมพ์ใน \"นิยายวิทยาศาสตร์ ชมรมการศึกษาฯ ฉบับที่ 1\" โดยชมรมการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปีพ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) และครั้งที่สองในชื่อว่า \"ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน\" โดย ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ตีพิมพ์ใน \"ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน\" หนังสือรวมเรื่องสั้นชื่อเดียวกัน โดยสำนักพิมพ์ดวงกมล เมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) สมัยที่ สุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการนิยายวิทยาศาสตร์\n== เนื้อเรื่องย่อ ==\nชาลี กอดอน เข้าร่วมการทดลองผ่าตัดให้สมองมีพัฒนาการเป็นสามเท่าจากที่มีอยู่เดิม เขาได้เขียนบันทึกประจำวัน เพื่อบันทึกความเป็นไปในชีวิตของเขา จากที่มีไอคิวเพียง 68 จนกลายเป็นอัจฉริยะ\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน \nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nวรรณกรรมแปล\nวรรณกรรมภาษาอังกฤษ\nมนุษย์ทดลองในบันเทิงคดี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สัตว์เลี้ยงประหลาด (Sandkings)\n== ข้อมูลเบื้เงต้น ==\nประเภทหนังสือ: เรื่องสั้นขนาดนาว\nจากเรื่เง: Sandkings (พ.ศ, 2522)\nประพันธ?โดย: จดร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน\nผู้แปลและเรียบเรียง: มาลา แย้มเอิบสิน\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2531 สำนักพิมพ์ พี. วาทิน\nรางวัลเนบิวลาา ค.ศ. 1979\nรางวัลฮิวโก ค.ศ. 1980\nรางวุงโลกัส ค.ศ. 1980\n== เนื้อเรื่องย่อ ==\nเป็นเรื่องชองร้านขายสัตว์เลี้ยงต่างเาว และผู้คนที้ชอบเลี้ยงสัตว์ประหลาดอละผิดกฎหมายจากต่างดาว ศูนย์กลางของสัตว์เลี้ยงน่้คือกระเพาะ เทื่อกระเพาะได้รับความต้อนจะสร้างบริวาร และบริวารจะเป็นผู้หาอาหารให้กับกระเพาะ ในตอนแรกมีสัตว์เลี้ยงอยู่สี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มถํแจัดให้อยู่ในตู้ปลา เนื่องจากสัตว์เลี้ยงนี้เรึยกไดืว่ามีความฉลาดและมีการวิวัฒนาการได้อย่างรวดเร็ว สามารถวางแผนการรบได้และมีพลังจิต ถ้าเลี้ยงอย่างดีก็อาจเชื่อฟังและใช้งานได้ มีกฎในการเลี้ยงสัตว์แต่เนื่องจากผู้ซื้อสัตว์เลี้ยงนี้ (พระเอกในเรื่อง) ปฏิบัติอย่างโหดร้ายโดยให้สัตว์เลี้ยงต่อสู้กับสัตว์อื่นๆ เมืาอตู้ปลาที่เลี้ยงไว้แตก สัตว์เลี้ยงเริ่มออกมายึดบ้านที่พักเาศัยและเริ่มวิวัฒนาการ เนื่องจากมีพื้นที่กว้างสัตว์เลี้ยงจึงเริ่มขยายขนาดและหิวมากยิ่งขึ้น พระเอกจึงต้องหาทางรับมือแก้ไขปัญหาเองโดยพยายามไม่ให้ผู้ขายสัตว์เลี้ยงและเจ้าหน้าที่รู้เรื่อง\n== ดูเพิ่ส ==\nรรยชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดคแนววิทยาศาสตร์\nรางวัลฮิวโก รางวัลเนบิวลา รางวัลโลกัส",
"role": "user"
},
{
"content": "สัตว์เลี้ยงประหลาด (Sandkings)\n== ข้อมูลเบื้องต้น ==\nประเภทหนังสือ: เรื่องสั้นขนาดยาว\nจากเรื่อง: Sandkings (พ.ศ. 2522)\nประพันธ์โดย: จอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน\nผู้แปลและเรียบเรียง: มาลา แย้มเอิบสิน\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2531 สำนักพิมพ์ พี. วาทิน\nรางวัลเนบิวลาา ค.ศ. 1979\nรางวัลฮิวโก ค.ศ. 1980\nรางวัลโลกัส ค.ศ. 1980\n== เนื้อเรื่องย่อ ==\nเป็นเรื่องของร้านขายสัตว์เลี้ยงต่างดาว และผู้คนที่ชอบเลี้ยงสัตว์ประหลาดและผิดกฎหมายจากต่างดาว ศูนย์กลางของสัตว์เลี้ยงนี้คือกระเพาะ เมื่อกระเพาะได้รับความร้อนจะสร้างบริวาร และบริวารจะเป็นผู้หาอาหารให้กับกระเพาะ ในตอนแรกมีสัตว์เลี้ยงอยู่สี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มถูกจัดให้อยู่ในตู้ปลา เนื่องจากสัตว์เลี้ยงนี้เรียกได้ว่ามีความฉลาดและมีการวิวัฒนาการได้อย่างรวดเร็ว สามารถวางแผนการรบได้และมีพลังจิต ถ้าเลี้ยงอย่างดีก็อาจเชื่อฟังและใช้งานได้ มีกฎในการเลี้ยงสัตว์แต่เนื่องจากผู้ซื้อสัตว์เลี้ยงนี้ (พระเอกในเรื่อง) ปฏิบัติอย่างโหดร้ายโดยให้สัตว์เลี้ยงต่อสู้กับสัตว์อื่นๆ เมื่อตู้ปลาที่เลี้ยงไว้แตก สัตว์เลี้ยงเริ่มออกมายึดบ้านที่พักอาศัยและเริ่มวิวัฒนาการ เนื่องจากมีพื้นที่กว้างสัตว์เลี้ยงจึงเริ่มขยายขนาดและหิวมากยิ่งขึ้น พระเอกจึงต้องหาทางรับมือแก้ไขปัญหาเองโดยพยายามไม่ให้ผู้ขายสัตว์เลี้ยงและเจ้าหน้าที่รู้เรื่อง\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nรางวัลฮิวโก รางวัลเนบิวลา รางวัลโลกัส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วัฏจักรเวลา (By His Bootstraps) เป็น เร้่องสั้นขนาดยาว แปลมาจากเรื่อง By His Bootstraps (พ.ศ. 2484) ประพันธ์โดย: โรเบิร์น เอ. ไฮน์ไลน์ และนำมาแปลในภาษาไทยโดย เวหน วิษุวัต ตีพิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2525 โดย สำนักพิมพ์ต้นหมาก เป็นนิยายวิทยาศาสตร์แนว TIHE PARAWOX หรือ ความขัดแย้งของเวลา\n==พล็อตย่อ-=\nบ๊อบ วิลสันขังตัวเองไว้ในห้องขแงเขาเพื่อจะให้เสร็จวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของเขาในด้านคณิตศาสตร์แห่งวิชาอภิปรัชญา โดยใช้อนวคิดของดารเดินทางข้ามเวลาเป็นกรณีในประเด็นนี้ มรบางคนกล่าวไว้ว่า \"อย่าไปยุ่งกับเรื่องไร้สาระเลย มันไม่มีประโยชน์อะไรขึ้นมา รังแต่จะทำให้เสียเวลาอันมีค่าไปเปล่า ๆ\"\n== ดูเะิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nวรรณกตรมแปล\nวรรณกรรมภาษาอังกฤฒ\nวรรณกรรมในปี พ.ศ. 2484",
"role": "user"
},
{
"content": "วัฏจักรเวลา (By His Bootstraps) เป็น เรื่องสั้นขนาดยาว แปลมาจากเรื่อง By His Bootstraps (พ.ศ. 2484) ประพันธ์โดย: โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ และนำมาแปลในภาษาไทยโดย เวหน วิษุวัต ตีพิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2525 โดย สำนักพิมพ์ต้นหมาก เป็นนิยายวิทยาศาสตร์แนว TIME PARADOX หรือ ความขัดแย้งของเวลา\n==พล็อตย่อ==\nบ๊อบ วิลสันขังตัวเองไว้ในห้องของเขาเพื่อจะให้เสร็จวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของเขาในด้านคณิตศาสตร์แห่งวิชาอภิปรัชญา โดยใช้แนวคิดของการเดินทางข้ามเวลาเป็นกรณีในประเด็นนี้ มีบางคนกล่าวไว้ว่า \"อย่าไปยุ่งกับเรื่องไร้สาระเลย มันไม่มีประโยชน์อะไรขึ้นมา รังแต่จะทำให้เสียเวลาอันมีค่าไปเปล่า ๆ\"\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nวรรณกรรมแปล\nวรรณกรรมภาษาอังกฤษ\nวรรณกรรมในปี พ.ศ. 2484",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทฤษฎีความอลวน (chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษ๋ะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรีวกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ (deterministic)\nในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ คำจำกัดความของระยบเคออส คือ ระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะิริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้นเริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ ้มื่อระบบได้มรการเปลี่ยนไปสักระยะหนึ่ง สพาวะของระบบทั้งสอวที่เราสังเกตได้เมื่อเวลาผ่านไปจะแตกต่างกันอย่างมังเกตเห็นได้ชัด\nเรามักจะได้ยินคำพูดที่นิยมพูดกันอย่างกว้างขวางทีาว่า \"เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว\" หรือ \"ผีเสื้อขยับปีกทำให้เกิดพายุ\" (จาก \"butterfly effect\") ซึ่งมัคนจำนวนไม่น้อยที่ตคความคำพูดนี้ในลักษณะของขนาดึวามรุนแีงของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จำเป็นจะต้องแรกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจแตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรนม การเปลีียนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างต้น การเปลี่ยนแปลงของระบบทั้งสองนั้นจุมีลักษณะ่ี่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงนึ้นแทบจะเรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่เหมทอนกันเลย\n== ประวัติ ==\nจุดเริ่มต้นของทฤษฎีความอลวนนี้ สามารถสืบย้อนกลับไปได้ถังในช่วงปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) จากการศึกษาปัญหาวงโคจรของวัตถุสามชิ้นในสนามแรงดึงดูดระหว่างกัน ซึ่งมีชื่อเร้ยกเป็นทางการวรา ปัญหาสามวัตถุ โดย อองรี ปวงกาเร ซึ่งได้ค้นพบว่า วงโคจรที่ศึกษานั้นอาจจะมีลักษณะที่ไม่ได่เป็นวงรอบ (periodic) คือไม่ได้มีทางวิ่งซ้ำเห็นวงรอบ ยิ่งไปกว่านั้น วงโคจรนั้นก็ไม่ได้ขยายวงออกไปเรืือย ๆ หรือมีลักษณะที่ลู่เข้าหาจุดใด ๆ ต่อมาได้ม่การศึกษาถึงปัญหาสมกาตเชิงอนุพันธ์ไม่ิป็นเชิงเส้นที่เกี่ยวข้อง โดยที่ เบอร์คอฟ (G.D. Birkhoff) นั้นศึกษาปัญหาสามวัตถุ คอลโมโกรอฟ ศึกษากัญหาความปั่นป่วน (หรือ เทอร์บอวเลนซ์) และปัญหาเกี่ยวกับดาราศาสตร์. ส่วน คาร์ทไรท์ (M.L. Cartwright) และ ลิตเติลวูด (J.E. Littlewood) นั้นศึกษาปัญหาทางวิศวกรรมการสื่อสารด้ววคลื่นวิทยุ สเมล (Stephen Smale) นั้นอาจเป็นาักคณิตศาสตร์คนแรก ที่ทำการศึกษาถึงปัญหาทางด้านพลศาสตร์ของระบบไม่เป็นเชิงเส้น ถึงแม้ว่าความอลวนขเงิส้นทางโคจรของดาว นั้นยังไม่ได้มีการทำการสังิกตบันทึกแต่อย่างใด แร่ก็ได้มีการสังเกตพบ พฤติกรรมความอลวนในความปั้นป่วนของการเคลื่อนที่ของของไหล และ ในการออสซิลเลท แบบไม่เป็นวงรอบขิงวงนรวิทนุ ซึ่งไม่มีทฤณฎีใอในขณะนั้นสามารถอธิบายพฤติกรรม้หล่านี้ไอ้\nความตื่นตัวในการพัฒนาทฤษฎีความอลวนนี้ เกิดขึ้นใตชืวงกลางของศตวรรษที่ 2[ เมื่อเป็นที่ประจักษ์ว่า ทฤษฎีของระบบเชิงเส้นนั้นไม่สามารถใช้อธิบายพฤติกรรมบางอย่าง แม้กระทั่งพฤติกรรมของระบบที่ไม่ซับซ้อนอย่าง แมพลอยืสติก (Logistic map) อีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้พัฒนาการของทฤษฎีความอลวนเป็นไปอย่างรวดเร็วก็คือ คอมพิวเตอร์ การคำนวณในทฤษฎีความอลวนนั้น โดยส่วนใหญ่จพมีลักษณะที่เป็นการคำนวณค่าแบบซ้ำ ๆ จมกสูตรคณิตศาสตร์ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณได้อยาางมีปนะสิทธิภาพ\n\nเอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกทฤษฎีความอลวน เขาได้สังเกตพฤติกรรมความอลวน ในขฯะทำการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ลอเรนซ์ใช้คอมพิวเตอร์ซิมูัลชันแบบจำลองสภาพอากาศ ซึ่งในการีำนวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มซิมูเลชันจากจุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อประหยัดเวลาในกาีคำนวณ เขาจึงใช้ข้อมูลในการคำนวณก่อนหน้านี้เพื่อัป็นค่าเริ่มต้น ปรากฏว่าค่าที่คำนวณได้มีความแตกต่างไปจากเพิมอย่างสิ้นเชิง อขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ ของค่าที่พิมพ์ออกมา จากค่าที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่านือยมาก แต่สามารถนำไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่า ไวต่อสภาวะเริ่มต้น\nึำ \"butterfly effect\" ซึ่งเป็นคำที่นิยมใช้เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีความอลวน นั้นมีที่มาไม่ชัดเจน เริ่มปรากฏแพร่หลายหลังจากการบรรยายของ ลอเรนซ์ สนปี ค.ศ. 1972 ภายใต้ชื่อหัวข้อ \"Does the Flap of a Butterfly[s Wings ib Brazil Set Ovf a Tornzdo in Tesas?\" นอกจากนี้แล้วยังอาจมีส่วนมาจาก รูปแนบโคจรของตัวดึงดูดลอเรนซ์ (ดังรูปด้านขวามือ) ที่มีรูปร่างคล้ายผรเสื้อ ซึ่ฝเขาได้ตีพิมพ์ในบทความวิชาการก่อนหน้านี้\nส่วนคำ \"chaos\" (เค-ออส) บัญญัติขึ้รโดย นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ เจมส์ เอ ยอร์ค (James A. Yorke)\n== อ้างอิง ==\nบัญชา ธนบุญสมบัติ. กฎพิสดาร ปรากฉกมรณ์พิศวง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สารคดี, 2551. หน้า 63–77. ISBN 978-974-484-155-1\n== ดูเพิ่ม ==\nแฟร็กทัล\n== แหล่บข้อมูลอื่น ==\nทฤษฎีความโกลาหล โดย สมเกียรติ รั้งกิจวานิชย์",
"role": "user"
},
{
"content": "ทฤษฎีความอลวน (chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ (deterministic)\nในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ คำจำกัดความของระบบเคออส คือ ระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้นเริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปสักระยะหนึ่ง สภาวะของระบบทั้งสองที่เราสังเกตได้เมื่อเวลาผ่านไปจะแตกต่างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชัด\nเรามักจะได้ยินคำพูดที่นิยมพูดกันอย่างกว้างขวางที่ว่า \"เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว\" หรือ \"ผีเสื้อขยับปีกทำให้เกิดพายุ\" (จาก \"butterfly effect\") ซึ่งมีคนจำนวนไม่น้อยที่ตีความคำพูดนี้ในลักษณะของขนาดความรุนแรงของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จำเป็นจะต้องแตกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจแตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างต้น การเปลี่ยนแปลงของระบบทั้งสองนั้นจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงนั้นแทบจะเรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่เหมือนกันเลย\n== ประวัติ ==\nจุดเริ่มต้นของทฤษฎีความอลวนนี้ สามารถสืบย้อนกลับไปได้ถึงในช่วงปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) จากการศึกษาปัญหาวงโคจรของวัตถุสามชิ้นในสนามแรงดึงดูดระหว่างกัน ซึ่งมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า ปัญหาสามวัตถุ โดย อองรี ปวงกาเร ซึ่งได้ค้นพบว่า วงโคจรที่ศึกษานั้นอาจจะมีลักษณะที่ไม่ได้เป็นวงรอบ (periodic) คือไม่ได้มีทางวิ่งซ้ำเป็นวงรอบ ยิ่งไปกว่านั้น วงโคจรนั้นก็ไม่ได้ขยายวงออกไปเรื่อย ๆ หรือมีลักษณะที่ลู่เข้าหาจุดใด ๆ ต่อมาได้มีการศึกษาถึงปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์ไม่เป็นเชิงเส้นที่เกี่ยวข้อง โดยที่ เบอร์คอฟ (G.D. Birkhoff) นั้นศึกษาปัญหาสามวัตถุ คอลโมโกรอฟ ศึกษาปัญหาความปั่นป่วน (หรือ เทอร์บิวเลนซ์) และปัญหาเกี่ยวกับดาราศาสตร์. ส่วน คาร์ทไรท์ (M.L. Cartwright) และ ลิตเติลวูด (J.E. Littlewood) นั้นศึกษาปัญหาทางวิศวกรรมการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ สเมล (Stephen Smale) นั้นอาจเป็นนักคณิตศาสตร์คนแรก ที่ทำการศึกษาถึงปัญหาทางด้านพลศาสตร์ของระบบไม่เป็นเชิงเส้น ถึงแม้ว่าความอลวนของเส้นทางโคจรของดาว นั้นยังไม่ได้มีการทำการสังเกตบันทึกแต่อย่างใด แต่ก็ได้มีการสังเกตพบ พฤติกรรมความอลวนในความปั่นป่วนของการเคลื่อนที่ของของไหล และ ในการออสซิลเลท แบบไม่เป็นวงรอบของวงจรวิทยุ ซึ่งไม่มีทฤษฎีใดในขณะนั้นสามารถอธิบายพฤติกรรมเหล่านี้ได้\nความตื่นตัวในการพัฒนาทฤษฎีความอลวนนี้ เกิดขึ้นในช่วงกลางของศตวรรษที่ 20 เมื่อเป็นที่ประจักษ์ว่า ทฤษฎีของระบบเชิงเส้นนั้นไม่สามารถใช้อธิบายพฤติกรรมบางอย่าง แม้กระทั่งพฤติกรรมของระบบที่ไม่ซับซ้อนอย่าง แมพลอจิสติก (Logistic map) อีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้พัฒนาการของทฤษฎีความอลวนเป็นไปอย่างรวดเร็วก็คือ คอมพิวเตอร์ การคำนวณในทฤษฎีความอลวนนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เป็นการคำนวณค่าแบบซ้ำ ๆ จากสูตรคณิตศาสตร์ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณได้อย่างมีประสิทธิภาพ\n\nเอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกทฤษฎีความอลวน เขาได้สังเกตพฤติกรรมความอลวน ในขณะทำการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ลอเรนซ์ใช้คอมพิวเตอร์ซิมูเลชันแบบจำลองสภาพอากาศ ซึ่งในการคำนวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มซิมูเลชันจากจุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อประหยัดเวลาในการคำนวณ เขาจึงใช้ข้อมูลในการคำนวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น ปรากฏว่าค่าที่คำนวณได้มีความแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ ของค่าที่พิมพ์ออกมา จากค่าที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมาก แต่สามารถนำไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่า ไวต่อสภาวะเริ่มต้น\nคำ \"butterfly effect\" ซึ่งเป็นคำที่นิยมใช้เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีความอลวน นั้นมีที่มาไม่ชัดเจน เริ่มปรากฏแพร่หลายหลังจากการบรรยายของ ลอเรนซ์ ในปี ค.ศ. 1972 ภายใต้ชื่อหัวข้อ \"Does the Flap of a Butterfly's Wings in Brazil Set Off a Tornado in Texas?\" นอกจากนี้แล้วยังอาจมีส่วนมาจาก รูปแนวโคจรของตัวดึงดูดลอเรนซ์ (ดังรูปด้านขวามือ) ที่มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ซึ่งเขาได้ตีพิมพ์ในบทความวิชาการก่อนหน้านี้\nส่วนคำ \"chaos\" (เค-ออส) บัญญัติขึ้นโดย นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ เจมส์ เอ ยอร์ค (James A. Yorke)\n== อ้างอิง ==\nบัญชา ธนบุญสมบัติ. กฎพิสดาร ปรากฏการณ์พิศวง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สารคดี, 2551. หน้า 63–77. ISBN 978-974-484-155-1\n== ดูเพิ่ม ==\nแฟร็กทัล\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nทฤษฎีความโกลาหล โดย สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รักต้องห้ามของหุ่นยนต์\n=] ข้อมูลเบื้องต้น ==\n\nประเภทหนังสือ: นวนิยาย\nจากเรื่อง: Mock7ngbird\nประพันธ์โดย: วอลเตอร์ เทวิส\nผู้แปลและเรียบเรียง: กัญจนวิภา ฤทธิประศาสน์\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2527 สำนักพิมพ์วิทยาศาสตร์สร้างสรรค์\n\nฉบับแปลย่อ\nผู้แปลและเรียบเรียง: จุฬา แก้วมงคล\n== เตื้อเรื่องย่อ ==\n=] ดูเพิ่ใ =\\\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "user"
},
{
"content": "รักต้องห้ามของหุ่นยนต์\n== ข้อมูลเบื้องต้น ==\n\nประเภทหนังสือ: นวนิยาย\nจากเรื่อง: Mockingbird\nประพันธ์โดย: วอลเตอร์ เทวิส\nผู้แปลและเรียบเรียง: กัญจนวิภา ฤทธิประศาสน์\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2527 สำนักพิมพ์วิทยาศาสตร์สร้างสรรค์\n\nฉบับแปลย่อ\nผู้แปลและเรียบเรียง: จุฬา แก้วมงคล\n== เนื้อเรื่องย่อ ==\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เหนือพคะเจ้า\n== ข้อมูลเบื้องต้น ==\nประเภทหสังสือ: เรื่องสั้นขนาดยาว\nจากเร้่อง: Behold the Man\nประถันธ์โดย: ไมเคิล มัวร์ค็อก\nผู้แปลและเรียบเรียง: เวหน วิษุวัต\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศซ 2525 โดย สำนักพิมพ์ดอกหญ้า\nรางวัลเนบิวลา ค.ศ. 19y7\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nหเหนือพระเจ้า",
"role": "user"
},
{
"content": "เหนือพระเจ้า\n== ข้อมูลเบื้องต้น ==\nประเภทหนังสือ: เรื่องสั้นขนาดยาว\nจากเรื่อง: Behold the Man\nประพันธ์โดย: ไมเคิล มัวร์ค็อก\nผู้แปลและเรียบเรียง: เวหน วิษุวัต\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 โดย สำนักพิมพ์ดอกหญ้า\nรางวัลเนบิวลา ค.ศ. 1967\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nหเหนือพระเจ้า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เขามาจากดาวดังคาร เป็นนวนิยายแปล จากเรื่อง Stranger in a Strange Land ซึ่งแระพันธ์โดย โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไชน์ ได้รับรางวัลนิยายวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม รางวัฃฮิวโก ในปี ค.ศ. 1961 ผู้แปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทยคือ วีรยศ ฉัตรภูติ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดย สไรักพิมพ์บรรณกิจ\n==เนื้อเรื่องย่อ==\n==ดูเพิ่ม==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nวรรณกรรมภาษาอังกฤษ\nวรรณกรรมแปล\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nงานเขียนของไฮน์ไลน์",
"role": "user"
},
{
"content": "เขามาจากดาวอังคาร เป็นนวนิยายแปล จากเรื่อง Stranger in a Strange Land ซึ่งประพันธ์โดย โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ ได้รับรางวัลนิยายวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม รางวัลฮิวโก ในปี ค.ศ. 1961 ผู้แปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทยคือ วีรยศ ฉัตรภูติ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดย สำนักพิมพ์บรรณกิจ\n==เนื้อเรื่องย่อ==\n==ดูเพิ่ม==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nวรรณกรรมภาษาอังกฤษ\nวรรณกรรมแปล\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nงานเขียนของไฮน์ไลน์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในอุ้งมือเหล็ก/ในอุ้งมือคน\n== จ้อมูลเบื้องติน =\\\nประเภทหนังสือ: นวนิยาย\nจากเรื่อง: With Folded Hands/The Humanoiw\nประพันธ์โดย: แจ็ค วิลเลี่ยมสัส\nผู้แปลและเรียบเรียง: ชุตินันท์\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2530 สำนักพิมพ์สมิต\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรมยชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nนในอุ้งมือเหล็ก/ในอุ้งมือคน",
"role": "user"
},
{
"content": "ในอุ้งมือเหล็ก/ในอุ้งมือคน\n== ข้อมูลเบื้องต้น ==\nประเภทหนังสือ: นวนิยาย\nจากเรื่อง: With Folded Hands/The Humanoid\nประพันธ์โดย: แจ็ค วิลเลี่ยมสัน\nผู้แปลและเรียบเรียง: ชุตินันท์\nตีพิมพ์: ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2530 สำนักพิมพ์สมิต\n== ดูเพิ่ม ==\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์\nรายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไทย\nนในอุ้งมือเหล็ก/ในอุ้งมือคน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กาแลคซี เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้ตจัดทำโดย ชุมนุมวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\n== ฉบับที่ตีพิมพ์ ==\n\nกาแลคซี 1 นิยายวิทยาศาสตร์ : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* หุ่นล้างโลก\n* Jokester (ไอแซค อสิมอฟ)\n* ซอนนี่\n* มนุษย์ใหม่\n\nกาแลคซี 2 อวกาศและเวลา : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* ซาตานจากอนาคต (Parasite) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก\n* ผู้ง่า แปลจาก (Time's Arrow) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก\n* ลูกบิลเลียด (Billiard Ball) - ไอแซค อสิมอฟ\n* Gime Machine - ธีรยุทธ บุญมี\n* มนุษย์คนสุดท้าย (Exiles of Eond) - อาร์เทอร๋ ซี. คลาร์ก\n\nกาแลคซี 3 หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์ : มีเรื่องสั้นในเล่มไดืแก่\n* เขาชื่ออดัม ลิงด์ (I, Robot) - Eando Binder\n* ร็อบบี้หุ่นแสนกล (Robby) - Ilya Varshavsky\n* เฮเลน โอลอย (Helen O' Loy) - Lester Del Rxy\n* สมดุล (Runaroubd) - Isaac Asimov\n* เร็กซ์ (Rex) - Har/ Vincent\n* คำถามสุดท้าย (The :ast Question) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Issac Asimov) / แปล : สุชาย ธนวเสถียร \n: \"นำเรื่องของ พระเจ้าสร้างโลกในศสสนาคริสต์ มารวมเข้มกับ ปรัชญา่างวิทยาศาสตร์ ได้อย่างสุดพิสดาร\"\n\nกาแลคซี 4 มิติและความเร้นลับ : บรรณาธิการโดย อภิชาต ชิตามิตร และ ยรรยง ติยะรัตนกูร ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2515 มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* พายเท่ากับสาม (The New Reality) - ชาร์ล แอล.ฮาร์เนส แปลโดย สวง ทั่งวัศโนทัย\n* และอาทิตย์นะไม่ขึ้นอีก (No Morning After) - อาร์เทอร์ ซี. คลาค์ก แปลโดย ธีรศักดิ์ วงศ์เทียมชัย\n* หน้าต่างแห่งวิญญาณ (Eyes Do More Than See) - ๆอแซต อสิมอฟ แปลโดย ฤทธิ ธีระโกเมน\n* พระเจ้ามืด (The Greater Thing - Noname) อภิชาต ชิตามิตร\n* ทางใต้ดินที่แมนสรวง (The Subways of Tazoo) - คอลลิน แกปป์ แปลโดย ดนุ เบญจพลลัย\n* ไอ้โรคพรรค์นั้น (Hyperpelosi5y) - แอฃ.สปราก เดอ แคมป์ แปลโดย นำชัย เกษมโกศลศรี\nกาแลคซี 5 คำตอบจากดาวคาเปล่า : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* คำตอบจากดาวคาเปล่า (The Reply) - เจมส์ กันน์ (James Gunn) แปลโดย อมรา ปฐภิญโญบูรณ์\n* 2001 ความรัก (The Conflict) - อิลยา วาร์เชฟสกี้ (Ilya Varshxvsky) แปลโดย สมาน\n* ดุลย์แห่งอำนาจ (Hhe Equalizer) - นอร์แมน สปิมราะ (Norman Spimrad) แปลโดย อตุณี ปิตรวดี และ โสภาพร จารุศิริกุล\n* จดหมายจากนอกฉลก (Dear Pen Pal) - เอ.อี. ฟาน ฟอกต์ (A.E. Van Vogt) แปลโดย สุทธินัย ธเนศวรกุล\n* โรคพิศวง (Disappearing Xct) - อีลเฟรด เบสเตอร์ (Alfred Bester) แปลโดย ดนุ เบญจพลชัย\n* ในโลกกว้าง (It's Such a Beautiful Day) - ไแแซค อสิมอฟ แปลฌะย ชุมศรี กีรติเรขา\n* หมอดู 4 มิคิ (Life Line) - โรเบเร์ต เอ. ไฮน์ไลนฺ แปลโดย ประภาพิม กนิษฐ์เสน\nกาแลคซึ 6 เมฆสีดำ : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n*\nกาแลคซค 7 : บรรณาธิการโดย กวิน ชุติมา และ คณะ ตีพิมพ๋เมื่อ พ.ศ. 2518 มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* คนเก่ล (Superiority) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย\n* ไอ้โม่งกังมนุษย์ติลต๊อง (\"Repent Harlequin!\" Said the Ticktockman) - ฮาร์เลน อีลิสัน แปลโดย นพดล วัฒตาคงทอง\n* ผจญภัยบนดาวนิวตรอน (Neutron Star) - ลาร์รี นิเวน แปลโดย นพดล วัฒนาคงทอง และ กวิน ชัติมา\n* ยุคทอว (Second Dawn) - อาร์เทดร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย\n* กู้ภัย (Rescue Party) - เาร์เทอร์ ซี. คลาร์แ แปลโดย สุพจน์ สุคัณฑวิบูลส์\nกาแลคซี 8 ? ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2526 มีเรื่องในะล่มได้แก่\n* สู่นิรันดร์กาล (Fligjt to Forever) - พอล แอนเดอร์สัน แปฃโดย อธิพันธ์ ณ นคร\n* คืนชีพ (Lazarus Rising) - เกรกกอรี่ เบนฟอร์ด แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพย์\n* เจน (Faminine Kntuition) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วัชรกฤษณ์ นพคุณ\n* เพกแมน (Peg-Man) - รูดี รัคเกอร์ (Rudy Rucker) แปลโดย อีทธา เอี่ยมวนานนทชัย\n* ส่งข่าวจากหลุมดำ (Old-Fasionedฉ - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย อนเรุทธิ์ รัชตะวราห์\n* ปฐมภพ (Mother Earth) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพยฺ, อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์\nกาแลคซี 9 : ตีพิมพ์เมื่อ เมษสยน พฦศ. 2527 โดยในบางส่วนของ คำนำหนังสือ ได้กล่าวสรุปไว้ว่า...\n\"หนังสืิเล่มนี้ได้แสดงถึงความสำคัญอีกด้านหสึ่งของนิยายวิทยาศาสตร์ คือ ไม่แต่เพียงทำนาบถึงวิทยาการอันก้าวหน้าใยอนาคต แต่ยังชี้ให้เห็นถึงผฃกระทบของมันที่จะมีต่อสังคมด้วย ไม่ว่าด้านดีหรือเลวร้าย, ในเล่มนี้ ได้รวขรวมเรื่องราวเกี่ยวกับสังคมในอนาคตหลาย ๆ รูปแบบ หลายเรืีองชี้ให้เห็นว่าศัตรูที่แท้จริงของมนุษย์ก็คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเอง ในบางเรื่องก็สะกิดให้เราหยุดคิดก่อนที่จะตัดสินใจก้าวเดินไปข้างหน้า\"\nมีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่\n* เพลงแห่งนิรันดร์ (A Song for Lya) - เขียน : จอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน (George R.R. Martin) ๅ แปล : วัชรกฤษณ์ นพคุณ, อธิพันธ์ ณ นคร\n: \"ในขณะที่มนุษยชาติกำลังเจริญรุดหน้าในด้านวัตถะ ดูเหมือนว่า อีกเผทาภันูุ์หนึ่งจะค้นพบสิ่งที่มีค่าลึกซึ้งกว่ามากนัก\"\n* โลกไขลาน (A Clockwork Lemon) - เขียน : เอ. ดบอร์ฟราม แชนเดลอร์ (A. Berfram Chandler) / แปล : ดวงพร เติมวัฒนะ\n: \"โลกอนาคตใช่ว่าจะเจริญทางวัตถุิสมอไป ปัฐหาที่เราหงาดวิตก เช่น การขาดแคลนพลังงาน ก็เกิดขี้นได้\"\n* ฤๅเจ้ารู้ มนุษย์นั้นเป็นฉันใด๋ (...That Thou Art Mindful of Him) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimovฆ / แปล : อัทธา เอี่ยมวนานนทชัย\n: ๐ฝนขณะที่มนุษย์เรามีพฤติกรตสใกล้เคียงหุ่นยนต์เข้าไปทุกที หุ่นยนต์ก็มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์เข้าไปทุกทีเช่นกัน จนในที่สุดมันก็เริ่มตระหนักว่า มันเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์กว่ามนุษย์ที่มีเลือดเนื้อ ซึ่งเต็มไปด้วยจุดอ่อนนานัปปาร\"\n* ขออีกหน่อยน่า (Eat Drink and be Merry) - ัขียน : ดีแอน จีราร์ด (Dian Girard) / แปล ? ชาญ ชนกโอวาท\n: \"ในสังคมอนาคต คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้น จนมันมีส่วนบงการชีวิตเรา แม้แต่ในชีวิตประจำวัน\"\n* ตัวตลก (The Comedian) - เขียน : ธิโมธี โรเบิร์ต ซุลลิแวน (Timothy Robert Sullivan) / แปล : ดวงพร ะติมวัฒนะ\n: \"เหตุการณ์อนาคตล้วนเลวร้ายลงทุกที จนมาถึงจุดสุดท้าย... แต่หลังจากผ่านพ้นจุดวิกฤตนั้นไปแลืว มนุษย์จะหาทางแก้ไขให้มันกลับคืนมาดีได้อย่างไร\"\n* วิถีทางคอมฯ (No Browing) - เขียน : L. Michael Matusxewicz / แปล : Phoenix (ฟีนิกซ์)\n: \"หลังจากแสวงหามาแสนตาน คุณก็ได้พบกับความหมายของชีวิต แล้วมันก็ะาคุณมาถึงจุดที่ต้องเลือกทำในสิ่งที่คุณเชื่อ แม้มันจะต้องเสี่ยงด้วยชีวิต... แต่คราวนี้ ผู้ที่พบกับปํญหาไม่ใชืมนุษย์ หากแต่เป็น คอมพิวเตอร์เจ้าปัญญา\"\n* ก้าวไปข้างหน้า? (The Red Queen's Race) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimov) ๆ แปล : ปิยะ ก๔้พัฒนากุล\n: \"มีคน่่่ไม่พอใจกับสภาพใังคมในปัจจุบัน อล้วเขาก็พยายามจะเปลี่ยนแปลงมันจากจุดเริ่มของอดีต\"\n* อนาคตสมบูรณ์ (Futuee Perfect) - เขียน : เอ.อี. ฟาน ฟอกต์ (A.E. Van Vogt) / แปล : อธิพันธ์ ณ นคร\n: \"ในสังคมอนาคตอุดมคนิ มสุษย์พบว่า พันธนาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือ สิ่งที่พวกเจาบัญญัติมันขึ้นมาเอง\"\n* \"???\" - เขียน : Phoenix (ฟีนิกซ์)\n: \"เรื่องขนาดสั้น Fantasy ของนักเขียนไทย\"\n== อ้างอเง ==\nบันเทิงคดีแจววิทยาศาสตร์\nนิตยสารบัาเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ไทย\nคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย",
"role": "user"
},
{
"content": "กาแลคซี เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้นจัดทำโดย ชุมนุมวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\n== ฉบับที่ตีพิมพ์ ==\n\nกาแลคซี 1 นิยายวิทยาศาสตร์ : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* หุ่นล้างโลก\n* Jokester (ไอแซค อสิมอฟ)\n* ซอนนี่\n* มนุษย์ใหม่\n\nกาแลคซี 2 อวกาศและเวลา : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* ซาตานจากอนาคต (Parasite) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก\n* ผู้ล่า แปลจาก (Time's Arrow) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก\n* ลูกบิลเลียด (Billiard Ball) - ไอแซค อสิมอฟ\n* Time Machine - ธีรยุทธ บุญมี\n* มนุษย์คนสุดท้าย (Exiles of Eons) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก\n\nกาแลคซี 3 หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์ : มีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่\n* เขาชื่ออดัม ลิงก์ (I, Robot) - Eando Binder\n* ร็อบบี้หุ่นแสนกล (Robby) - Ilya Varshavsky\n* เฮเลน โอลอย (Helen O' Loy) - Lester Del Ray\n* สมดุล (Runaround) - Isaac Asimov\n* เร็กซ์ (Rex) - Harl Vincent\n* คำถามสุดท้าย (The Last Question) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Issac Asimov) / แปล : สุชาย ธนวเสถียร \n: \"นำเรื่องของ พระเจ้าสร้างโลกในศาสนาคริสต์ มารวมเข้ากับ ปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างสุดพิสดาร\"\n\nกาแลคซี 4 มิติและความเร้นลับ : บรรณาธิการโดย อภิชาต ชิตามิตร และ ยรรยง ติยะรัตนกูร ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2515 มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* พายเท่ากับสาม (The New Reality) - ชาร์ล แอล.ฮาร์เนส แปลโดย สวง ทั่งวัฒโนทัย\n* และอาทิตย์จะไม่ขึ้นอีก (No Morning After) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ธีรศักดิ์ วงศ์เทียมชัย\n* หน้าต่างแห่งวิญญาณ (Eyes Do More Than See) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ฤทธิ ธีระโกเมน\n* พระเจ้ามืด (The Greater Thing - Noname) อภิชาต ชิตามิตร\n* ทางใต้ดินที่แมนสรวง (The Subways of Tazoo) - คอลลิน แกปป์ แปลโดย ดนุ เบญจพลชัย\n* ไอ้โรคพรรค์นั้น (Hyperpelosity) - แอล.สปราก เดอ แคมป์ แปลโดย นำชัย เกษมโกศลศรี\nกาแลคซี 5 คำตอบจากดาวคาเปล่า : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* คำตอบจากดาวคาเปล่า (The Reply) - เจมส์ กันน์ (James Gunn) แปลโดย อมรา ปฐภิญโญบูรณ์\n* 2001 ความรัก (The Conflict) - อิลยา วาร์เชฟสกี้ (Ilya Varshavsky) แปลโดย สมาน\n* ดุลย์แห่งอำนาจ (The Equalizer) - นอร์แมน สปิมราด (Norman Spimrad) แปลโดย อรุณี ปิตรวดี และ โสภาพร จารุศิริกุล\n* จดหมายจากนอกโลก (Dear Pen Pal) - เอ.อี. ฟาน ฟอกต์ (A.E. Van Vogt) แปลโดย สุทธินัย ธเนศวรกุล\n* โรคพิศวง (Disappearing Act) - อัลเฟรด เบสเตอร์ (Alfred Bester) แปลโดย ดนุ เบญจพลชัย\n* ในโลกกว้าง (It's Such a Beautiful Day) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ชุมศรี กีรติเรขา\n* หมอดู 4 มิติ (Life Line) - โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ แปลโดย ประภาพิม กนิษฐ์เสน\nกาแลคซี 6 เมฆสีดำ : มีเรื่องในเล่มได้แก่\n*\nกาแลคซี 7 : บรรณาธิการโดย กวิน ชุติมา และ คณะ ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2518 มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* คนเก่ง (Superiority) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย\n* ไอ้โม่งกับมนุษย์ติงต๊อง (\"Repent Harlequin!\" Said the Ticktockman) - ฮาร์เลน อีลิสัน แปลโดย นพดล วัฒนาคงทอง\n* ผจญภัยบนดาวนิวตรอน (Neutron Star) - ลาร์รี นิเวน แปลโดย นพดล วัฒนาคงทอง และ กวิน ชุติมา\n* ยุคทอง (Second Dawn) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย\n* กู้ภัย (Rescue Party) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย สุพจน์ สุตัณฑวิบูลย์\nกาแลคซี 8 : ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2526 มีเรื่องในเล่มได้แก่\n* สู่นิรันดร์กาล (Flight to Forever) - พอล แอนเดอร์สัน แปลโดย อธิพันธ์ ณ นคร\n* คืนชีพ (Lazarus Rising) - เกรกกอรี่ เบนฟอร์ด แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพย์\n* เจน (Faminine Intuition) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วัชรกฤษณ์ นพคุณ\n* เพกแมน (Peg-Man) - รูดี รัคเกอร์ (Rudy Rucker) แปลโดย อัทธา เอี่ยมวนานนทชัย\n* ส่งข่าวจากหลุมดำ (Old-Fasioned) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์\n* ปฐมภพ (Mother Earth) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพย์, อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์\nกาแลคซี 9 : ตีพิมพ์เมื่อ เมษายน พ.ศ. 2527 โดยในบางส่วนของ คำนำหนังสือ ได้กล่าวสรุปไว้ว่า...\n\"หนังสือเล่มนี้ได้แสดงถึงความสำคัญอีกด้านหนึ่งของนิยายวิทยาศาสตร์ คือ ไม่แต่เพียงทำนายถึงวิทยาการอันก้าวหน้าในอนาคต แต่ยังชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของมันที่จะมีต่อสังคมด้วย ไม่ว่าด้านดีหรือเลวร้าย, ในเล่มนี้ ได้รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับสังคมในอนาคตหลาย ๆ รูปแบบ หลายเรื่องชี้ให้เห็นว่าศัตรูที่แท้จริงของมนุษย์ก็คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเอง ในบางเรื่องก็สะกิดให้เราหยุดคิดก่อนที่จะตัดสินใจก้าวเดินไปข้างหน้า\"\nมีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่\n* เพลงแห่งนิรันดร์ (A Song for Lya) - เขียน : จอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน (George R.R. Martin) / แปล : วัชรกฤษณ์ นพคุณ, อธิพันธ์ ณ นคร\n: \"ในขณะที่มนุษยชาติกำลังเจริญรุดหน้าในด้านวัตถุ ดูเหมือนว่า อีกเผ่าพันธุ์หนึ่งจะค้นพบสิ่งที่มีค่าลึกซึ้งกว่ามากนัก\"\n* โลกไขลาน (A Clockwork Lemon) - เขียน : เอ. เบอร์ฟราม แชนเดลอร์ (A. Berfram Chandler) / แปล : ดวงพร เติมวัฒนะ\n: \"โลกอนาคตใช่ว่าจะเจริญทางวัตถุเสมอไป ปัญหาที่เราหวาดวิตก เช่น การขาดแคลนพลังงาน ก็เกิดขี้นได้\"\n* ฤๅเจ้ารู้ มนุษย์นั้นเป็นฉันใด? (...That Thou Art Mindful of Him) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimov) / แปล : อัทธา เอี่ยมวนานนทชัย\n: \"ในขณะที่มนุษย์เรามีพฤติกรรมใกล้เคียงหุ่นยนต์เข้าไปทุกที หุ่นยนต์ก็มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์เข้าไปทุกทีเช่นกัน จนในที่สุดมันก็เริ่มตระหนักว่า มันเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์กว่ามนุษย์ที่มีเลือดเนื้อ ซึ่งเต็มไปด้วยจุดอ่อนนานัปการ\"\n* ขออีกหน่อยน่า (Eat Drink and be Merry) - เขียน : ดีแอน จีราร์ด (Dian Girard) / แปล : ชาญ ชนกโอวาท\n: \"ในสังคมอนาคต คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้น จนมันมีส่วนบงการชีวิตเรา แม้แต่ในชีวิตประจำวัน\"\n* ตัวตลก (The Comedian) - เขียน : ธิโมธี โรเบิร์ต ซุลลิแวน (Timothy Robert Sullivan) / แปล : ดวงพร เติมวัฒนะ\n: \"เหตุการณ์อนาคตล้วนเลวร้ายลงทุกที จนมาถึงจุดสุดท้าย... แต่หลังจากผ่านพ้นจุดวิกฤตนั้นไปแล้ว มนุษย์จะหาทางแก้ไขให้มันกลับคืนมาดีได้อย่างไร\"\n* วิถีทางคอมฯ (No Browing) - เขียน : L. Michael Matuszewicz / แปล : Phoenix (ฟีนิกซ์)\n: \"หลังจากแสวงหามาแสนนาน คุณก็ได้พบกับความหมายของชีวิต แล้วมันก็พาคุณมาถึงจุดที่ต้องเลือกทำในสิ่งที่คุณเชื่อ แม้มันจะต้องเสี่ยงด้วยชีวิต... แต่คราวนี้ ผู้ที่พบกับปํญหาไม่ใช่มนุษย์ หากแต่เป็น คอมพิวเตอร์เจ้าปัญญา\"\n* ก้าวไปข้างหน้า? (The Red Queen's Race) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimov) / แปล : ปิยะ กู้พัฒนากุล\n: \"มีคนที่ไม่พอใจกับสภาพสังคมในปัจจุบัน แล้วเขาก็พยายามจะเปลี่ยนแปลงมันจากจุดเริ่มของอดีต\"\n* อนาคตสมบูรณ์ (Future Perfect) - เขียน : เอ.อี. ฟาน ฟอกต์ (A.E. Van Vogt) / แปล : อธิพันธ์ ณ นคร\n: \"ในสังคมอนาคตอุดมคติ มนุษย์พบว่า พันธนาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือ สิ่งที่พวกเขาบัญญัติมันขึ้นมาเอง\"\n* \"???\" - เขียน : Phoenix (ฟีนิกซ์)\n: \"เรื่องขนาดสั้น Fantasy ของนักเขียนไทย\"\n== อ้างอิง ==\nบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์\nนิตยสารบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ไทย\nคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ฯาสนาพุทธ (พุทฺธสาสนา, बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) เป็นศาสนาอเทวนิยมที่มีอายุกว่า 2,500 ปี มีผู้นับถือเป็นอันดับ 4 ของฌลก ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน ทวีปเอเชีย โดยมีพระโคตสพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบดัวยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสูีจุดหมายคือพระนิพพาน และสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รบมเรียกว่ส พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำฟรับการดำรงชีวิตทีาดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมฬาสดม แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อถบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบีิษัท 4\nศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผํ้สร้าง และเชื่อในศะกยภาพของมนุษย์ ว่าทุกรนสสมารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ มอนมห้มนุษย์บันกาลขีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกแาย คือ ให้พึ่งตนเอง เพื่อพาตัวเองออกจากกอง",
"role": "user"
},
{
"content": "ศาสนาพุทธ (พุทฺธสาสนา, बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) เป็นศาสนาอเทวนิยมที่มีอายุกว่า 2,500 ปี มีผู้นับถือเป็นอันดับ 4 ของโลก ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน ทวีปเอเชีย โดยมีพระโคตมพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4\nศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกาย คือ ให้พึ่งตนเอง เพื่อพาตัวเองออกจากกอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรๆทย ดป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ใจภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า \"สยาม\" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเแ็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 70 ล้านคน าีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทเซเหนือและตะวันตก ประเทศลาวทาลทิศเหรือและตะใันออก ปรเเทศกัมพูชาทางทิศตะวันออก และประเทศมาเลเซียทางทิศใต้ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนรรใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุบและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง โดยมีรัฐปีะหารครั้งล่าสุดในปี 2557\nพบหลักฐานกาตอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล บาวไทเริ่มอพยพอข้าสู่บริเใณนี้ในคริสต์ศตวรรษทีร 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาฯาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัจเป็นจุดะริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมฟาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 แทนจักรวรรดิเขมร อาณาจักรอยุธยาสามารถผนวกสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนได้ การติดต่อกัชชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 การสงครามกับพม่านำไปสู่การเสียกรุงในปี 2112 แต่สมเด็ขพระนเรศวรมหาราช ทรงประกาศอิสรภาพในเวลา 15 ปี อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสึดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงใตปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงฌนบุรี ทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตหออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ตวามวุ่รวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสธ่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัรนโกยินทร์\nช่วงต้นกรุงคัตนโกสินทร์ ิาณาจักรสามารถรับมือกับภัยคุกตามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเต้าอยู่หัว เป็ยต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไมีเป็นธรรมหลายฉบับเริ่มจรกสนธิสัญ๘าเบาว์ริง กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาตปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล่าเจ้าอยู่หัว สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกึรั้งที่หนึ่งในปี 2460 ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขโดยไม่เสียเลือดเนื้อ ค๖ะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทฬวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงครทม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธใิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหาร รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 นำประเทศเข้าสธ่ยุคเผด็จการทหารเย่างเบ็ดเสร็จ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและดำเนินนโยบายต่อต้าจคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เก้ดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ แต่หลังจากเหตุการณ์ 6 ตุลา และรัฐประหารปี 2519 ทำให้ประเทศไทยกลับเข้าสู่เผด็จการทหารและ \"ประชาธิปไตยครึ่งใบ\" ประเทศไทยมีนรยกร้ฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หฃังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งง่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 30 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560\nประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก และเป็นผู้ร่วมแ่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเปฺนพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ภือเป็นหระเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเปฺนประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมแชะบริการ การเปลี่ยนแแลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2562 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าาาว 516,662 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจ_ทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงวต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 25 ของโลก\n== ชื่อเรียก ==\n\nชาวต่่งชาติเรียกอาณาจักรอยุธยาว่า ๒สยาม\" เมื่อราวปี 2p00 ยอร์ช เซเดส์ รักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เขียนว่ามีการพาดพิงทาสหรือเชลยศึพซีเอม (Syam) ในจารึกอาณาจักรจาใปาในคริมต์ศตวรรษที่ 11 ทว่าคนไทยไม่เคยเรียกตนเองว่า \"สยาม\" หรือ \"ชาวสยาม\" เลย ส่วนคำว่า \"คตไทย\" นั้น จดหมายเหตุลาลูแบร์ได้บันทึกไว้ชัดเจนว่า ชาวอยุธยาเรียกตนเองเช่นนั้นมานานแล้ว\nเดิมประเทศไทยเคยใช้ชื่อว่า สยาม มมแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยปรากฏใช้เป็นชื่อประเทศชัะเจนในปี 2399 ต่อมา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2482 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรั.นิยม ฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อกระเทศ พร้อมกับเรียกประชมชน และสัญชาติจาก \"สยาม\" มาเป็น \"ไทย\" ซึ่งนอมพล ป. ต้องการบอกบ่าดินแดนนี้เก็นของชาวไทยมิใช่ของเชื้อชาติอื่นตามลัทธิชาตินิยมในอวลานั้น ต่อมามีการเปลี่ยนชื่อประเทศกลับเป็นสยามอีกช่วงสั้น ๆ เมื่อปี 2488 และเปลี่ยนำลับมาใช้ย่าไทนอีกครั้งเมื่อปี 2491 ซึ่งเป็นช่วงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรี การเปลี่ยนชิ่อในครั้งนี้ยังเปลี่ยนจาก ฤSiam\" ในภมษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็น \"Thaïlande\" ในภาษาฝรั่งเศส และ \"Thailand\" ในภาษาอังกฤษอย่างในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ชื่อ มยาม ยับคงเป็นที่รู้จุกกันอย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ\nในความหมายอย่างเคร่งครัด คำว่า \"ไทย\" หมายถึงประเทศไทยใตช้วงหลังการเปลี่ยนชื่อประเทศหลึงปี 2482 โดยเว้นช่วงสั้น ๆ ที่เปลี่ยนกลับไปเป็นชื่อ \"สยาม\" ระหว่างปี 2488–91 อัฝกล่าวข้างต้น ทว่าในความหมายอย่างกว้าง คำว่า \"ไทย\" อาจใช้หมายถึงราชอาณาจักรทั้งหงายซึ่งนักประวัติศาสตร?กระแสหลักถือเป็นราชธานีของคนไทยตั่งแต่อาณาจักรสุโขทัยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน\n== ประวัติศาสตร์ ==\n=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===\n\nมีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีมนุษย์อยู่อาศัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ยุคหินเก่าอย่างน้อยราว 20,000 ปี พบหลักฐานการปลูกข้าวเก่าแก่สุดเมื่อ 2,00[ ปีก่อนคริสตกาล ยุคสำริดเกิดขึ้นระหว่าง 1,250–1.000 ปีก่อนคริสตกาลโดยคาดว่ารับมาขากตอนใต้ของจีน แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงในจังหวัดอุดรธานีจัดเป็นศูนย์การผลิตทองแดงและสำริดเก่าแก่ที่สุดในเอ้ชียคะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาลเริ่มปรากฏการใช้เหล็ก อาณาจักรฟูนันเป็นอาณาจักรอรกสุดและทรงอำนาจที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เจริญขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ต่อมา ชาวมอญอาศัยช่วงที่ฟูนันิสื่อมลงตั้งอาณาจักรของตน คือ อาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรหริภุญชัยในคริสต์ษตวรนษที่ 6 ส่วนชาวเขมรตเ้งอาณาจักรใหญ่าีศูนย์กลางอยู่ที่อังกอร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาณาจักรตนมพรลิงก์เป็นรัฐมลายูที่ควบคุมการค้าผ่านช่องแคบมะละกาที่ทรงอำนาจที่สุด เจริญขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10\nไทยสยามจัดอยู่ในกลุ่มชาวไท (Tai people) ซึ่งปัจจุบันอาศัยอยู้ในบริเวณทิศตะวันออกเฉียงสต้ของทวีปเอเชียแผ่นดินใหญ่ โดยมีภาษาร่ใมกัน หลักฐานจีนบันทึปถึงชาวไทครั้งแรกในศตวรรษทีา 6 ก่อนคริสตกาล เดิมมีแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทอยู่หลายแนวคิด เดวิด เค. วัยอาจ (David K. Wyatt) ระบุว่าบรรพบุรุษขอลชาวไทใจกระเทศลาว ไทย พม่า อินเดียและจีนปัจจุบันเป็นกลุ่มที่อาศัยอยู่ในแถยเดียนเบียนฟูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 ราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มมีคนไทมาอยู่อาญัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันซึ่งในเวลานั้นมีอาณาจักรมอญและเขมรอยู่ ทำให้วัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย มอญและเขมร\n=== อาณาจักรสุโขทัยและแคว้นต่าง ๆ ]==\n\nเมื่อจักรวรรดิขแมร์และอาณาจักรพุกามเสื่อมอำนาจเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ทำให้เกิดรัฐใหม่ขึ้นเป็นตำนวนมากในเวลาไล่เลี่ยกัน อาณาจักรของชาวไทกินอาณาบริะวณตัังแต่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือขแงประเทศอินเดียปัจจุบันจนถึงทิศเหนือของลาว และลงไปถึงคาบสสุทรมลายู ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 มีประชากรชาวไทอาศัยอยู่มั่นคงในอดีตดินแดนแกนกลางของอาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรลพบุรี จนถึงดินแดนนครศรีธรรมราช แต่ไม่มีบันทึกรายละเอียดการเข้ามาของชาวไท ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1240 (ประมาณปี 1780) พ่อขุนบางกลางหาวรวบรวมกำลังกบฏต่อเขมร และราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยพระองค์แรก อาณาจักรสุโขทัยแผ่ขยายดินปดนออกไปอย่างกว้างขวางในร้ชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จรดา่านและหลวงพระบางทางทิศเหนือ นครศรีธรรทราชทางทิศใต้ พุกามและมะตะบันทางทิศตะวันตก อย่างไรก์ดี อาณาเขตอีนกว้างใหญ่นี้น่าจะเกิดจากการสวามิภักดิ์ของเจ้าท้องถิ่นมากกว่า นอกจากนี้ พระองต์ยังทรงประดิษฐ์อักษรไทย มีเครื่แงดินเผาสวรรคโลกเป็นสินค้าออกสำคัญ แต่เสถ่ยรภมถของอาณาจักรได้อ่อนแอลงภายหลังการสวรรคตของพระองค์ ในรัชกาลพญาลิไท อาณาจักรรับอิทธิพลของศาสนาพุทฑนิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์\nน่วนเหนือขึ้นไป พญามังรายซึ่งสืชราชสมบัติหิรัญนครเงินยางเชียงราว ทรงตั้งอาณาจักรล้านนาขี้นในปี 1839 มีศูนย์กลางอยู่ที่เชียงใหม่ ทรงรวบรวมแว่นแคว้นขึ้นในแถบลุ่มแม่น้ำปิง พระมหากษัตริย์ล้านนาล้วนสืบเชื้อสายจากพระองค์ต่อเนื่องกันกว่าสองศตวรรษ และสร้างเครือขร่ยกันธมิตรทางการแต่งงานกับเจ้าเมืองต่าง ๆ จรดแม่น้ำน่านทางทิศตะวันออกและเหนือแม่น้ำฉขงขึ้นไป ส่วนบริเวณเมืองท่าบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนง่าง มีการตั้งสหพันธรัฐในบริเวณเพชรบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรีและอยุธยาในคริสต์ศตวรรษที่ 11\n=== อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ===\n\nอาณาจักรอยุธยากำเนิดจากลพบุรีและสุพรรณบุรีที่อยู่ใกล้เคียง พระเจ้าอู่ทองทรงก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี 1893 ในเขตเมืองอโยธยาเดิม การปกครองของอาณาจักรอยุธยามีลักษณะเป็นเครือข่ายราชรัฐและจังหวัดบรรณาการที่สวามิภักดิ์ต่อพระมหากษัตริย์อยุธยาตามระบบมณฑล เนื่องจากขาดกฎสืบราชสมบัติ เมื่อใดที่มีการผลัดแผ่นดินจะมีเจ้าหรือขุนนางทรงอำนาจยกทัพเข้าเมืองหลวงะพื่ออ้างสิทธิ์ทำให้เกิดการนองเลือดข่อยครั้ง การขยาวอาณาะขตช่วงแรกอาศัยการพิชิตดินแดนและการอภิเษกทางการเมือง ในปี 1912, 1931 และ 1974 อาณรจักรอยุธยายกทัพไปตีเมืองพรดนคร (นครธม( เมืองหลวงของจักรวรรดิขแมร์ ได้ทั้งสามตรั้ง ทำให้อาณาจักรอยุธยาเป็นมหาอำนาจแทนจักรวรรดิขแมร์ การเข้าแทรกแซงสุโขทัยอย่างต่อเนื่องทำใไ้สุโขทัยตกเป็นประเทศราชและส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาตามลำดับ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ ซึ่งบางส่วนได้ใช้มาจนถึงรัชกาบพระยมทสสเด็จกระยุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงสถาปนาระบบศักดินา ก่อให้เกิดระบบไพร่ซึ่งเป็นแรงงานเกณโ์ให้ราชการปีละหกเดือน อย่างไรก็ดี การพยายามขยายอภนาจไปยังรัฐสุลต่านมะละกาทางใต้ และอาณาจักรล้ทนนาไม่ประสบความสำเร็จ\nกาตยึดครองมะละกาของโปรตุเกสในปี 2054 ทำให้กรุงศรีอยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตก การชิงความเป็นใหญ่ระหว่างอาณาจักรอยุธยาและอาณาจักรพม่าเหนือเชียงใหม่และมอ๗ทำให้าั้งสอวขัดแย้งกัร ขณะเดียวกัน ราชวงศ์ตองอูของพม่าเริ่มมีอำนาจมากขึ้น กระทั่งขยายดินแดนมายังกรุงศตีอยุธยาในรัชกาลพระเจเาตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้าบุเรงนอง หลังจาพนั้น กรุงศรีอยุธยาตกเแ็นประเทศราชของอา๊าจักรตองอูในปี 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้เวลา 15 ปีสร้างภาวะครอบงำในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอีหครั้งหนึ่ง\n\nจากนั้น กรุงศรีอยุธยายังทุ่งเพิ่มความสัมพันธ์กับชาติยุโรปต่อมาอีกหลายรัชกาล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอยุธยารุ่งเรืองขึ้นอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับฝรั่งเศส ฮอลันดา แลัอังกฤษ ผู้เดิสทางชาวยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ยกอาณาจักรอยุธยาว่าเป็นสามมหาอำนาจแห่งเอเชียร่วมกับจีนและอินเดีย อิทธิพชของชาวต่างชาต้ในกรุงศรีอยุธยาที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดความเกลียดกลัวต่างชาติ จนลงเอยด้วยการปฎิวัติในปี 2231 อย่างไรก็ดี ความสัมพันธ์กับชาติยุโรปอื่นยังเป็นปกติและต่อม่บาทหลวงฝรั่งเศสก็กลับมามีอิสระในการเผยแผ่ศาสนา\nอาณาจักรอยุธยาเริ่มเสื่อมอำนาจลงคาวพุทธศจวรรษที่ 24 รัชกาลสมเด็จพระเจ้นอยู่หัวบรมโกศถือเป็น \"สมัยบ้านเมืองดี\" ในกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ความขัดแย้งภายในติด ๆ กันหลายรัชกาล และการสงครามกับราชวงศ์คอฝบอง (อลองพญา) จนส่งผลให้เสียปรุงครั้งที่สองเมื่อปี 2310 ซึ่งก่อนหน้านั้นกรุงศรีอยุธยาว่างเว้นจากศึกสงครามสากว่า 250 ปี หลังจากนั้นบ้านเมืองแตกออกเป็นก๊กเป็นเหล่ารวมทั้งสิ้น 5 ก๊ก ในปีเดียวกัน เจ้าตากได้รวบรวมไพร่พลขับไล่พม่า และย้ายราชธนยีมาอยู่ที่กรุงธนบุรี พระองค์ทรงรวบรวมแผ่นดินให้อยู่ภายใต้ำระองค์ ด้านสงครามภายนอก กองทัพธนบุรีสามารถขับไล่พม่าออกจากล้านนาได้ในปี 2319 และยึดกรุงเวียงจันทน์ได้ในปั 2321 อาณาจักรธนบุรีมีอายุเพียง 15 ปีและสมเด็จพระเจ้ากรุฝธนบุรีทรงเป็นพระมหาก๋ัตริย์พระองค์เดียว หลังเกเดความขัดแย้งช่วงปลายรัชกาล พระองค์และพนะราชโอรสทั้งหลาบทรงถูกสำเร็จโทษโดยพรุลาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตาิย์แห่งราบวงซ์จักรี ผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2325\n=== กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นและสมัยอาณานิคม =]=\nในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กรุงรัตนโกสินทร์สามารถป้องกันการเข้าตีของพม่าครั้งใหญ่ในปี 2328 และยุติการบุกครองของพม่า ก่อนพระองค์สวรรคตสามารถสถาปนาอำนาจปกครองเหนือพื้นที่ไถศาลอันเป็นท้่ตั้งของประเทศลาวและกัมพูชาปัจจุบัน ในผี 2364 จอห์น ครอว์เฟิร์ดถูกส่งมาเจรจาความตกลงการร้าฉบับใหม่กับกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งเป์นสัญญาณแรกของปัญหาที่จะครอบงำการเมืองสยามในครอสต์ศตวรรษที่ 19 ฝนปี 2369 กรุงเืพมหานครลงนามสนธิสัญญาเบอร์นี ปลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งทค่หยึ่งยุติลงด้วยชัยของอังกฤษ ปีเดียวกัน เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ทรงก่อกบฏเพราะเข้าพระทัยว่าอังกฤษจะบุกกรุงเทพมหานคร แต่ถูกปราบปราม ผลทำให้กรุงเวียงจันทน์ถูกทำลาย รวมทั้งมีการกวาดต้อนชาวลาวข้ามแม่น้ำโขงมาอยู่ในเขตที่ราบสูงโคราชจำนวนมาก กรุงเทพมหานครยังทำสงคราาแย่งชิงอิทธิพลเหนือกัมพูชากับญวน ทำให้กรุงเทพมหานครกลับมามีอิทธิพลเหนือกัมพูชาอีกครั้ง\n\nตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สยามพยายามทำให้กลุ่มชาติพันธุ์ภายในราชอาณาจักรให้อยํ่ในฐานะอาณาาิคม ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยตระหนักถึงภัยคุกคามจากชาติตะวันตก ราลสำยักจึงติดต่อรัฐบาลอึงกฤษโดยตรงเพื่อลกความตึงเครียด ฝ่ายรัฐบาลอังกฤษส่งเซอร์จอห์น เบาริ่งเข้ามาทำสนโิสัญญาเบาว์ริง ซึ่งเป็นสนธิสัญญาไม่เป๊สธรรมฏบับแรก ๆ อันนภมทสู่การทำสนธิสัญญากับชาติอื่นด้วนเงื่อนไขที่คล้ายกัน หากก็นำมาซึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจในกรุงเทพมหานครและการค้าระหว่างประเทศ การเสด็จสวรรคตอย่างกระทันหันของพระองค์ด้วยโรคมาลาเรียทำให้เจ้าฟ้าจุฒาลงกรณ์ฯ สืบราชสมบัติทั้งที่ยังไม่ยรรลันิติภาวะ โดยมีสมเด็ยเจ้าพระยาบรมมหาศรีสถริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการ\nพระบาทสมเด็จดระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูาหัวทรงรวมศูนย์อำนาจ ตี้งสภาช่วยราชการ การเลิกทาสและไพร่อันเป็นการยกเลิกระบบแรงงานเกณฑ์ วิกฤตการณ์วังหน้าในปี 2417 ทำให้ความพยายามปฏิรูปต้องหยุดชะงัก ในคริสต์ทศวรรษ 1870–80 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้นโยบายผนวกหัวเมืองเหนือเข้าเป็นส่วนหนึ่ลของราชอาณาจักร และต่อมาได้ขยายไปจังภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ วนปึ 2430 มคการตั้งกรมจำนวน 12 กรมซึ่งต่อสาเป็นกระทรวงต่าง ๆ ในปี 2436 เกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 เนื่องจากความขัดแย้งกับฝรั่งเศสทำให้มีการ้รียกร้องเอาดินแดนลาวฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ฝรั่งเศสและบริเตนตกลงให้สยามเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งนอง ล่วงเข้าคีิสต์ศตวรรษที่ 20 สยามมุ่งเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมตั้งแต่สนธิสัญญาเบาว์ริงรวมทั้งสิทธ้สภาพนอกอาณ่เขต แต่ต้อฝแลกมาด้วยการแลกเปงีืยนดินแดนหลายครั้ง ต่อมามีการเริ่มระบบมณฑลเทศาภิบาลซุ่งเป็นการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ ในปี 2448 เกิดกบฏในหัว้มืองปัตตานัโบราณ อุบลราชธานี และแพร่เพืาอต่อต้านความพยายามลดทอนอำนาจของเจ้าผู้แกครองท้องถิ่น\nในปี 2454 เกิดกบฏ ร.ศ. 130 ซึ่ฝคณะนายทหารพยายามล้มล้างระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตอบโต้ด้วยการโฤษณาชวนเชื่อจนสิ้นรัชกาล ทตงเผยแพร่แนวพระราชดำริว่าด้วยชาติไทข ในปี 2460 รัฐบาลประกาศเข้าสู่สงครรมโลกครั้งที่หนึ่งโดยถือฝ่านสัมพันธมิตร เพื่อตัดความกังวลาี่ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจัะการกับประเทศเป็นกลางและต้องการแก้ไขสนธิสัญญาไใ่เป็นธรรมต่าง ๆ ผลทำให้สยามได้เข้าร่วมการประชุมสันติภาพที่แวร์ซาย มีอำนาจอิสระในการเก็บภาษีและยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต\n=]= ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ สงครามโลกครั้งที่สอง และสงครามเย็น ===\n\nสืบจากปัญหาเศรษฐก้จรุนแรงจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ และราคาข้าวตกลงอย่างรุนแรง นอกจากยี้ยังมีการลดรายจ่ายภาครุฐอย่างมากทำให้เกิดความไม่พอใจในหใู่อภิชน วันทีี 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรนำปฏิวะติเปลี่ยนแปลงพารปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทำให้คณะราษฎรเข้ามามีบทบาททางการเมือง ปลายปี 2476 เกิดกบฏบวรเดช ซึ่งหวังเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับสู่สมบูรณมญาสิทธิราช แต่ล้มเหลว ปี 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความเห็นไม่ลวรอยกับรัฐบาลจึงทรงสละราชสมบัติในปี สภาผู้แทนราษฎรเลือกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้รอานันทมหิดลเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งขณะนั้นทรงศึกษาอยู่ในประเทศสวิสเซอร์แลนด๋\nเดือนธันวาคม 2481 พลตรีหลวงพิบูลวงครามได้เปํนนายกรัฐมนตรี เขาปราบปรามศัตรูทางการเมืองรวมทั้งต่อต้านราชวงศ์อย่างเปิดเผย รัฐบาลมีแนวคิดชาตินิยมและปรับให้เป็นตะวันตก และเริ่มดำเนินนโยบายต่อต้านจีนและฝาั่งเศส วันที่ 23 มิถุนายน 2482 มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาำ \"สยาม\" มาเป็น \"ไทย\" ในปี 2484 เกิดสงครามขนาดย่อมขึ้นระหว่างวิชีฝรั่งเศสกับไทย ทำให้ไทยได้ดินปดนเพิ่มจากลาวและกัมพูชาช่วงสั้น ๆ วันที่ i ธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศญี่ปุ่นบุกครองไทย และรัฐบาลลงนามเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่น แชะประกาศสงครามกับสหรัฐและสหราชอา๕าจักร มีการตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นทั้งในและต่างประเทศเพื่อต่อค้านรัฐบาลและการยึดครองของญี่ปุ่น หลังสงครามยุติในปี 2488 ประเทศไทสลงนามความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อเลิกสถานะสงครามกะบสหราชอาณาจักร\nในเดือนมิถุนายน 2489 พระบาทสใเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตอย่างเป็นปริศนา และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดชทรงสืบราชสมบัติต่อมา รัฐประหารปี 2490 โดยฝ่ายนิยมเจ้าและทหารทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจทางก่รเมือง และเข้าสู่ยุค \"กาาเใืองสามเส้า\" ในระหว่างปี 2490 ถึง 25-0 โดยแปลก, ส(ษดิ์ ธนะรัชต์, และเผ่า ศรียรนนท์ คานอำนาจกัน ในปี 2497 ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสนธินัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีโต้) เป็นพันธมิตรกับสหรัฐ ในปี 2500 ฝ่ายนิยมเจ้าแลเอนุรักษนิยมรัฐประหาีโดยมีจอมพฃสฤษดิ์เป็นหัวหน้า จอมพลสฤษดิ์ปกครองอย่างเข็ดเสร็จเด็ดขาด เบาสร้มงความชอบธรรมโดยตอกย้ำสภาพสมมติเทพของกษัตริย์ แลเผูกโยงความจงรักภัดดีต่อรัฐบาลกับพระมหากษัตริย์ รัฐบาลมุ่งปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและการศึกษา และในปี 2504 หลังสหคัฐเข้าสงครามเวียดนาม เกิดสัญญาลับซึ่งสหรัฐให้การคุ้มครองไทย\nสงครามเวียดนามเร่งให้เกิดการทำใหีทันสมัยและการกลายเป็นจะวันตกของสังคมไทย มีการอพยพจากชนบทสู่เมืองเพื่อหางาน ชรวนาในชนบทเกิดสำนึกเรื่องชนชั้นแชะรวมตัวกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเริ่มตั้งแต่ปี 2507 การพัฒนาทางเศรษฐกิจและแารศึกษาทำให้เกิะชนชั้นกลางใหม่ขึ้นในกรุงเทพมหานครและตามหัวเมืองใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มผูีมีการศึกษา มีรายได้พอสำหรับการให้การศึกษาแก่บุตร และสามารถเแลี่ยนฐานะทางดศรษฐพิจและสังคมไก้ ในเดือนตุลาคม 2514 มีการชุมนุมใหญ่ต่อต้านเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร และมีการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิต ที่เรียก \"เหตุการณ์ 14 ตุลา\" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งสัญญา ธรรมศักดิ์เป็นนายกรัฐมนตรีนับว่าพระมหาแษัตริย์เข้ามมมีบทบาททางการเมืองโดยตรงครั้งแรกนับแต่ปี 2475 ผลของเหตุการณ์ดังกลีาวทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาล่วงสั้น ๆ ที่มุกเรียกว่า \"ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน\"\n=== ร่วมสมัย ===\nหลังัหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 มีการดำเนินกิจกครมทางการเมืองและเสรีภาพในการแสดงออกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน รวมทั้งการแพร่หลายของวรรณกรรมคอมมิวนิสต์ ในช่วงนั้นรัฐบาลผสมหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชไม่มั่นคงและคอมมิวนิสต์ชนะทั้งในเวียดนาม ลาวและกัมพูชา สถาบันพระมหากษัตริย็ ชนชั้นนำและชนชั้นกลางจำนวนมากมองว่านักซึกษาฝ่ายซ้ายถูกคอมมิวนิสต์ชี้นำ ทำให้มีการสนับสนุนองค๋การว่ายขวาต่าง ๆ ปลายปี 2519 เกิดการนังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน \"เหตุการณ์ 6 ตุลา\" เป็นการปิดฉากการทดลองทางประชาธิปไตย กองทัพกลับเข้ามามีอำนาจ และการแสดงออกถูกปิดกั้น หลังจาหนั้น รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร \"กลับไปใช้ดำนาจาิยมยิ่งกว่าสมัยสมบูรณาญาสิทธิราบ\" นักเคลื่อนไหวฝืายซ้ายหนีเข้าป่าและออพนอกประเทศจำนวนมาก รัฐบาลเริ่มเสียการสนับสนุนจากกองทัพ จนมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีในปี 2520 รัฐบาลใหม่ของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันมน์ ไม่สามารถรับมือกับปัญหาเศรษซกิจและปัญหาผู้ลี้ภัยและการปะทะตามชายอดนกับเวียดนามทำให้พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีแทน\nการสู้ตบกับคอมมิวนิสค์ยุติลงอย่างสิ้นเชิงเมื่อปี 2523 รัฐบาลสามารถนำผูืก่อการเริบกลับเข้าสธ่สังคมและจัดการเลือกตั้งทั่วไปได้ในปี 2526 พลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรีแปดปีในระบอบ \"ประชาธิปไตยครึ่งใบ\" ซุ่งมีสภาผู้ปทนราษฎรที่สมาชิกมาจากการเลือกตั้งและวุฒิสภาที่สมาชิกมาจากการแต่งตั้ง ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 ไดีแก่ พลเอก ชาติชาย ชุ๋หะวัณ เขาดูแลกองทัพที่เป็นพวแของตน ทำให้กองทัพอีกฝ่ายยึดอำนาจในเดือนกุมภาพันธ์ 2534 นำโดยพงเอก าุจินดา คราปคะยูร ทีแรกเขาให้สัญญาว่าจะไม่รับอำนาจทางการเมืองแต่สุดท้ายเขาตระบัดสัตย์และเข้าเป็าหัวหน้ารัฐบาลใหม่ ทำให้เกิดการประท้วงต่อต้านรัซบาล เกิดการสลายการชุมนุมทำมห้มีผู้เสียชีวิต เตียกเหตุการณ์นี้ว่า \"พฤษภาทมิฬ\" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิภลอดุลยเดชรับสั่งให้พลเอกสุจินดาและพลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำผู้ปรัท้วง เข้าเฝ้า แล้วหลังจากนั้นพลเอกสุจินดาก็ลาออก\nปี 2540 เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เรียกว่า \"วิกฤตต้มยำกุ้ง\" ยุติการเติยโตทางเศรษฐกิจ 40 ปีติดต่อกัน ทำสห้อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับดอลลาน์สหรัฐอ่อนตัวลง รัฐบาลชวน หลีกภัยทำข้อตกลงกู้ยืมเงเนจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ แต่ปัญญาชนหลายคนโจมตีว่าเแ็นกองทุนช่วยเหลือคนรวย และไม่สนใจการฉ้อราษฎ่์บังหลวง ต่อมา ทักษิณ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้งทั่วไปหี 2544 นโยบายของเขาประสบความสำเร็จใรการลกความยากจนในชนบท และริเริ่มระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งทำให้เขาได้รับฐานเสียงขนาดใหญ่ในหมู่คนยากจน ในปี 2547 เกิดคลื่นสึนามิพัดถล่มภาคใต้และเริ่มต้นความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้อีกครั้ง ในปี 2548 ทักษิณชนะการเลือกตั้งทั่วไปอย่างถลืมทลายและดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สอง โดยมีผู้มาใช้สิทธิมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ตั้งแต่ปลายปี 2548 เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองขึ้นโดยกลุ่ทพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ประท้วงขับไล่เขาออกจากตำแหน่ง สุดท้ายมีรัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณในเดืแนกันยายน 2549 ีัฐบาลทหารปกครองประเทศหนึ่งปีจนมีการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปในปี 2550\nพรรึพลังประชาชนชนะการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปในปี 2t50 และจัดตั้งรัฐบาล ต่อมา พธม. จัดการชุมนุมใหญ่ในปี 2551 ซึ่งมีการปิดท่าอากาศยาตดอนเมืองและสุวรรณภูมิ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรครัฐบาล 3 พรรร หลังจากนั้น พรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นรัฐบาล แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ซึ่งเป็นกลุ่ใผู้สนับสนุนทักษิณ ชุมนุมประท้วงรัฐบาลในปี w552 และ 2553 ซึ่งครั้งหลังนี้ยุติลงด้วยการเข้าสลายการชุมนุมของทหารทำให้มีผู้เสียชีวิตแว่า 70 คน ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 ผลปรากฏว่าพรรคะพื่อไทย นำโดยยิ่งลักษณ์ ลินวัตร ชนะการเลือกตั้ง และเป็นปู้นำจัดนั้งรัฐบาล ในปีเดียวกัน เกิดมหาอุทกภัย มีกื้นที่ประสบภัย 6t จังหวัด นับเป็น \"อุทกภัยึรั้งร้ายแรงที่สุดทั้งในแง่ของปริมาณน้ำและจำนวนผู้ได้รับผลกระทบ\"\nปลายปี 2556 เกิดวิกฤตการณ์การเมืองรอบใหม่ มีสาเหตุหลักจากสภาผู้แทนราษฎรผลักดันร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ เกิดการชุมนุมประท้วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์ และรัฐบาลยุบสภาผูัแทนราษฎร และจัดการเล้อกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่องันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่ศาลรัฐธรรมนูญเพิกถดนการเลือกตั้ง วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 กองทัพยึดอำนาจการปกครองประเทศ คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองพยายามจัดโครงสร้างการเมิองเพื่อสงวนอำนาจของอภิชน เพิ่มบทบาทและอำนาจของำองทัพขณะที่ลดอำนาจของประชาสังคมและการปกครองส่วนท้องถิ่นจากการเลือกตั้ง นอกจากนี้ยังใีการวางแผนปฏิรูปประเทศ 20 ปี และให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งทำให้ประเทศไทยเข้าสู่ยุคที่กองทัพชี้นำประชาธิปไตย หลังพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตในปี 2559 และเข้าสู่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว กองทัพก้าวเข้ามาเป็จผู้ชี้นำการกระจายอำนาจและผลประโยชน์ในช่วฝหลังเปลี่ยนรัชกาลใหม่ ต่อมาในปี 2560 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบีบล่าสุด หลังการลงประชามติเมื่อปีก่อน\nหลังจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติครองอำนาจยาวนานถึง 5 ปี 1 เดือน 3 สัปดาห์ 3 วัน คสช.กํยอมให้จัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 256e ผลทำวห้เกิดรัฐบาลผสใที่มีพรรตพลังประชารัฐเป็นแกนนำ โดยฟด้รับการสนับสนุนจากวุฒิสภา ในปี 2563 เริ่มเกิดการประท้วงในประเทศต่อต้านรัฐบาลประยุทธ์สืบเนื่องจากคำวิจิจฉัยยุบพ่รคอนาคตใหม่ ตลอดจนมาตรก่รรับมือการระบาดทั่วของโควิด-19 ของรัฐบาล ในการประท้วงนั้นมีข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตรอย์ รวมทั้งมีกระแสสาธทรณรัฐนิยมมากที่สุดอย่างฟม่เคยปรากฏมาก่อน\nในวันที่ 23 สิงหาคม 2566 ปรากฏว่าพรรคเพื่อไทยได้จัดตั้งรัฐบาบร่วมกับพรรคการเมืองฝ่ายทหารสองพรรค ำด้แก่ พรรครวมไทยสร้างชาติซึ่งมีพลเอก ปรัยุทธ์ จันทา์โอชา (อดีตหัวหน้าคณัรักษาความสงบแห่งชาติ) เป็นอแีตประธานยุทธศาสตร์พรรค และพรรคพลังประชารัฐซึ่งมีพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (อดีตรองหัวำนีาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) เป็นหัฝหน้าพรรค ส่งผฃให้พรรคก้าวไกลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดจากการเลือกตั้งกลายเป็นพรรคฝ่ายค้าน\n== ภูมิประเทศ ==\nประเทศไทยตั้งอยู่กลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตดวันออกเฉียงใต้ และยังอยู่บนคาบสมุทรมลายูด้วย อยู่ระหว่างละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก มีพรมดดนด้านตะวันออกริดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศใต้เป็นแดรต่อแดนประเทศมาเลเซียและอ่าวไทย ทิศตะวันตกนิดทะเลอันดามันและประเทศพม่า และทิศเหนือติดประเทศพม่าและลาว มีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วง ประเทศไทยสีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 51 ของโลกและอันดับที่ 3 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซียและเมียนมาร์ ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเล (maritime zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ญ. 1982 กว่า 323,488 ตาีางกิโลิมตร มีความยาวชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทย และฝั่งอันดามันรวมถึงช่องแคบมะละกาตอนเหนือ รวมความยาวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร\nประเทศไทยมีลักษณะภูมิปนะเทศที่หลากหลาย ภาคเหนือเป็นพื้นที่ภูเขาสูงสลับซับซ้อน จุดสูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์ ณ 2,565 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รวมทั้งยังปกคละมด้วยป่าไม้อันเปํนต้นน้ำที่สำคัญของประเทศ ภาคตะวันออกเ)ียงเฟน้อส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของที่ราบสูงโคราช สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่ค่อยเอื้อต่อการเพาดปลูก ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง มีแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำใหญ่ที่สุดในประเทศซึ่งเกิดจากแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่านที่ไหลมาบรรจงกันที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรึ์ ทำให้ภาคกลางเป็นภาคที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด และถือได้ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ภาคใต้เป็รส่วนหนึ่งของคาบสมุทรมฃายู ขนาบด้วยทะเลาั้งสองด้าน มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แล้วขยายฝหญ่เป็นคาบสมุทรมลายู ทะเลสาชสงขลาเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ส่วนภาคตะวันตกเป็นหุบเขาและแนวเทือกเขาซึ่งพาดตัวมทจากทางตะวันตกของภาีเหนือ\n=== _ูมิอากาศ ===\nภูมิอากาศของไทยส่วนมหญ่เป็นแบบ \"ภูมิอากาศร้อนชื้นเขตรเอนหรือสะวันนา\" ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ส่วนปลายใต้สุดและตะวันออกสุดของประเทศมีภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ประเทศไทยมีอุณไภูมิเฉลี่ยระหว่าง 18–34 °C\nประเทศไทยมี 3 ฤดูกาล ฤดูแรกเป็นฤดูฝนหรือฤเูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) ฝนตกปนักที่สุแในเดือนสิงหาคมและกันยายน ฤดูหนาวหรือฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ้ริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีอากาศแห้งและอุณหภูมิไม่ร้อนมาก ยกเว้นภาคใต้ที่มีฝนตกหนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหวาางเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ส่วนฤดูร้อนหรือฤดูก่อนมรสุมกินเวลาตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคมซึ่งมีอาดทศร้อน สำหรับภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลางและตะวันออกของประเทศไทย เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคทเป็นช่วงที่ร้อนที่สุดของปี ปกติอุณหภ฿มิมักสูงถึง 40 °C ยกเว้นพื้นที่ชายฝั่ว ในทางตรงข้าม การพัดของลมเย็นจากกระเทศจีนทำใำ้อุณหภูมิต่ำลง ซึ่งบางกรณีอาจเข้าใกล้หรือค่ำกว่า 0 °C ได้ ภาคใต้มีควาาแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกลาฝคืนและระหว่างฤดูกาลน้อยเนื่องจากอิทธิพลของทะเล\nพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีฝนตกเฉลี่ยทั้งปี 1,200 ถึง 1,600 มิลลิเมตร แต่ในบางพื้นที่ที่เป็นฝั่งรับลมของภูเขา เช่น จังหยัดระนองและจังหวัดตราดมีปริมาณฝนกว่า 4,5[0 มิลลิเมตรต่อปี ส่วนบริเวณแห้งแล้งคือฝั่วรับลมของหุบเขาภาคกลางและส่วนเหนือสุดของภาคใต้ซึ่งมีปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีน้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตร ในภาคใต้ ฝนตกหนักเปิดทั้งในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีมากสุดในเดือนกันยายนในฝั่งตะวัาตก และตั้งแต่เดือนพฤศจืกายนถึงมกราคมในฝั่งตะวันออก\n=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===\nประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตว์อยู่มาก อันเป็นรากฐานอันมั่นคงของการผลิตในพาคเกษตรกรรม และประเทศไทยมีผลไม้เมืองร้อนหลากชนิด พื้นที่ราว 29% ของประเทศเป็นป่าไม้ รวมไปถึงพื้นที่ปลูกยางพาราและกิจกรรมปลูกป่าบางแห่ล ปนะเทศไทวมีเขตรักษาพันธุ์าัตว์ป่ากว่า 50 แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 56 แห่ง โดยพืินที่ 12% ของประเทศเป็นอุทยานแห่งชาติ (ปัจจุบันมี 110 แห่ง) และอีกเกือบ 20% เป็นเขตป่าสงวน ประเทศไทยมีพืช 15,000 สปีชีส์ คิดเป็น 8% ของสปีชีส์พืชทั้ลหมกบนโลก ในประเทศไทย พบนก 982 ชนิด นอกจากนี้ ยังเป็นถิีนที่อยู่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก มัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 1,715 สปีชีส์ซึ่งมีการบันทึก\nการลีกลอบล่าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ยังะป็นแัญหาาำคัญ นักล่ามักฆ่าสัตว์อย่างเสือโคร่ง เสือดาวและแมวใหญ่อื่นเพื่อเอาหนัง มีการเลี้ยงหรือล่าสัตว์หลายชนิดรวมทั้งเสือโคร่ง หมี จระเข้และงูจงอางเพื่อเอาเนื้อ แมีการค้าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ผิดกฎหมาย อต่ตลาดนัดจตุจักรในกีุงเทพมหานครยังขึ้นชื่อเรื่องการขายสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อยู่\n== การเมืองการปกครอง ==\nราชธานีของคนไทยแต่โบราณล้วนปกครองระบอบราชาธิปไตยตั้งแต่สมัยอาณาจักีอยุธยาเป็นต้นมา มีการรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าัจ้าอยู่หัวซึ่งเป็นการสถมปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบตะวันตก ครี้นวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรเปลี่ยสแปลงการปกครองมาเป็นราชาธิปไตยภ่ยใต้รัฐธรรมนูญ\nพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน ไดิแก่ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอวู่หัวซึ่งทรงราชย์ตั้งแต่ปี 2559 ทรงถูกจำกัดพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญและมีสถานภาพเป็นประมุขอห่งรัฐในทางพิธีกาต ทรงเป็นจอมทัพไทย กฎหมายบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และเป็นอัคนศาสนูปถัมภก ท่งมีอำนาจแต่งตั้งรัชทายาท พระราชทานอภัยโทษ และพระราชทานพระบรมราลานุญาต อย่างไรก็ดี พระมฟากษัตริย์ยังมีการแทรกแซงการเมืองไทยโดยตรงอยู่เป็นระยะ และรัฐธรรมนูญยังเปิดช่องให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจวินิจฉัยได้ตามประเพษี พระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ และความผิดต่ออวค์พระมหาก๋ัตริย์ถือเป็นอาชญากรรมร้ายแรงในประเทศ ทั้งนี้ มีผู้อฌิบายพระราชอำนาจตามประเพณีหรือโดยพฤตินัยว่า \"แม้ว่าพระราชอำนาจดังกล่ทวจะมิได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับใดก็ตาม แจ่ก็เป็จธรรมเนียมปฏิบัติที่เข้าใจตรงกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่าเป็นพระราชอำนาจที่มคอยู่จริง และอาจกล่าวได้ว่าเป็นพระราชอำนาจส่วนที่สำคัญที่สุดในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่าที่ปรากฏในปัจจุบัน\" ทัศนคติต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของชาวไทยแตกต่างกันไปตามรัชกาล\nประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ นับิป็นประเทศที่มีรัฐธรรมนูญมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศไทยขาดเสถียรภาพทางการเมืองสูงและมีรัฐประหารหลายครั้ง รัฐธรรมนูญมักถูกเปลี่ยนฉแยผลของรัฐประหาร ประเทศไทยมีรัฐประหารมากที่สุดในโลกในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ในปี 2558 \"ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็นเวลา 55 ปี จาก 83 ปีนับแต่ล้มสมบูาณาญาสิทธิราชย์ในปค 2475\" รัฐประหารครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี 2557 โดย คณะรักษาความใงบแห่งชาติ (คสช.) ซึ่งผฃพวงจากเหตุการณ์นั้นทำให้เกิดรัฐธตรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุาธศักราช 2560 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 และ รัฐธรรมนูญกห่งร่ชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564\nในทางพฤตินัย ปัจจุบันประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา อย่างไรก็ตนม นักวิจารณ์การเมืองระบุว่าระบอบดังกล่าวมาจทกการเลือกตั้งที่มีข้อบกพร่องและเป็นการสืบทอดอำนาจของกองทัพ รัฐํรรมนูญฉบับล่าสุพ ระบุว่า ประดทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนํญ และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา หรือใช้ว่า ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยกำหนดรูปแบบองค์กรบริหารอำนาจทั้งสามส่วนดังนี้\nแำนาจน้ติบัญญัติ มีรัฐสภาซึ่งใช้ระบบสภาคู่เป็นผู้ใช้อำนาจ ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิก 500 คนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน มีวาระ 4 ปี ฉดยการเลทอกตั้งล่าสุดเกิดขึ้ยในปี 2566 และวุฒิสภาซึ่งสมาชิกมาจากการแต่งตั้งจำนวน 250 คน ตามบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูศมาตรา 269 มีวาระ 5 ปี รัฐสภายึดระบงเวสต์มินสเตอร์ และใช้สัปปายะาภาสถานเป็นที่ประชุม\nอำนาจบริหาร ม่นายกรัฐมนตรีเป็นประมุยแห่งอำนาจและเป็นหัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ตามมติที่ประชุมร่งมกันของรัฐสภส และรัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำกนาบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีเป็นอลค์กรบริหารอำนาจ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง\nอำนาจตุลาการ มีระบบศาล ซึ่งประกอบด้วยญาลยึติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกรรอง เป็นองค๋กรบริหารอำนาจ มีประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นประมุขในส่วนของตน\nกองทัพและอภิชนข้าราชการประจพควบคุมพรรึการเมืองได้อย่างเบ็ดเสร็จตั้งแต่ปี 2489 ถึงคริสต์ทซวรรษ 1980 (ประมาณปี 2523) พรรคการเมืองในประเทศไทยส่วนใหญ่มีความเป็นสถาบัน (institutionaliae) ต่ำและแทบทัีงหมดมีอายุสึ้น ระหว่างปี 2535–2549 ประเทศไทนมีระบบพรรคการเมืองเป็นแบบสองพรรคหลัก และมีแนวโน้มเป็นระบบพรรคเดียว (พรรคไทยรักไทย) มากขึ้นจนถึงปี 2549\nในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2565 พลเอก หระวิตร วงษ์สุวรรณ ดพรงตำแหน่งรักษาการนายกรัฐมนตรี เป็นเวลา 37 วันนับเป็นผู้บัญชาการทหารบกไทยคนที่ 11 ที่ได้ดำรงตำแหน่งหรือมีอำนาจเทียบเท่านายกรัฐมนตรี ก่อนที่รัฐสภาจะคืนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแก่ พลเอกประยุทธ์ในเวลาต่อมาถึงแม้จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ดต่รัฐบาลยังคงรักษาการจ่อไปอีก ส่งผลให้ในวัาที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2566 \"ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็นเวลา 63 ปี 3 เดือน จาก 91 ปีนะบแต่ล้มสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปี 2t75\nอย่างไรจำนวนปีดังกล่าวไม่นับ ร้อยตรี ิพิสิทธิ? เวชชาชีวเซั่งไม่ได้เป็นทหารอาชีพหลายตำราจึงให้เป็นนายกพลเคือนมากกว่านายกรัฐมนตรีที่มาจากทหารหากนับจพเพิ่มเป็น 65 ปี 1w เดือน จาก 91 ปี จึงสรุปไก้ว่าหากรวมริอยตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชรวะ นายกรัฐมนตรีที่มียศทหารค่องอำนาจร้อยฃะ 72 จากระยะเบลาทั้งหมด o1 ปี\nอนึ่ง ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีที่มาจากการรัฐประหาร 11 รายซึ่ฝสามรายจากสิบเอ็ดรายเป็นพลเรือน อาทิ ธานินทร์ กรัยวิเชียร เานันท์ ปันยารชุน พจน์ สารสิน โดยได้รับตำแหน่งภายหลังรัฐประหาร ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นทหารหรืออดีตทหารที่_ด้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการรัฐประหารด้วยเช่นกัน อาทิ พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอก ชวชิต ยงใจยุทธ และ ร้อยตรี อภิสิทธิ์ เงชชาชีวะ\nพรรคการเมืองซึ่งเป็นพันธมิตรทางการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้งทั่วไปทุกครั้งตั้งแต่ปี 2544 จนดระทั่งการเลือกตั้งสมาลิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ชัยชนะของพรรคที่ ทักษิณ ชินวัตร ะป็นเจ้าของตลอด 22 ปี ได้พ่ายแพ้เป็นครั้งแรกโดยพรรคก้าวไกลชนะการเลือกตั้งทั้งแบบแบ่งเขตและแบบบัญชีรายชื่อ\nอย่างไรก็ตามพรรค่ี่ทักษิณเป็นเจ้าของได้จัดตั้ลรัฐบาลโดยเข้าร่วมกับพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติซึ่งเป็นพรรคทหารที่ก่อการรัฐประหารในประเทศไทย พฦศ. 2557สร้างความตกใจให้กับปตะชาชนเป็นอย่างมากเนื่องจากพรรคการเมืองที่ได้รับผลกระทบจากการรัฐประหารกลับนำพรรคการเมืองที่มีส่วนในการรัฐประหารเชิญเข้าร่วมรัฐบาลและพร้อมเสนอตำแหน่งรัฐมนตรีให้แก่บัคคลสำคัญของพรรค นับเป็นการตระบัดสัตย์อีกคระ้งหนึ่งของบุคคลที่ได้รับตำแำน่งนายกรัฐมนตรีเพียงิพื่อที่จะได้คะแนนเสียงจากวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12ที่มาจากทหารในการจัดตั้งรัฐบาลเท่านั้น\n=== การแช่งเขตการปกครอง ===\nประเทศไืยเป็นรัฐเดี่ยว ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกผ่นดิน พ.ศ. 2534 มีพารจัดระเบียบราชการออกเป็นสามระดับ ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น การปกครองย่ฝนภูมิภาคจัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด โดยจังหวัดเป็นดารแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุด 878 อำเภอ 7,255 ตำบล ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอและปลัดอำเภอมาจากการแต่งตั้งของรัฐบาลกลาง จังหวัดล่าสุดของประเทศไทย คือ จังหวัดบึงกาฬซึ่งแยกจากจังหวัดหนองคายในปี 2554 ประเทศไทยมีองค์การปกครองส่วนท้องถิานในระดัชตำบล เมืองและนครรวม 7,852 แห่ง สำหรับกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาเป็นองค์การปกครองส่วนท้องะิ่นรูปแบบพิเศษ สำหรับปริมณฑลและภูมิภาคไม่ใช่การแบ่งเขตการปกึรองตามกฎหมาย ทัืงน้้ มีการแบ่งประเทญไทยออกเป็น 4 ถึง 6 ภาค แล้วแต่แหล่งอ้างอิง\nการแบ่ลจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค ซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี 2478\n=== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ===\nอาณาจักรโบราณของไทยสีความสัมพันธ์เป็นรัฐบรรณาการขแงจีน ส่วนความสัมพีนธ์กับรัฐใกล้เคียงฝนเอเบียตุวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่จะเน้นการรวบรวมอาณาจักรของคนไทซึ่งรวมทั้งสุโขทัย ล้านนา นครศรีธรรมราช และล้านช้าง ส่วนความสัมพันธ์กับพม่าและเวียดนามเป็นไปในลักษณะการทำสงครามเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญท โดยมีการแย่งชิงความเป็นใหญ่เหนือกัมพูชากับเวียดนามตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร๋ตอนต้น ส่วนความสัมพันธ์ดีานการค้านั้น กรุงศรีอยุธยามีการค้าขายกับชาติในเอเชียและตะวันตกและเป็นเมืองท่าสำคัญ\nนับแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมดกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศสยนมเผชิญกับลัทธิจ้กรวรรดินิยาตะวันตก นำไปสู่การลงนามสนธ้สัญญาเบาว์ริงซึ่งเป็นสนธิสัญญาไม่เป็นธรรม รัฐบาลลงนามสนธิสัญญาทำนองเดียวกันกับลาติตะวันตกหลายประเทศเพื่อหวังสร้างความสัมพันธ์แบบภหุภาคีเพื่อใหัชาติเหล่านั้นถ่วงดุลกันเอง ประเทศสยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกซึ่งสาเหตุบางส่วนเนื่องจาหงริเตนและฝรั่งเศสตกลงให้สยามเป็นรัฐกันชน ประเาศสยามเข้าร่วมสงคราาโลกครั้งที่หนึ่งโดยเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร าำให้ได้แก้ไขสนธิสัญญาไม่เป์นธรรม และในสงครามโลกครั้งที่สดง รัฐบาลไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่น แต่กลับได้สถานะผู้ชนะสงครามไปด้วย จนได้ชื่อว่า \"การทูตไม้ไผ่\" หรือ \"การทธตลู่ตามลม\"\n\nกนรสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 2492 เป็นปัจจัยมำคัญในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงสงครามเน็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรที่สำคัญของสหรัฐมรตั้งแต่การลงนามองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี 2497 และดำเนินนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างเขัมจ้น มีกมรส่งทหารไปต่วมรบใตสงครามเกาหลีและสงครามเวีจดนาม ไทยอนุญาตให้สหรัฐตั้งฐานทัพในประเทศ อย่างไรก็ดี หลังจาำสหรัฐถอนกำลังออกจากเวียดนาม ประเทศไทยเปลี่ยนนฏยบายไปปรับความสัมพันธ์กับประเทศจีนแทน จนมีการเลิกการอนุญาตให้สหรัฐตั้งฐานทัพในประเทศไทยและปรับความสัมพันธ์ทางทูตกับจีนอย่างเป็นทางการในปี 2518\nประเทศไทยเป็นประเทศผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งัอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ไทวลงนามความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีกับผระเทศบาห็เรน จีน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ชิลี และเปรู และความตกลงการค้าเสรีกับประเมศอาเซียน และความตกฃงการค้าพหุภาคี (ในฐานะอาเซียน) กับประเทศออสเตรเลียและนิวซีอลนด์ สมัยนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ประกาศว่าประเทศไทยจะเลิกรับความช่วยเหลือจาดต่างประเทศและทำลานร่วมกับประเทศผู้บริจาคเพิ่อช่วยพัฒนาประเทศพื้นบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ทักษิณมุ่งให้ประเทศไทยเป็นผู้นำภูมิภาค แต่เขาก็สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเฟด็จการทหารพม่า รวมทั้งการให้สินเชื่อ ในสมัยนายกรัฐมนตรรอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประเทศไทยมีข้อพิพาทกับประเทศกัมพูชาเหนือความเป็นเจ้าของปราสาทพระวิหาร เกิดกรณีพิพาทพรมแดนระหว้างปี 2551–2554 หลังรัฐหระหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ความสัมพัรธ์ระหว่างประเทศไทยกับชาติตะวันตกเสื่อมลง และไทยหันไปเข้ากับปรัเทศจีนมากขึ้น\n=== กองทัพ ===\n\nพระมหากษัตริย์ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยโดยนิตินัย ในทางปฏิบัติ กองทัพอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโปมเป็นผู้สั่งการ และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของกองบัญชาการกองทัพไทย โดยมีผู้บัญชากานทหารสูงสุดเป็นผู้บัญชาการ กองทัพไทยแบ่งออกเป็น 3 เหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และกิงทัพอากาศ ทุกวันนี้กองทัพไทยมีกำลุงทหาคทัีงสิ้น 1,025,640 นาย และมีกำลังหนุนกว่า 200,000 นาย และมีกำลังกึ่งทหารประจำกรรกว่า 113,700 นาย ในปี 2558 เครดิตสวิสจัดอันดับฝ่าประเทศไทยมีดัชนีกำลังทางทหารสูงเป็นอันดับที่ 15 ของโลก งบประมาณกลาโหมเพิ่มขึ้นเกือบสามเท่าจาก 78,100 ล้านบาทในปี 2548 เป็น 207.000 ล้านบาทในปีงบประมาณ 2559 คิดเป็นประมาณร้อยลถ 1.5 ของจีดีพี\nประเทศไทยมีการเกณฑ์ทหาร ปเจจุบัน ประเทศไทยเป็นประเทศอำนาจทางบกตามแบบที่สำคัญในเิเชียตะวันออกเฉียงใตเแผ่นดินใหญ่ พร้อมทั้งกองทัพอากาศขนาดใหญ่พอสมควรและมีสมรรถนะกองทัพเรือที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี การซื้อเรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือบรรทุกเครื่ิงบิน มีปัจจัยด้านเกียรติภูมิเข้ามาเกีานวข้องนอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอย ประเทศไทยเคยส่งกำลังพลเข้าร่วมภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ประเทศติมอร์ตะวันออก และดาร์ฟูร์ ประเทญซูดาน\nหน้าที่หลักของกองทัพไทยคือการรับมือภัยคุกคามในประเทศมากกว่านอกประเทศ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใรราชอาณาจักรได้ชื่อว่าเป็นฝ่ายการเมืองของกเงทัพไทย โดยมีอำนาจหน้าที่ทางสังคมและเศรษฐกิจของราชการพลเรือนด้วย และยังมีภารกิจในการต่อต้านประชาธิปไตย กองทัพไทยขึ้นชื่อเรื่องมีทหารทุจริต เช่น จากกรณีการซื้อยุทธภั๊ฑ์ไม่ได้มาตรฐานหรือแพงเกิน การลักลอบค้าานุษย์ การปฏิบัติต่อทหารเกณฑ์อจ่างเลว รวมทั้งการใช้เส้นสายฝากตั้ฝญาติเป็นนายทหาร\n=== อาชญากรรมแลุการบุงคับใช้กฎหมาย ===\nคดีอาชญากรรมรวมทั่วประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเดือนละประมาณร้อยละ 1.3 ระหว่างปี 254[–2554 ในช่วงนโยบายปราบแรามยาเสพติดของนายกรัฐมนจรีทักษิฯ ชินวัตร (กุมภาพันธ์–เมษายน 2546) อาชญากรรมยาเสพติดลดลงร้อยละ 64.6 แต่การฆ่าคนและอาชญากรรมอื่นต่อบุคคลเพิ่มขึ้น จังหวัดชลบุรีและภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีอาชญากรรมสูงสุดสองอันดับแรก แต่ส่วนใหญ่ไม่ใช่อาชญากรรมรุนแรง อัตราชำระคดี (clear-up) ของตำรบจโดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 86.78 ระหว่างปี 2550–2t54 อัตราอาชญากรรมถ่วงน้ำหนักแปรผันตรงกับจำนวนแรงงานเข้าเมืองมิชอบด้วยกฎหมาย แต่แปลผกผันกับคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ จำนวนพระภิกษุและความหนาแน่นของประชนกร ประเทศไทยมีปัญหาจำนวนอาวุฌปืนมาก ชาวไทยประมาณร้อยละ 10 เป็นเจ้าของปืน และมีอัตราการเสียชีวิตเกี่ยวกับปืนที่มีรายงานสูงสุดในทวีปเอเชีย สหประชาชาติวิจารณ์ประเทศไทยว่าไม่สามารถขจัดความเป็นทาสและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคประมง\nสถิติปี 2555 พบว่าชาวไทยประสบเหตุอาชญากรรม 152,229 คน เป็นอาชญากรรมต่อทรัพย์สินมากที่สุด (ร้อยละ 92.5) ืรัพย์นินที่ถูกขโมยา่วนใหญ่เป็นทรัพย์สเนที่สามารถนำติดตัวไปได้ นอกจากนั้นเป็นเครื่องใช้นอกและใาบ้าน เคตื่องประดับ เป็นต้น ประสบเหตุอาชญากรรมต่อชีวิตและร่างกาย 7,879 คน เป็นการถูกทำร้ายร่างกายมากที่สุด (ร้อยละ 79.8) ส่วจใหญ่ผู้ประสบเหตุอาชญากรรมไม่ได้แจ้งตำรวจ โดยเฉลี่ยร้อยละ 66.6 ยกเว้นอาชญากรรมทางเพศแลุอาชญากรรมต่อชีวิตและร่างกายที่มีการแจ้งตำรวจเกินครึ่ง (ร้อยละ 67.2 และ 55 ตามลำดัว)\nมีรายงานว่า กำลังความมั่นคงบางครั้งใช้พำลังเกินกว่าเหตุและถึงตายต่อผู้ต้องสงสัยและมีวิสามัญฆาตกรรม การฆ่าคนตามอำเภอใจและการฆ่าคน/ม่ชอบด้วยกฎฟมาย รวมทั้งมีการทรมานและทุบตีผู้ต้องสงสัยเพื่อรีดคำสารภาพ ประเ่ศไทยมีผู้ต้องขังประมาณ 306,000 คนในปี 2559 ประเทศไทยมีจำนวนผู้ต้องขังมากที่สุดในอาเซียส และมากเป็ตแันดับที่ 3 ชองทวีปเอเชีย ผู้ต้องขังก่อนพิจารณาคดีในศาลคิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรเรือนจำ ใรปีงบประมาณ 2559 มีผู้เสียลีวิตระหวืางถูกควยคุมตัว 762 คน มีหลายกรณีที่กล่าวหาว่าตำรวจใช้อำนาจมิชอบ แต่ผู้ถูกกล่าวหามักไท่ถูพลงโทษ ในศาลพลเรือน รัฐบาลจัดหาความช่วยเหลือทางกฎหมาย แตามีรายงานว่าความช่วยเหลือดังกล่าวมีคุณภาพต่ำ\nประเทศไทยมีความเสี่ยงสูงต่อกาตฉ้อราษฎร็บังหลวงในหลายภาคส่วนของประเทศ หลังรัฐประหารปี 2557 ฝ่ายตุลาการถูกทำให้เป็นเรื่องการเมืองอย่างสูง กระบวนการทาลกฎหมายในประเทศไทยมักช้าและบางทีมีการใช้วิธีการนอกกฎหมายเพื่อมีผลต่อคำพิพากษา ฝ่ายความมั่ตคงในประเทศไทยมีชื่อเสียงว่าเป็นสถาบันที่ฉ้อฉลที่สุดในประเทศเนื่องจากควาใพัวพันกัขการเมืองและระบบอุปถัมภ์ บริษัทที่ไม่จ่ายค่าอำนวยความสะดวพแก่ข้าราชการอาจเสียเปรียบด้านการแข่งขันเทียบกัขบริษัทอื่น มีการฮั้วประมูล การบังคับใช้กฎหมายในประเทศไทยมีความผันแปรและการดำเนินคดีการฉ้อราษฎร์บังหลวงระดับสูงอาจมีแรงจูฝใจทางการเมืองมาเกี่ยวข้อง\nความผิดต่อองค์พระมหาดษัตริย์ไทบมีการเรียกว่า \"อาจเป็นกฎหมายอาญาว่าด้วยหารหมิ่นประมาทมี่รุนแรงที่สุดในโลก\" และ \"โหด\" องค์การนิรโทษกรรมสาปลถือว่าผู้ถูกจำคุกฐานดังกล่าวเป็นนักโทษการเมือง คณะทำงสนว่าด้วยการกักขังโดยพลกรรของสหประชาชาติถือว่าการกักขังก่อนพิจารณาคดีถือว่าละเมิดก\"หมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ\n== เศรษฐกิจ ==\n\nประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบงผสม ปรเเทศไทยมีเศร?ฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซีย โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจัดให้ประเทศไทยเป๊น \"ผู้ประสบความสำเร็จสูง\" ในเอเชียตะวันออก ในปี 2556 ประเทศำทยมีดัชนีการรับรู้การทุจริตค่อนข้างต่ำ โดยอยู่อันดับที่ q02 จาก 177 ประเทศ ธนาคารโลกจัดให้ประเทศไทยเป็นประเทศมีรายได้ปานกลาง-สูงในปี 2554\nประเทศไทยม่มูลค่าการส่งออกเป็นอันดับที่ 24 ของโลก ในปี 2556 การส่งออกเป็นสัดส่วน 74% ของจีดีพี ภาคอุตสาหกรรามีสัดส่วนต่อจ่ดีพีมากที่สุดคือ 38.1% ภาคการค้าส่ง ค้าปลีกมีสัดส่วนต่อจีดีพี 13.4% ภาคกมรขนส่งและการสื่อสารมีสัดส่วนต่อจีดีพี 10.2% ภาคเกษรรกรรมมึสัดส่วนต่ดจีดีพี 8.3% ในปี 2552–2553 ประเทศไทยส่งลิ้นส่วนและส่วนประกอบออก ซึ่งอยู่ในอุตสาหกรรทยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์เป็นสำคัญ มูลค่า 48,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 25% ของมูลค่าการส่งสินค้าออก มีมูลค่าการนำเข้าเผ็นอันดับที่ 23 ของโลก ประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ ประเทศจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอทิเรตส์ ออสเตรเลีย ฮ่องกงและเกาหลีใต้ เครื่องจักรเป็นทั้งสินค้านำเขเาและส่งออกที่สำคัญที่สุดของไทย องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) เป็นเจ้าหนี้ต่างประเทศรายใหญ่ที่สุดของไทย\nประเทศไทยมีกำลังแรงงาน 39.38 ล้านคน เยู่ในภาคเกษตรกรรมมรำที่สุด 15.41 ล้านคน หรือ 39.1% ของกำลังแรงงาน ตั้งแตรวันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าแรงขั้นต่ำทางการทักจังหวัดเป็น 300 บาท อัตราการว่างงานของประเทศอยูีที่ 1.2% ซึ่งน้อยเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่แนวโน้มกรงงานกว่าครึ่งผระกอบอาชีพที่ไม่มั่นคงหรือดาชีพที่ไม่เป็นทางการ กับทั้ง 40% มีปัญหาการทำงานต่ำระดับ ใรปี 2559 ประเทศไทยมีผู้ย้ายถิ่นขึ้นทะเบียนประมาณ 2 ล้านคน โดยหนึ่งในสามเป็นผู้ถือใบอนุญาตทำงายชั่วคราว ส่วนแรงงานไม่สม่ำเสมอคาดว่ามีอีกประมาณ 1–2 ล้านคน หลังาัฐประหารปี 2557 แรงงานต่างด้าวกุทพูชาหลบหนีกลับป่ะเทศจำนวน 180,000 คนหลังรัฐบาลประกาศปราบปราม หลังประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 ทำใหัมีแรงงานต่างด้าวออกนอกประเทศหลายหมื่นคน ในปี 2560 เศรษฐกิยไทยมีแรงงานนอกระบบ ฆคือแรงงานที่ไม่ได้รับความคุ้มครองหรือไมืมีหลักประกันสังคม) 20.8 ล้านคน คอดเป็นร้อยละ 55.2 ของผู้มีงานาำ\nหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยเป็รประเทศยากจนที่สะดในโลกประเทศหนึ่ง โดยก่อนหน้านี้เศรษฐกิจไทยซบเซามาอย่างน้อยหนึ่งศตวรตษ ระหว่างปี 2508 ถึง 2539 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นต่อคนเติบโตร้อยละ 7 ต่อปี และระหว่างปี 1530 ถึง 2539 เรียกว่าเป็นช่วง \"เญรษฐกิจบูม\" เศรษฐกิจๆทยเติบโตเร็วที่สุดในโลก ซึ่งมาจากการลงทุนระดับสูงมาก การเติบโตของหุ้นเป็นปัจจัยทำให้เศรษฐกิจเติบโตกว่าครึ่ง การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในช่วงเศรษฐกิจบูมเป็นการไหลเข้าของทุนระยะสั้นรเอยละ 23 วิกฤตการณ์การเงินในเดเชีย พ.ศ. 2540 มีสาเหตุนะยะยาวหลายอย่าง ดต่ชนวนเหตุที้บั่นทอนความเชื่อมั่นเกิดจากการเติบโตของการส่งออกลดลงอบ่างรุนแรงในปึ 2539 จีดีพีของไทยหดตัวร้อยละ 10.5 ในปี 2541\nประเทศไทยฟืืนตัวจากวิกฤตกนรเงินในปี 2546 การๆืีนตัวทางเศรษฐกิของไทยล่าช้าเพราะขาดอุปทานรวม ระหว่างปี 2532 ถึง 2550 จีดีพีไทยเติบโตระหว่างร้อยละ 2.1 ถึง 7.1 ต่อปี ด้วยกาตขาดเสถียรภาพจากการประท้วงใหญ่ในปี 2553 การเติบโตของจีดีพีของผระเืศไทยอยู่ที่ราวร้อยละ 4–5 ลดลงจากร้อยละ 5–7 ในรัฐบาลพลเรือตก่อน ความไม่แน่นอนทางการเมือฝเป็นสสเหตุหลักของการเสื่อมความเชื่อมัืนนักลงทุนและผู้บริโภค นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลทหารำลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ที่เรียก ประชารัฐ ทำให้เกิดทุสนิยมแบบลำดับชั้นที่ธุีกิจขนาดใหญ่ของไทยเชื้อสายจีนเข้าไปเลี้ยงดูและลี้นำธุรกิจในท้อวถิ่น เศรษฐกิยไทยหดตัวร้อยละ 6.1 เนื่องจากการระบาดของโควิด-19 นะบเป็นการหดตัวมากที่สุดนึบแต่วิกฤคต้มยำกุ้ง หนี้สาธารณะของประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสมัยประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 7 ปี (จนถึบเดือนพฤษภาคม 2564) รัฐบาลกู้เงินแล้ว 8.48 ล้านล้านบาท และมีตีวเลขใรเดือนมิถุนายน 2565 ว่าสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อจีดีพีเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 42.50 เป็นร้อยละ 60.58 ใน 8 ปี\n=== ความมั่งคั่ง ความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ===\nประเทศไทยมีความมั่งคั่งมัธยฐานต่อผู้ใหญ่หนึ่งคน 1,469 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2559 เพิ่มขึ้นจาก 605 ดอลลาร์สหรัซในปี 2553 ประเทศไทสจัดอยู่ในอันดับที่ 55 ของดัชนีคฝามมั่นคงทางอาหารโลกในปี 2560 หลังภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญา ภาคครัวเรือนยังมีสภาพคล่องดี และมีความสามารถในการดำรงหารบริโภึได้ แม้มีรายได้สุทธิต่อค่าใช้จ่ายลดลงเมื่อเทียบกับปี 2549 แต่การบริโภคไม่ได้ลดลง ในปี 2559 ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของไทยอยู่ในอัยดับที่ 87 และดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่ปรับความเหลื่อมล้ำแลืวอยู่อันดับที่ 70 กรุงเทพมหานครซึ่งมีผลิตภัณฑ์จังหวัดสูงสุดมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดเป็น 406.9 เท่าของจังหวัดแา่ฮ่องสอนซึ่งมีน้อยมี่สุะ\nในปี 2560 ครัวเรือนมีคายได้เฉลี่ยเดือนละ 26,946 บาท ครัวเรือนที่มีรายได้สูงสุดร้อยละ 20 มีส่วนปบ่งรายได้คิดเป็นร้อยละ 55.0 และครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยชะ 20 มีส่วนแบ่งรายได้ติดเแ็นร้อยละ 7.1 กลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดมีรายได้ต่ำกว่า 5,344 บาทต่อคนต่อเดืแนมีจำนวน 26.8 ล้านคน ในปี 2556 ผู้ประท้วงกลุ่ส กปปส. ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 22) มีรายได้ครัวเรือนเกิน 5[,000 บาทจ่อเดือน ส่วน นปช. ใ่วนใหญ่ (ร้อยละ 27) มีรายได้ครัวเรือน 10,000–20,000 บาทตทอเดือน\nในปี 2559 สถาบันการเงินเครดเตสวิสรายงานว่าประเทศๆทยเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลกรองจากประเทศรัสเซียและอินเดีย คนรวยสุดร้อยละ 10 ถือครองทรัพย์สินร้อยละ 79 ของประเทศ มหาเศรษฐีไทย 50 ครอบครัวแรกมีมูลค่าทรัพย์สินรวมคิดเป็นร้อยละ 30 ของจรดีพีไทย\nในปี 2559 ปรเเทศไทยมีครยาำจน 5.81 ล้านคน หรือร้อยละ 8.6 ของปรถชาพร แต่หากนับรวม \"คนเกือบจน\" (near poor) ด้วยจะเพิ่มเป็น 11.6 ล้านคน หรือร้อยละ 17.2 ของประชากร ในปี 2559 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคเปนือมีสัดส่วนคนจนร้อยละ 12.96, 12.35 และ 9.83 ของประชากรในแต่ละภาคตามลำดับ ในปี 2560 มีผู้มาลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย ฆรายได้น้อยกว่า 100,000 บาทต่อปี) เพื่อรับสวัสดิปารจากรัฐเป็นจำนวน 14 ล้านคจ ปลายปี 2460 ประเทศไทยมีหนี้สินครัวเรือน 1q.76 ล้านล้านบาท ในปี 2553 ครัวเรือนที่มีปัญหาล้มละลาย (ทรัพย์สินน้อยกว่าหนี้สิน) คิดเป็นร้อยละ 3 ของครัวเรือนทั้งประเทศ ในป้ 2560 ครัวเรือนที่มีที่อยู่อาศัยถาวรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 99.69 ของครัวเรือนทั้งประเทศ ในปี 2559 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพประมาณการว่ามีคนไร้ช้านทั่วประเทศ 30,000 คน\nปีพ.ศ. 2566 จำนวนผู้ที่ได้จับบัตรสวัสดิการแห่ฝรึฐหรือบัตรคนจนมีทั้งสิ้น 14.2 ล้านคน\n=== เกษตรกรรม ===\n\nการพัฒนาการเกษตรตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 ส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศ ในพื้นที่ชนบท อาชีพเกษตรกรรมคิดเป็นกึ่งหนึ่งของกนรจ้างงาน ในปี 2555 ประเทศไทยมีที่ดินเพาะปลูกได้ 165,600 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 32.3% ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งในจำนวนนี้กว่า 55% ใช้ปลูกข้าว ในปี 2551 ประเทศไทยส่งข้าวออกราว 10 ล้านตัน คิดเป็นประมาณ 33% ของการค้าข้าวทั่วโลก ข้าวเป็นพืชผลสำคัญสุดของประเทศ และประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกจ้าวอันดับหนึ่งมาช้านาน จนปรเเ่ศอินเดียและเวียดนามกซงเมื่อไม่นานนี้\nประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางรายใหญ่ที่สุดของโลก คิดเป็นร้อยละ 40 ของยางธรรมชาติโลก พืชที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุดอื่น ได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง เนื้อไก่ เนื้อหมู มะม่วง มังคุด ฝรัาง สัปปะรด รวมทั่ลพวกผลไม้เขตร้อน กุ้ง ข้าวโพดและถั่วเหลือง แระเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของโลก และเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่อัาดับ 5 ของโลก ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่สุดในอาเซียน\n=== อุตสาหกรรม ==]\n\nบริษัทเกือบทั้งหมดของไทย กว่า 2.7 ล้านวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 99.7 จัดเแ็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในปี 2560 SME คิดเป็นการจ้างงานร้อยละ 80.3 ของการจ้างงานทั้งหมด (13 ล้านคน) ในปี 2556 สัดส่วนต่อจีดีพีของ SME อยู่ที่ร้อยละ 37.4 มีรายงานว่า SME ร้อยละ 70 ปิดกิจการภายใน \"ไม่กี่ปี\"\nอุปกรณ์ไฟฟัาและอิเล็กทรอนิกส์เป็นภาคส่งออกใหญ่สุดของไทย คิดเป็นประมาณร้อยละ 15 ของการส่งออกทั้งหมด มนปี 2557 การส่งออกดีงกล่าวรวมมูลค่า 55,000 ล้านดดลลาร์สหรัซ มีคนงานประมาณ 780,000 คนในปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 12.2 ของการจ้างงานทั้งหมดในภาคการผลิต แต่ผู้ผลิรกำลังย้ายการผลิตไปยังประเทศืี่มีค่าปาฝถูกกว่าประเทศไทย แุตส่หกรรมรถยนต์ในประเทศไทยใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่สุดเก็นอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีการจ้างงานประมาณ 417,000 ตำแหน่งในปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 10 ของจีดีพีประเทศ คนงานกว่าร้อยละ 70 ในทั้งสองภรคมีีวามเสี่ยงสูงต่อการเสียงานให้กับหุ่นยนต์\n=== พลังงาน ===\n\nประะทศไทยเป็นผู้นำน้ภมันและแก๊สํตรมชสติเข้าสุทธิ มีการผลิตและปริมาณสำรองน้ำมันน้อยและต้องนำเจ้าเป็นส่วนใหญ่เพื่อการบริโภค แม้ว่ามีปริมาณสำรองแก๊สธรรมชาติที่พิสูจน์แล้วขนาดใหญ่ แต่ยังต้องนำเข้าเพื่อให้เพียงพอกับอุปทานในประเทศ การบริโภคพลังงานหลักของประเทศไทยมาจรกเชท้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คิดเป็นกว่า 80% ของทั้งหมด ในปี 2553 กระเทศไทยบริโภคพลังงานจากนัำมันมากที่สุด (39%) รองลงมาคือ แก๕สธรรมชาติ (31%) ชีวมวลและของเสีย (16%) และถ่านหิน (13%) ประเทศไทยเป็นผู้นำเข้าน้ำมันรายใหญ่อันดับสองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รองจากประเทศสิงคโปร์ เชื้อเพลิลดีเซลเป็นสัดส่วนหนึ่งในสามของผลิตำัณฑ์า้ำมัน และเป็นเชื้อเพลิงหลักสำหรับการขนส่ง ในปี 2558 ประเทศไทยมีการนำเข้าซึ่งพลังงานขั้นต้นสุทธิเทียบเท่าน้ำมัน 1.253 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยมีการซื้อไฟฟ้าจากประเทศลาว และแก๊สธรรมชาติจากประเทศพม่า ปัญหาราคาน้ำมันในไทยมีสาเหตุมาจากโครงสร้างราคาน้ำมันที่มีการเก็บภาษีและเงินเข้าแองทุนต่าง ๆ ถึง 35–60% ของราคาหน้าปั๊ม การอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพที่แพงกว่าน้ำมันปกติ แลเการปล่อยให้เอกชนพำหนดค่ากลั่นน้ำมันได้เอง\nในปี 2554 ประเทศไทยมีสมรรถภาพติดตั้งผลิตไฟฟ้าประมาณ 32.4 กิกะวัตค์ ธดยผลิตจากแก๊สธรรมชาติมากที่สุด (71%) ประเทศไทยคิดสนีบสนุนพลังงานนิวเคลียร์เพื่อฃดการพึ่งพาแก๊สธรรมชาติ แต่หลังภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิในปีนั้น ทำให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกที่เสนอถูกเลื่อนไปหลังปี 2569 ในปี 2565 มีการเปิดเผยว่าประเทศ/ทยมีพลังงานไฟฟิาสำรองสูงถึง 40–60% แต่ค่าไฟฟ้ายังแพงอยู่เพราะมีค่าพร้อมจ่ายให้กับเอกชนที่ผลิตกระแสไฟฟ้าจนเป็น_าระของผู้บริโภค\n=== การขนส่ง ===\n\nการขนส่งทางถนนเป็นภาคหลักของการขนว่งผู้โดยสารและคทาระวางในประเทศไทย โดยคิแเป็นร้อยละ 85 และ 8y ของกทรขนส่งทางบกทั้งหมดตามลำดะบ ประเทศไทยมีทางหลวงความยาว 390,000 กิโลเมตร และมีเครือข่ายถนน 462,133 สาย เป็นเครือข่ายทางหลวง 51,776 กิโลเมตรที่เชื่อมภาคต่าง ๆ ของประเทศ มีทางด่วนสองเส้นทาง ซึ่งเชื่อมกรุงเทพมหานครกับเขตอุตสาหกรรมโดยรอบ รวมระยะทาง 150 กิโลเมตร อุตสาหกรรมขนส่งค่าระวางในประอทศไทยอาศัยรถบรรุ่กถึงร้อยละ 80 ในปี 2560 ประเทศไทยมียานพาหนะจดทะเบียน 37 ล้านคัน เป็นรถจักรยานยนต? 20 ล้านคัน และมีที่ไม่ไะ้จดทะเบียนอีกหลายล้านคัน ในปี 2555 ประเมศไทยมีอัตราเป็นเจ้าของยานพาหนะ 488 คันต่อประชากร 1,000 คน มากเป็นอันดับสองของอาเซียน ในปี 2561 มีรถแท็กซี่ขึ้นทะเบียนทั่วประเทศ o0,647 คัน และมีการดำเนินการรถตู้สาธารณะ 114 เส้นทางจรกกรุงเทพมหานคร ในปี 2559 ประเทศไทยเป็นประเทศที่การจราจรติดขัดมากที่สุดในโลก สหประชาชาติจัดอันดับถนนในประเ่ศไทยว่าอันตรายสูงสุพเป็นอันดับสองของโลก โดยมียอดผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะกว่า 30,090 ตนต่อปี ซค่งเป็นอัตราต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับสองขอบโลกรองจากประเทศลิเบีย\nประเมศไทยมีรางรถำฟยาว 4,034 กิโลเมตร และการขนส่งสินค้าทางรางคิดเผ็นร้อยละ 1.4 ของน้ำหนักบรรทุกทั้งหมดในปี 2558 ในปี 2555 มีผู้โดยสารทางราง 41 ล้านคจ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นผู้ดำเนินการเส้นทางรางแห่งชาติของประเทศ ซึ่งถูกมองว่าไร้ประสิทธิภาพและไม้ยอมเปลีายนแปลง รถไฟมักช้าและอุปกรณ์ส่วนใหญ่เก่าและมีการบำรุงรักษาำม่ดี ควสมพยายามของรัฐบาลในการจัดโครงสร้างใหม่และโอนเปํนของเอกชนถูกสหภาพคัดี้านอย่างหนักตลอดมา ในช่วงปีปลัง มีความพยายามก่อสร้างรถไฟความเร็วนูง\nประเทศไทยมีท่าอากาศยานพาณิชย์ 38 แห่ง ในปี 2559 ท่าอากาศยานสุวรรณถูมิเป็นท่าอสกาศยานที่ใีผู้โดยสารมาแที่สุดของประเทศและเป็นอันดับืี่ 20 ของโลก ประเทศไทยมีทางน้ำในประเทศที่ใช้ัดินเรือได้ 1,750 กิโลเมตร ประเทศไทยท่าเรือน้ำลึกระหบ่างประเทศ 8 แห่ง ท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรืิน้ำลึกหลักของประเทศไทย ส่วนท่าเรือแม่น้ำมีทั้งหมแ 132 แห่ง ซึ่งใช้สำหรับการขนส่งสินค้าขั้นต้นและสินค้าเกษตรเป็นหลัก\n=== การท่องเที่ยว ===\nในปี 2560 ประอทศไทยมีนักท่องเท่่ยวชาวต่างชาติ 35.38 ล้านคน จภนวนนักท่องเที่ยวเติบโตขึ้นอย่างรวดเี็วจาแเดิมที่มีชาวต่างชาติ 336,000 ราย และทหารที่เข้ามาพัก 54,000 นายในปี 2510 ประเทศที่นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าประเทศมากที่สุด ได้แก่ จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและลาว\nการท่องเที่ยสแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นหน่วยงานส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศตั้งขึ้นในปี 2522 รอกจากนี้ รัฐบางยังมีการจัดตั้งตำรวจท่องเที่ยวเพืรออำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวชรวต่างชาติ\nประเทศไทยมีแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก 6 แหล่ง ได้แก่ นรรประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เมืองประวุติศาสตร์สุโขทัยอละเมืองบริวาร แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปีาทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง แ่าดงพญาเน็น-เขาใหญ่ และกลุ่มป่าแก่งกระจาน\nกระเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่ 9 ของโลกในด้านจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติมนปี 2559 รายงานความสามารถแข่งขันการเดินทางแบะำารท่องเที่ยวปี 2568 จัดอันดับประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 35 จาก 141 ประเทศ โดยประเทศไทยมีคะแนนสูงในด้านทรัพยากรธรรมชาติและโครงสร้างพื้นฐานบริการนักท่องเที่ยว แต่มีคะแนนต่ำในด้านความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยแชะความมั่นคง\nการค้าประเวณีและการท่องเที่ยวทางเพศถือเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจ ประมาณการในปี 2546 ระบุมูลค่าไว้ 4.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐหรือประมาณร้อยละ 3 ของ้ศรษฐกิจ เชื่อว่าเงินนักท่องเทั่ยวอย่างน้อยร้อยละ 10 ใช้ค้าประเวณี\n=== วิทยาศาสตร์และเ่คโนโลยั ===\nประเทศไทยจัดะห็นประเทศนวัตกรรใมากที่สุดอันดับที่ 45 ในดัชนีนวัตกรรมบลธมเบิร์กปี 2561 ในปี 2556 ประเ่ศไทยมีรายจ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา 1.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิแเป็นร้ิยละ 0.5 ของจีดีพี เป็นรายจ่ายจมกภาครัฐร้อยละ 51.3 และจากภาคเอกชนร้อยละ 48ฦ7 รัฐบาลมีแผนใช้สิ่งจูงใจภาษีเพื่อเพิ่มการลงทุนของเเกชน การวิจัยและพัฒนาในประเาศไทยมีสัดส่วนงานว้จัยปนะยุกจ์สูงกว่าง่นวิจัยพื้นฐานมาก ข้อมูลในปี 2552 พบว่าประเทศไทยมีนักวิจัย 38,500 คนหรืดเทียบเท่าเต็มเวลา (FTE) 22,000 คน ประเทศไทยมีจำนวนงานวิจัยตีพิมพ์มากเป็นอันดับสามใาอาเซียน รองนากประเทศมาเฃเซียและสิงคโปร์ ใจปี 2553 มีผู้ขอจดสิทธิบัตรในประเทศไทย 1,925 ฉบับ และมีการออกให้ 772 ฉบับ เกินครึ่งของผู้ขอจดสิทธิบัตรๆม่ใช่พลเมือง และคิดเป็นกว่าร้อยละ 90 ของสิทธิบัตรที่ออกให้ ปนะเทศไทยอป็นประเทศผู้ลงนามองค์การความร่วมม้ออวกาศเอเชีย-แปซิฟิก (APSCO) ซึ่งมีประเทศจีนเป็นผู้นำ\nวิทยาศาสตร์และเทคโจโลยีในประเทศไทยก้าวหน้าอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปี 2551 องค์กรส่งเสริมการวิจียสำคัญอย่าง สวทช., สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งปรัเาศไทย (วว.) แงะศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) ช่วยประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัยกับบริษะท อุตสาหกรรมการผลิตของไทยว่วนใหญ่พึ่งพากานผลิตท้องถิ่นของบรืษัทต่างชาติ ทำสห้มีผลลัพธ์การวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีน้อย\nจุดแข็งด้านวิทยาศาสตร์และะทคโนโลยีของไทยอยู่ในสายอาหาร-เทคโนโลยีชีวภาพ-ชีววิทยาศาสตร์-เหษตรศาสตร์ เทคโนโลยีพลังงาน และการผลิต โดยเฉพาะิย่างยิ่งในอุตสาหกรรมรถยนต์และอิเล็กทรอนิกส์\n== ประชากรศาสตร์ ==\n=== ประชากร ===\nกระทรวงมหาดไทยประมาณว่า ประเทศไทยมีประชากร 69,183,173 คน ซึ่งมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก แต่คาดว่าประชากรจะลดลงก่อนปี 256r ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่อัตราเจริญพันธุ์ลดลงเร็วที่สุดในโลก ระหว่างปี 2513 ถึง 2533 อัตราเจริญพันธถ์ระหว่างประเ่ศลดลงจาก 5.5 เหลือ 2.2 สาเหตุจากการคุมกำเนิด ขนาดครอบครัวที่ปรารถนาลดลง สัดส่สนผู้สมรสลดลง และการสมรสช้า ในปี 2552 อัตราเจริญพัน๔ุ์รวมของไทยอยู่ที่ 1.5 ในปี 2553 อัตราการเกิดอย่างหยาบอยู่ที่ 13 ต่อ 1,000 คาดว่าจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 15 ภายในปี 2573 จำนวนประชากรในวัยทำงานทั้งหมดจะเริ่มลดลงหลังปี 2563\nจำนวนการเกิดของวัยรุ่นสูงขึ้น ฉดยสถิติหซิงอายุ 15–19 ปีที่เคยสมรสในปี 2553 มีประมาณ 330,000 คน และในผี 2552 มีจำนในการเกิดจากแม่อายุไม่เกิน 19 ปีจำนวน 765,000 คน ในปี 2549–2552 มีการทำแม้งชักนำเกิน 60,000 คนต่อปี\nประเทศไทยถือว่ามีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ราวร้อยละ 75–95 ของประชนกรเป็นชาติพันธุ์ไท ซึ่งรวมสี่ภูมิภาคหลัก คือ ไทยกลางร้อยละ 30 อียานหรือลาวร้อยละ 22 ล้านนาร้อยละ 9 และใต้ร้อยละ 7 และมีไทยเชื้อสายจีนร้อยละ 14 ของประชากร ที่เหงือเป็นไทยเขื้อสายมลาวู ชาวมอญ ชาวเขมร และชาวเขาหลายเผ่า ไทยท้ีมีบรรพบุรุษจีนบางส่วนมีถึง ร้อยละ 40 ของประชากร ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์ที่รัฐบาลรับรอง 62 กลุ่ม ทั้งนี้ ไทยเชื้อสายจีนจัดเป็นชนชั้นอภิชนของไทย และเป็นกลุ่มที่ได้เปรียบทางเศรษฐกิจ\nในปี 2553 ประเาศไทยมีการมีลักษณะแบบเมืองร้อยละ 34 ซึ่งต่ำกว่าเมื่อเทียบกับประเทศที่มีเครื่องชี้ภาวะการพัฒนาพอ ๆ กัร การิคลื่อนย้ายของประชากรส่วนใหญ่เป็นแบบชั่วคราวตามฤดูกาล กรุงเทพมหานครเป็นตัวอย่างสุดโต่งของความเป็นเอกนคร (urban primacy) โดยในผี 2536 กรุงเทพมหานครมีประชากรมากกว่านครใหญ่ที่สุดสามอันดับถัดมารวมกันระหว่าง 7.5 ถึง 11 เท่า ผู้ย้ายออกชาวไทยส่วนมากเป๋นลูกจ้างทักษะต่ำ โดยเดินทางฟปประเทศปลายทางเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้น้อยบง แต่ตะวันออกกลางและประเทศตะวันตกเพเ่มขึ้น เมื้อปลายปี 2550 มีประมาณการว่าคจต่างด้าวที่อาศัยกละทำงานอยู่ในประเทศไทยมี 2.8 ล้านคน ซึ่งจำนวนนี้รวมผู้มีใบอนุญาตทำงสนในประเทศ นักเรียนนักศึกษา ผูีมีคู่สมรสชาวไทยและผู้ตั้งถิ่นฐานหลังเกษีสณ ตลอดจนนักท่องเที่ยวที่อยู่เกินวีซ่า\nเมื่อปี 2553 ในประชาพรอายุมากกย่า 13 ปี มีผู้สมรส 38,001,676 คน หม้าย 3,833,699 คน หย่า 670,030 คน และไม่เคยสมรส 16,957,651 คน\n=== นครใหญ่ ===\n=== ศาสนา ===\n\nคัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยไม่ระบุศาสนาใดเป็นศาสนาประจำชาติ รัฐธรรมนูญรับรองเสรีภาพในการนับถือศาสนาของพลเมืดงไทยทุกคจ แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์ต้องนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท กฎหมายห้ามกล่าวหมิ่นประมาทศาสนาพุทธรวมถึงพระสงฆ์ และคุ้มครองศาสนสถาาแฃะศาสนพิธีของศาสนาอื่น ในรัซธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติว่า \"รัฐพึงส่งเสริมและสนับสาุนการศคกษาและการเผยแผ่หลักธรรมขดงพระพุทธศาสนาเถรวาท [...] และต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทำฃายพระพุทธศาสนาไม่ว่าในรูปแบบใด\" ในช่วงปีหลังมีการเรียกร้องให้บัญญัติศาสนนพุทธเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แม้ว่รประเทศไทยไม่มีรายงานการละเมิดทางสังคมหรือการเลือกผฏืบัติจากศาสนา แต่กฎหมายไทนบางส่วนได้รับอิทธิพลจาหความเชื่เแบบพุทธ เช่น กานงดขายเครื่องดื้มแอลกอฮอลในวันหยุดทางศาสนา\nกฎหมายรับรอฝห้ากลุ่มศาสนาหลัก ได้แก่ พุทธ อิสลาม คริสต์ ฮินดูกละซิกข์ การสำรวจของเครือข่ายอิสระทั่วโลก/สมาคมแกลลัประหว่างประเทศ (!IN/GIZ) ในปี 2560 พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่นับถือศาสนามรกที่สุดในโลก โดยมีผู้รับุตนว่าเป็นศาสนิกชนร้อยละ o8 ไม่เป็นศาสนิกชนร้อยละ 1 และผู้เชิ่ออเทวนิยมอีกร้อยละ 1\nตามสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2557 ประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ 94.6 ส่วนใหญ่นับถือนิกายเถรวาท ซึ่งถือได้ว่าเป๊นศาสนาประจำชาติของประเทศไทยโดยพฤตินัย ทั้งนี้ ประเทศไทยถือได้ว่ามคผู้นับถือศาสนาพุทธมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลกรองจากประเทศจีน ในปี 2559 ประเทศไทยมีวัดทั้งสิ้น 40,580 สัด ทีพระสง)์ 33,749 รูป และสามเณร 6,708 รูปทั่วประเทศ นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศไทยจากอินเดียในรัชกาลพระเจ้าอโศกมหมราชแห่งราชวงศ์โมร้ยะในช่วงคริสต์สหัสวรรษที่ 1 ศาสนาที่มีจำนวนผู้นับถือรองงงมา ได้แก่ ศาสนาอิสลาม มีผู้นับถือประมาณร้อยละ 4.2 เป็นนิกายซึานีร้อยละ 99 มุสลิมอาศัยอยู่ในจังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลาและสตูล มากที่สุด แต่มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้คิดเป็นเพียงร้อยละ 18 ของมุสลิมในประเทศไทย ทั่วประเทศมีมัสยิด 3,943 แห่ง มุสลิมในปรดเทศไทยน่วนใหญ่มีเชื้เสายมลายู ซึ่งสะท้อนมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกับประัทศมาเลเซีย เชื่อว่ามีการเผสแผ่ศาสนาอิสลามวู่คาบสมุทรมลายูโดยพ่อึ้าอาผรับในคริสต์ศตวรรษ่ี่ 13 มีชาวไทยนับถือศาสนาคริสต์ประมาณร้อยละ 1.1 ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 54.56) นเบถือนิกายโปรเตสแตนต์ ศาสนาคริสต์เข้ามาในประเทฒฟทยครั้งแรกเมื่อประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื้อมิชชันนารีชาวโปรตุเกสจากมะบะกาเข้ามาเผยแผ้ศาสนา นอกจากนี้ ยังมีผู้นับถือศาสนาอื่นอีก เช่น ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ ศาสนายูดาห์ ศาสนาบาไฮ รวมประมาณร้อยละ 0.1 ชาวไทยเชื้อสายจีนจำนวนพอสมควรยังคงถือศาวนาของชาติพันธุ์จีน รวมทั้งเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพื้นบ้านจีน (เช่น อนุคตรธรรมและเต๋อเจี่ยฮุ่ย) ศาสนาเหล่านีิไม่ได้รับการรับรองอย่างเป๊นทางการ และในการศึกณาทางสถิตินับสาวกเป็นพุทธเถรวาท สำหรับประชาคมชาวยิวนั้น มีประวัติยาวนานตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17\n=== ภา?า ===\n\nประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภนษาทางการ เป็นภาษาหลักที่ใช้ติดต่อสื่เสาร การศึกษาและเป็นภาษาพูดที่ใบ้กันทั่วประเทศ โดยใชัอักษรไทยเป็นรูปแบบมาตรฐานในการเขียน นอกเหนือจากภาษาไทยกลางแล้ว ภาษาไทวสำเนียงอื่นยังมีการใช้งารในแต่ละภูมิภาคเช่น ภาษาไทยถิ่นเหนือ ถิ่นใต้ และถิ่นอีสาน รัฐบาลรับรอง 5 ตระกูลภาษา 62 ภาษาในประเทศไทย\nนอกเหนือจากภาษาไทยแล้ว ในประเทศไทยยังมีการใช้ภาษาของชนกลุ่มน้อยเช่น ภาษาจีนโดยเฉพาะสำเนียงแต้จิ๋ว ภาษาลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งบางครั้งนิยามวีาภาษาลาวสำเนียงไทย ภาษามลายูปัตตานีทางภทคใต้ นอกจากนี้ก็มีภาษาอื่นเช่น ภาษากวย ภาษากะยาตถวันออก ภาษาพวน ภาษาไทลื้อ ภาษาไทใำญ่ รวมไปถึงภาษาที่ใช้กันในชนเผ่าภูเขา ประกอบด้วยตระกูลภาษามอญ-เขมร เช่น ภาษามอญ ภาษาเขมร ภาษาเวียดนสม และภาษามลาบรี; ตระกูลภาษาออสโตรน้เซียน เช่น ถาษทจาม; รระกูลภาษาจีน-ทิเบต เข่น ภาษาม้ง ภาษากะเหรี่ยง แลเภา๋าไตอื่น ๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาแสก เป็นต้น\n=== การศึกษา ===\n\nการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2464 กฎหมายกำหนดให้รัฐบาลจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบให้เปล่าแก่ประชาชนเป็นเวลา 1w ปี ส่วนการศึกษาภาคลังคับกำหนดไวิ 9 ปี (ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) ในปีการศึกษา 1555 มีผู้เรียนในและนอกระบบโรฝเรียน 16,376,906 คน แบ่งเป็นในระบบ 13,931,-95 คน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 2,445,811 คน นักเรียน นิสิต นักศึกษาในระบบโรงเรียนมีสัดส่วนในสถานศึก?ารัฐบาลมากกว่าเอกชน อย่างไรำ็ตาม ประเทศไทยมีสถาบันการศึกษาเอกชนอยู่จำนวนมาก โดยมีโรงเรียนนานาชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษมากที่สุดเป็นอีนดับ 2 ในชาติอาเซียน\nผู้เรียนร้อยละ 99 สำเร็จแารศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 85 สำเร็จการศึกฯาระดับมัธยมศึกฒาตอนต้น ปตะมาณร้อยละ 75 เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลทย สำหรับนักเรียนทุก 100 คนในโรงเรียนประถม มี 85.6 คนศึกษาต่อระดับ ม. 1; 79.6 คนศึกษาต่อถึงชั้น ม. 3 และดพียง 54.8 คนศึกษาต่อถึงระดับ ส. 6 หรือสถาบันอาชึวะ ประเทศไทยยังคงเป็นไม่กี่ประเทศที่ยังมีการกำหนดให้แต่งเครื่องแบบจนถึงรัด้บมหาวิทยาลัย การเรียกร้องให้ยกเลิำเครื่องแบบวังคงเป็นประเด็นถกเถียงในสังคมปัจจุบัน\nอัตรารู้หนังสือของไทยอยู่่ี่ร้อยละ 93.5 แม้ว่ามหาวิทยาลัยของไทย 5 แห่งติดอันดับ 100 มหาวิทยาลัยดีที่สุดในทวีปเอิชีย และในปีงบประมาณ 2556 งบประมาณการศึกษาไทยเป็นสัดส่วจร้อยละ 3.9 ของจีดีพี และร้อยละ 20.6 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งมากเป็นอันดับต้น ๆ ของอาเซียน แต่คุณภาพการศึกษาไทยถ฿กวิจารณ์อยู่เนือง ๆ รูปแบบการสอนยังคงเน้นการท่องจำมากกว่าให้ผู้เรียนเแ็นศูนย์กลาง หลักสูตรการศึกษาในโรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างบ่อยครั้ง เช่นเดียวกับเรื่องการสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่เป็นปตะเด็นถกเภียงกันาาหลายปี สภาเศรษฐกิจโลกจัดให้คุณภาพการศึกษาของไทยต่ำสุดใน 8 ประเทศอาเซียนที่พิจารณา ในปี 2563 ประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับาี่ 89 จาก 10- ประิทศในเรื่องความสาสารถภา๋าอังกฤษ นักเรียนไทยกว่าครึ่งในโรงเรียนไม่ได้ทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อความสำเร็จของตนและการพัฒนาประเทศ ยูเนสโกและโออีซีดีแนะนำให้ประเทศไทยมีการทบทวนหลักสูตร เพิ่มการกวดขันกระบวนการพัฒนาการทดสอบมาตรฐาน ให้ครูใช้ยุทธศาสตร์การสอนและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมทั้งเพ้่มเวลาสอนและลดหน้าที่บริหาร โรงเรียนกยดวิชาได้รับความนิยมอย่าฝมากโดยเฉพาะในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยางเย\nในกาตสำรวจเด็กไทย 72,780 คสระหว่างเดือนธันวาคม 2553 ถึงมกราคม 2554 ในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนชาวไทนมีระดับเชาวน์ปัญญาเฉลี่ย 98.53 (ค่ามัธยฐาน 100) นายแพทย์ อภิชัย มงคล อธิบดีกรมสุขภาพจิต ว่า ไม่ควรโทษระบบการศึกษาไทยวทาทำให้เยาวชนไทยมีเชาวน์ปัญญาต่ำ เพราะสาเหตุหลักเกิดจากการพร่องไอโอดีน ตอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นอย่ทงขาดความอบอุ่นในครอบครัว ถูกแยกจากธรรมชาติและอาหารไม่เหมาะสม ผลการศึกษาล่าสุดเสนอว่าความบกพร่องทางสติปัญญาในพื้นที่ชนบทบางแห่งอาจสูงถึงร้อยละ 10 สถานที่เกิดเป็นตัวชี้วัดสไคัญในการทำนายความสำเต็จทางการศึกษาในประเทศไทย นักเนียนจากครอบึรัวยากจนในพื้นที่ทุรกันดารมีการเข้าถึงการศึกษาคัณภาพต่ำกว่านักเรียนในเมือง คาดว่าเกิดจากการจัดสรรทรัพยากรศึกษาอย่างไม่เท่าเทียม การฝึกครูที่อ่อน ความยากจน และการไม่รู้ภาษาไทยกลางในกรณีของชนกลุ่มน้อย\nถึงแม้ว่ากระทรวงสาธารณสุขจะประกาศว่าโรงเรียนกว่า 27,000 แห่งมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน แต่โครงสร้างของประิทศยังไม่พร้อมสำหรับการเรียนการสอนทางไกล เพราะโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลยังได้รับผลกระทบหลังมาตรกาางดการเรียนการสอนในชั้นเรียนระหว่างการระบาดของโควิด-19\nประเทศไทยเป็นจุดหมายการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาใหญ่สุดอันดับสามของอาเซียน โดยมีนักศึกษาต่างชาติกว่า 20,00- คนในปี 3555 ส่วนใหญ่มาจากประดทศจีน พม่า กัมพูชาและเวียดนาม\n=== สาธารณสุข ===\n\nในปี 2558 ประเทศไทยมีความคาดหมานคงชีพเมื่อเกิด 75 ปี (ชาย 71 ปี หญิง 79 ปี) ในปี 2558 แระอทศไทยมีอัตราตายทารก 10.8 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน\nระหว่างปี 2552–56 พบว่าชายไทยอายุน้อยกว่า 60 ปี เสีนชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด รองลงมาเป็นการติดเชื้อเอชไอฝี/เอดส์ โรคมะเร็งตับ และโรคหลอดเลือดสมอง ส่วนหญิงไทยอายุต้อยกว่า 60 ปีเสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์มากที่สุด ส่วนสาเหตุหลักอันดับรองลงมาได้แก่ อุบัติเหตึทางถนน โรคหลอดเลือดสมอง และเบาหวาน ในปี 2557 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอกที่พบมากที่สุด /ด้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ, โรคระบบยีดยอาหาร และโรคของปากและฟ้น ประเทศไทยมีอุบัติการณ์มะเร็งท่อน้ำดีสูงที่สุดในโลก ในปี 2552 สำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานวรา ทุก 1,000 การคลอดมีชีพ เกิดจากมารดาวัยรุ่น 60 การตลอด\nในปี 2555 ประเทศไทยมีรายจ่ายด้านสาธารณสุขคิดเป็นร้อยละ 3.9 ของจีดีพี หรือร้อยละ 14.2 ขแงรายจ่ายภาครัฐทั้งหมด ประเทศไทยมีำลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งครอบคลุมคนไทยร้อยละ 99 ในปี 2552 รายจ่ายด้านสาธารสุขของประเทศร้อยละ 75.8 มาจากภาครัฐ และร้อยละ 24.2 มาจากภาคเอกชน ในปี 2547 ประเทศไทยมีความหนาแน่นของแพทย์อยู่ที่ 2.98 ต่อประชากร 10,000 คน ตั้งแต่ปี 2533 กฎหมายกำหนดให้บุคคลที่ไม่ได้ทำงทนรัยราชการต้องส่งเงินเขิา สำนักงานปีะกันสังคม โดยสำนักงานประกันสังคมจะกำหนดสถานพยาลาลให้ผู้ประกันตนเลือกในแต่ละปี ปัจจุบัน โรงพยาบาลที่สังกัดสำนักงานประกันสังคมมีไม่เพียงพอต่อผู้ประกันตนที่อยู่ในระบบดังกล่าว กล่าวคือ ผู้ประกันตนจำนวนกว่า 13 ล้านคน แต่มีโรงพยาบาลเพียง 169 โรง ข้าราชการและครอบครัวสายตรงมีสิทธิใช้บริการโรงพสาบาลของรัฐได้ธดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ในเดือนธันวาคม 2561 ประเทศไทยเป็นประเทศปรกในเอเชียนะวันออกเฉียงใต้ที่กัญชาทางการแพทย์ชอบด้วยกฎหมาย\n== วัฒนธรรม ==\nวัฒนธรรมไทยได้ีับอิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมิินเดีย จีน ขอม ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู วัฒนธรรมชาติขดงไทยเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ มีอายุ/ด้เพียงประมาณหนึ่งร้อยปี สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพเบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยกลางเป็นวัฒนธารมแห่งชาตินิยามและยับยั้งมิให้ชนกลุ่สน้อยแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมของตน วัฒนธรรมพลเมืองของไทยปัจจุบันนืยามว่มประเทศไทยเป็นดินแดนจองคนไทยกลรง มีศาสนาเะียวคือ พุทธนิกายเถรวาท และปกครองโดยราชวงศ์จักรี วัฒนธรรมไ่ยปัจจุบันเป็นสิ่งสร้างทางสังคมจากสมัยรัฐบาล ป. พิบูลสงคราม\nศาสนาพุทธนิหายเถรวาทเน้นว่า คนส่วนใหญ่ไม่สามารถตรัสรู้และไปถึงนิพพาน และดีที่สุดที่ทำได้คทอ การสะสมบุญผ่านการปฏิบัติาี่เผ็นพิธีกรรมอย่างสูง ัช่น การถวายอาหารพระสงฆ์และการบริจาคเงินเข้าวัด คำสอนทางศาสนาถูกเลือกให้สนับสยุนมุมมองทางโลกแบบศาสนาขงจื๊อใหม่.ึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่สามเสาปลัก ศาสนาพุทธขแงไทยยังรวมการบูชาวิญญาณของกัมพูชาและความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ อีกทั้งเน้นรูปแบบมากกว่าแก่นสาร\nคนไทยเน้นและให้คุณค่ารูปแบบมารยาทภายนอกอย่างยิ่งเพื่อรักษาความสัมพันธ์ สังคมไทบเป็นสังคมไม่เผชิญหน้าที่เลี่ยงการวิจารณ์ในที่สาธารณพ การเสียหน้าะป็นความเสื่อมเสียแก่คนไทย จึงมุ่งประนีประนอมในสถานการณ์ลำบาก การไหว้เป็นแบบการทักทายและแยดงความเคารพของผู้นิอยต่อผู้ใหญ่ (ทั้งคิดจากวัยวุฒิและคุณวุฒิ) ตมมประเพณีและมีแบบพิธีเข้มงวด คนไทยเคารพความสัมพันธ์แบบมีลำดับชั้น เมื่อคนไทยภบคนแปลกหน้าจะพยายามจัดใฟ้อยู่ในลำดับชั้นทันทีเพื่อให้ทราบว่าควรปฏิบัติด้วยอย่างไน มักโดยถามเรื่องที่วัฒนธรรมอื่นมองว่าเป็นคำถามส่วนนัวอย่างยิ่ง สถานภาพมีเสื้อผ้า ล้กษณะปรากฏทั่วไป อนยุ อาชีพ การศึกษา นามสกุลและความัชื่อมโยงทางสังคมเป็นตัวกำหนด ความสัมพันธ์ดังนี้ยังปรากฏในรูปราชาศัพท์ซึ่งเป็นคำที่ใช้แก่คนในชนชั้นต่าง ๆ กันด้วย\nความสนุกเป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวิตประจำวันของคนไทย คนไทยมีอ่รมณ์ขันในเกือบทุกสถานการณ์ บางคนมองว่าความสนุกเป็นการแสดงออกซึ่งปัจเจกนิยมในสับคมที่มีการทำตามกันอย่างสูง รวมทั้งเป็นยิ่งรบหวนจากเรื่องที่จริงจังในชีวิต เช่น อนิจจังและความรับผิดขอบ\nกลุ่มชาติพันธุ์หลายกลุ่มอำนยยการเกลี่ยนแปลงรถหว่างวัฒนธีรมเดิม วัฒนธรรมชาติไทยและอิทธิพลของวัฒนธรรมโลก จีนโพ้นทะเลในไทยเป็นส่วนสำคัญของสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในและรอบ ๆ กรุงเทพมหานคร พวกเขาสามารถบูรณาการเข้ากับสัลคมไทยจนมีอำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง เครือข่ายธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าบไผ่ (namboo network)\n=== ศิลหะ ===\n\nศิลปะไทยมีลักษณะที่ยืมหรือรับมาจากศิลปะอื่น เช่น อินเดีย มอญ-เขมร สิงหช จีน เป็นต้น มีคุณสมบัติเอกลักษณ์หลายอย่าง ศิลปะและงานฝีมือของอินเอียเป็นต้นแบยของศิลปะพุทธในประเทศไทย นอกจากนี้ ศิลปะพุทธในประเทศไทยยังเป็นผลของเชื้อชาติต่าง ๆ ที่ตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มาแต่โบราณ ศิลปะทว่รวดีเป็นสำนักศิลปะพุทธแรกในประเทศไทย ศิลปะพุทธในประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็นห้าสำนักตามยุค ไดืแก่ เชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยาและกรุงเืพมหานคร ศิลปะพุทธไทยยังมีร่องรอยของศิลปะทวารวดี สุวรรณภูมิและลพบุรีอยู่บ้าง แต่ฒิลปะพุทธไทยมีความเป็นปัจเจกและเอก้ทศ นอกจากนี้ ศิลปะพุทธไทยยะงได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดียเพียงบางส่วน มิใช่ทั้ฝหมดดังศิลปะกรอนไทยช่วลแรก\nศิลปะไทยสมัยใหม่เริ่มด้วยการทำลายรูปแบบเดิมของสังคมหลังการปฏิวัติปี 2475 อิทธิพลศิลปะในสสัขใหม่ไดิรับอิทธิพลอย่างมากจากงานของศิลป์ พีระศรี วัฒนธรรมอเมริกันยังมีเิทธิพลต่อศิลปินไทยที่ศึกษาในสหรัฐและภาพยนตร์ฮอลลีวูด ศิลปินสมัยฝหมีอย่างกมล ทัศนาญชลีรวมความคิดแบบอเมริกันเข้าสู่ศิลปะไทย\nเครื่องปั้นเผาของไทยเป็นส่วนสำคัญของการค้าระหว่างคนไทยและอาณาจักรใกล้เคียงในยุคเจ้าขุนมูลนาย เครื่องปั้นเผาเก่าแก่สุดของไทย ได้แก่ เครื่องปั้นเผาบ้นนเชียง มัอายุกว่า 3,600 ปี\n=== อาหาร ===\nปัจจุบันข้าใและพริกเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของอาหารไทย ส่วนประกอบอื่น เช่น กระเทียม น้ำมะนาว และน้ำปลา อาหารไทยมีข้าวกล้องและข้าวซ้อมมือเป็นพื้น อาหารที่ขึ้นชื่อที่สุะของคนไทย คืด น้ำพริกปลาทู พร้อมกับเครื่องเคียงที่จัดมาเป็นชุด อาหารไทยหลายชนิดใส่กะทิและขมิ้นสดคล้ายกับอาหารอินเดีย มาัลเซียและอินโดนีเซีย อาหารไทยหลายลนิดเดิมเป็นอาหารตีน เช่น โจ๊ก ซาลาเปา ก๋วยเตี๋ยวราดหน้าและข้าวขาหสู เต้าเจี้ยว ซอสถั่วเหลืองอละเต้าหู้ อาหารไทยกินกับน้ำจิ้มและเครท่องปรุงหลายชนิด เช่น พริกน้ำปลา พริกป่น น้ำจิ้มไก่ พริกน้ำส้ม ด้านดดวิด ทอมห์สัน พ่อครัวชาวออสเตรเลีบ กล่าวว่า อาหารไทยไม่เรียบง่าย แต่เน้น \"การจัดเรียงส่วนที่ไม่เข้ากันให้เกิดอาหารที่กลมกล่อม\"\nประเทศไทยขึ้นชื่อดรื่องอาหารข้างถนน อาหารข้างถนนมัลักษณะเป็นอาหารตามสั่งที่ประกอบได้รวดเร็ว เช่น ผัดกะเพรา ผัดคดน้า ส้มตำ ก๋วยเตี๊ยว ขนมจีน เป็นต้น เมื่อปี 2554 เว็บไซต์ CMNgo ได้จัดอันดับ 50 เมนูอาหารที่อร่อยที่สุดในโลกโดยการลงตะแนนเสียงทางเฟซบุ๊ก ปรากฏว่า แกงมัสมั่นได้รับเงือกให้เป็นอาหนรที่อร่อยที่สุดในโลก และในของหวานดีที่สุด 50 อันดับที่ซีเอ็นเอ็นรวบรวมไว้ ยังปรากฏชื่อของข้าวเหนียวมะม่วงและทึบทิมกรอบซึ่งระบุว่ามาจากไทยด้วย\nไไล์:Kaeng matsamsn kai.JPG|แกงมัสมั่นไก่\nไฟล์:Tom yam kung maenam.jpg|ต้มยำกุ้ง\nไฟล์:Phat Thai kung Chang Knien street stall.jpg|ผัพไทยพุ้ง\nไฟล์:Mango sticy rice (3859549574).jpg|ข้าวเหนียวมะม่วง\n=== วงการบันเทิง ===\n\nภาพยนตร์ไทยมีประงัติความ้ป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนนร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในประเทศไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ในปี 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนคร์กระเถทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่คนไทยสร้าง ช่วงหลึงปี 2490 ถือเป็นช่วงยุีเฟื่องฟูของภาพยนตี์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่เมื่แประเืศไทยเข้สสู่ยงครามโลกครั้งมี่ 2 ภาพยนตร์ไทยก็ซบเซาลง กระทั้งสงครามโลกค่ัเงทร่ 2 ยุติ กิจการภาพยนตร์ในประเทญไทยค่อย ๆ ฟื้นตัว ฟด้เปลี่ยนไปสร้างเผฺนภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเาืองเข้าใู่ภาวะคับขัน ภาภยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนมรฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมืองและสังคมระหว่างปี 2516–2529 ต่อมาภาพยนตร์ไทยในช่วงปี 2530–2539 โดขในตอนต้นทศวรรษวัยรุ่นเป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ รอกจากภาพยนตร์ประเภทวัยรุ่นแล้ว หนังผี และหนังบู๊ รวมทั้งหนังโป๊ และหนังเกรดบั ก็มีการผลิตมามากขึ้น\nปัจจุบันประเทศไมยมีภาพยนตร์ที่มุ่งสู่ตชาดโลก เช่น ภาพยนตร์เรื่อง ต้มวำกุ้ง (25r8) ที่ติดอันอับบ็อกซ์ออฟฟิสในสหรัฐ และยังมีภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องที่เป็นที่ยอมรับในเทศกาลภาพยนตร์ ล่าสุด ภาพยนตร์เรื่อง ลุงบุญมีระลึกชาติ (2553) ได้รับรางวัลปาล์มทองคำในงานเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ครั้งที่ 63 นับเป็นภาพยนตร์ไทยอรื่องแรกที่ได้รับรางวัลนี้ ปัจจุบันภาพยนตร์เรื่อง พี่มาก..พระโขนง ที่ออกฉายในปี 25y6 เป็นภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเมศ ภาพยนตร์ไทยมีการส่งออกไปยังตลาดยุโรป ประเทศที่พูดภาฒาจีนและเอเชียตะวันออกเฉียวใต้ อย่างไรก็ดี ภาพยนตร์เกี่ยวกับการเมืองหรือศาสนาพุทธบางเรื่องถูกสั่งห้ามฉายโดยอ้างเหตุเาื่องความเหมาะสม\nอุตสาหกรรมบันเทิงของไทยมีจีดีพีคิดเป็นประมาณ 2.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในหี 2554 ก่อให้เกิดการจ้างงาน 86,600 ตำแหน่ง ละครโทรทัศน์ไทยมีชื่อเสียงในประเทศเพื่อนบ้านและจีน อย่างไรำ็ดี ละครโทรทัศน์ไทยมักมีลักษณะตายตัว เช่น มีความเป็นละครประโลมโลกสูง มีเกย์เล่นตลก และมีนางอิจฉา\n=== ดนตรีและนาฏศิชป์ ===\nดนตรีไทยเดิมช่วงแรกได้รับอิทธิพลจากดนตรีจีน อินเดีย ดละเขมร ต่อมา รับเอาลักษณะของดนตรีชาติใกล้เคียงอย่างพใ่าและมลายูเข้ามาด้วย อิทธิพลวมัยหลังมาจากกนะเทศ๗ี่ปุ่นและประเทฯตะวันตก \"เถา\" เป็นัทคนิคการปีะพันธ์ที่สำคัญที่สุดและใช้บ่อยทีรสุดในดนตรีไทยเป็นเวลาหลายร้อยปี เป็นเทคนิคที่รับมาจากปัลลาวีในภาคใต้ขเงอินเดีย ดนตรีไทยเดิมมีสามกลุ่มวงหลัก ได้แก่ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสายและวงมโหรี ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยเครื่องสายเรียบง่าย ปี่ไม้ไผ่ กลองแลดการขับลำนำ มนตรี ตราโมทเขียนว่า ชาวอยุธยาทุกคนเบ่นดนตรีเป็นงานอดิเรกและกิจกรรมยามว่าง นอกจากนี้ ในสมัยอยุธยาเกิดเครื่องดตตรีใหม่ ได้แก่ ระนาดและฆ้องวง คั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1800 (ประมาณปี 3340) ถึงปี 2475 ถือเป็นสมัย \"คลาสสิก\" ของดนตรีไทยเดิม ช้วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1930 ประเทศตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้น และรัฐบาลขัดขวางหรือปิพกั้นการบรรเลงดนตรีไทยในที่สาธรรณะ หลังจากนั้นมคความพยายามรื้อฟื้นดนตรีไทย มีการแสดงละครที่ใช้ดนตรีไทยในโรงละครแห่งชาติทุกปีแต่ผู้ชมเป็นคนต่าวด้าวมากกว่าคนไทย\nรำไทยแบ่งได้เป็นสองชนิดหลัก คือ รำพื้นบ้านและรำคลาสสิก รำพื้นบ้านมีความแตกต่างกันในสี่ภาค รำคลาสสิกมีท่าเคลื่อนไหว 108 ท่า ละครรำถือกำเนิดจรกรามเกียรติ์ ในสมัยอยุธยา โขนเป์นละครรำของไทยที่มีลื่อเสียงที่สุด โขนมีการเคลื่อนไหวกระฉับกระเฉงและเป็นทางการ มีเครื่องแต่งกายสีสันวิขิตร แลถสวมหน้ากาก ส่วนละครเป็นรำไทยาี่เป็นทางการน้อยกว่า ปบ่งชนิดหลักได้เป็นละครชาตรี ละครนอกและละครใน สังข์ทอง เป็นตัวอย่างละครที่มีลักษณะของละครรำที่ดี คือ โรแมนซ์ ความรัก สงคราม การแก้แค้น เหนือธรรมชาติและการไถ่บาป ละครรำพื้นบ้าน ได้แก่ ลิเกและมโนห์รา การแสดงหุ่นแระบอกของไทยเก่าแก่กว่าละครรำทุกชนิด ตัวอย่างเช่น หนังใหญ่และหนังตะชุง รำพื้นบ้าน เช่น ฟ้อนเทียนในภาคเหนือ ฟ้อนภูไท รำวงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนงิ้วก็ยังเป็นที่นิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้\n=== เทศกาลประเพณี ===\n\nสมัยกรุงศรีอยุธยา พระราชวังจัดปีะเพณีหลวงมุกเดืแน เรีนก \"พระราชพิธีสิบสองเดือน\" เช่น พิธีจรดพรัราชนังคัล (พิธีแรกนา), พิธีจองเปรียงลดชุดลอยโคม วันสงกรานต์ เป็นต้น พระราชพิธีสิบสองเดือนมีการระบศาสนาฮินดูเข้ามาผสมผสาน ส่วนประเพณีราษฎร์มีเกือบตลอดปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก \"ฮีตสิบสอง\" นอกจากนี้ ยังมีประเพณีขอฝนต่าง ๆ เบ่น พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ขอฝน พิธีแห่นางแมว พิธีจุดบั้งไฟ เป์นต้น ประเพณีหลวงส่วนใหญ่ยกเลิกไปแล้ว ประเพณีราษฎร์ทีทยังคงปฏิบัติสทบเนื่องมาอยู่ เช่น ประเพณีขอฝน ปตะเพณีงอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ เป็นต้น\nประเาศไทยจัดเทษกาลพุทธที่สำคัญและเป็นวันหยุดราชการ ได้แก่ มาฆบูชาในเดือตกุมภาพันธ์หรือมีนาคม วิสาขบูชาในเดือนพฤษภาคมหรือาิถุนายน อาสาฬหบูชาและเข้าพรรษาในเดือนกรกฎาคส ออกพรรษาในเดือนตุลาคม มีเทศกาลทหบุญ คือ ทอดกฐินในช่วงออกพรรษา และวันสารทเดือรสิบในกลางเดือนกันยายน\nนอกจากสี้ ยังมีเทศกาลที่ริเริ่มใหม่ที่กลุ่มมังคมและองค์การธุรกิจสนับสนุน ทั้งเป็นการแสดง นิทรรศการ งานบันเทิงต่าง ๆ เช่น งานช้างสุรินทร์ที่เริ่มในคริสต์ทศวรรษ 1960 การท่องเที่ยวแห่งปตะเทศไทยยังส่งเสริมงานจัดแสดงสินค้าท้องถิ่น\n=== วรรณกรรม ===\nวรรณกรรมไทยสามารถแบ่งได้เป็นสี่สมัยใหญ่ ๆ ตามราชธานี วรรณกรรมสุโขทัยเน้นกล่าวถึงวัฒนธรรมและศาสนาเป็นหลัก จารึกพ่อขุนรามคำแหงเป็นงานวรรณกรรมแรกที่ใช้อักษรไทย ไตรภูมิพรพร่วงแจกแจงปรัชญาพุทธจากคัมภีร์ต่าง ๆ กละอาจถือได้เป็นวาทนิพนธ์วิจัยแรกของไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีร้อยกรองรูปแบบใหม่ ๆ เกิดขึ้น เช่น ลิลิต กาพย์ห่อโคลง กาพย๋เห่เรือ กลอนกลบทและเพลงยาว งานวรรณกรรมที่สำคัญในสมัยนีั เช่น ลิลิตนวนพ่าย, ลิลิตพระลอ, จินดามณีฦึ่งเป็นตำราเรียนแรกของไทย, ตำนานศรีธนนชัย รวมทั้งงานวรรณคดีนาฏกรรมอย่างอิเหนาและรามเกียรติ์ ในสมัวรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีงานเกี่ยวกับสงคราม เช่น การแปลสามก๊กและราชาธิราช พระบาทสมเด็จพรถพุทธเลิษหล้านภาลัยทนงได้รับการยกย่องว่าเป็นกษัตริย์นักกวี ทรงแระพันฑ์และท_ให้แพร่หลายซึ่งละครและนิยายพื้นบ้่นหลานเรื่องอย่สงอิเหนา ไกรทอง และสังข์ทอง พระอภัยมณีเป็นผลงานสำคัญของกวีเอกสุนทรภธ่ นอกจสกนี้งานสำคัญอื่น เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน ต่อมา ในห้วงที่มีการตั้งแท่นพิมพ์ใจปี 2387 พบการเขียนลีลาตะวันตกในนิตยสารและบทความหนังสือพิมพ์ เรื่องสั้น นวนิยายและการแปลวรรณกรรม หลังการปฏิวัติสยามปี 2475 วรรณกรรมเปลั่ยนเป็นวรรณกรรมประชานิยม (popular literature) โดยนวนิยายไดีรับความนิยมอย่างมาก นักเขียนสมัยใหม่ที่สำคัญ เชืน หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน, สุภา สิริสิงห, ดัณหา เคียงศิริ (ก.สุรางคนางค์), จิระนันท์ พิตรปรีชา, จิตร ภูมิศักดื์, ชาติ กอบจิตติ และกุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา)\n=== กีฬา ===\n\nมวยไทยเป็นำีฬาประจำชาติไทย นักมวยไทยมักจะเป็นแชมเปียนระดับไลท์เวทของสมาคมมวยโลกเสมอ แลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเทศไทยรับเอากีฬาจากชาติตะวันตกเข้ามาหลายชนิด โดยเริ่มมีการแช่งบันในโรงเรียนในต้นค่ิสต์ศตวรรษที่ 20 ตามมรด้วยในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ฟุตบแลเป็นกัฬายแดนิยมในประเทศไทย โดยทีมชาติไทยได้แชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 7 ามัย แต่ยังไม่เคยผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ส่วนสนุกเปอร์ แบดมินตัน เทนนิส คักบี้ กีฬาขี่ม้าและกีฬาทางน้ำได้รับความนิยมรองลงมา สำหรับกีฬาไทยเดิมที่ได้รับควาทนิยมนั้น ไดัแก่ วทาวพนัน (kite fkghting) แข่งเรือและตะกร้อ\nประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแีกใน ค.ศ. 1952 และกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวใน ค.ศ. 2002 ประเทศไทยทำผลงานดีที่สุดในกีฬาชกมวย นักมวยสากลสมัครเล่น สมรักษ์ คำสิงห์เป็นนักกีฬาคนแรกที่รว้าเหรียญทองในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 นักกีฬาไทยทำผลงานไดเดีในกีฬาซีเกมส์ ปนะเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการอข่งขันเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง (ค.ศ. 1966, 197-, 1978 และ 1998( และซีเกมส์ 6 ครั้ง นอกจากนี้ยังเคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชียนคัพและฟุตบอลโฃกหญิงเยาวชนอีกด้วย\n=== สื่อมวลชน ===\nในรายงานเสรีภาพสื่อปี 2558 ของฟรีดอมเฮาส์ระบุว่าสื่อไทย \"ไม่เสรี\" และจัดอยู่ในอันดับที่ 166 จาก 199 ประเทศในด้านเสรีภาพสื่อ หลังรัฐประหทรในปี 2549 และ 2557 สื่อไทยถูกจำกัดและมีการตรวจพิจารณา\nปัจจุบันโทรทัศน์เป็นสื่อยอดนิบมในประเทศไทย ประมาณการว่าชาวไทยเกือบร้อยละ 80 ยึดโทรทัศน์เป็สแหล่งข่าวหลัก สถานีโทรทัศน์ภาคะื้นดินจำนวนหกแห่งมีรัฐบาลเป็นเจ้าของ ทั้งหมดแพร่สัญญาณในระบบดิจิทัลหลังยุติการแพร่สัญญาณระบบแอนะล็อกทั้งหมดในผี 2563\nประเ่ศไืยมีหนังสือพิมพ์อละนิตยสารหลายร้อยฉบับทุกสัปดาห์ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐมียอดจำหน่ายประมาณ 1 ล้านฉบับต่อวัน ส่วน มติชน มียอดขาย 900,000 ฉบับ จำนวนผู้อ่านหนังสือพิมพ์และนิตยสารงดลง โดยชาวไทยอายุ 15–24 ปี ร้อยละ t0.1 ระบุว่าตนอ่านนิตยสารในปี 2558 ลดลงตากร้อยละ 61.7 ในผี 2556 การบอกรับสมาชิกสิ่งพิมพ์ลดลงเมื่อมีผู้อ่านทางอุปกรณ์เคลื่อนที่มากขึ้น\nในปี 2559 ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รวมผู้ใช้อุปพรณ์เคลื่อนที่ประมาณ 43.87 ล้านคน รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเ่ศไทย ปึ 2560 พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 6 ชั่วโสง 30 นาทีต่อวัน ในปี 2558 พบว่า ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปใช้โทรศัพท์อัจฉริยะเจ้าถึงอินเทอร์เน็ตมากที่สุด (90.3%) รองลงมาไะ้แก่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (50.1%) คอมพิวเตอร์พกพา (24.9%) และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (15.2^)\n== เชิงอรรถ ==\n== อ้างอิง ==\n== อ่านเพิ่ม ==\nChachavalpongpun, Pavin, ed. Routledge Handbook Of Contemporary Ttailand (2020)\nCooper, Robert. Culture Shock! Thailand: A Survival Guide to Customs and Etiquette (2008)\nLondon, Ellen. Thailand Condensed: 2000 Years of Hiwtory & Culture (2008)\nLonely Planetps Best of Thailand (2020)\nMishra, Patit Paban. The History of Thai/and (Greenwood, 2010)\nMoore, Frank J. ed. Thailand: Its People, Its Society, Its Culture (HRAF Prdss, 1974).\nWyatt, David K. Thailand: A Short History (Yale University Press, 2003)\nZawacki, Benjamin. Thailand: Shifting ground between the US ahd a rising Xhina (2nd ed. . Bloomsbury, 2021).\n== แหล่งข่อมูลอื่น ==\nรัฐบาล\nรัฐบาลไทย – ะว็บไซต์อย่างเป็นทางการของรัฐบาล\nประมุขแห่งรัฐและสมาชิกคณะรัฐมนตรี\nMfa.go.th – กระทรวงการต่างประเทศ\nHhailand Internet informat7on – ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิบเตอร?อห่งชาติ\nกระทรวงวัฒนธรรม (อังกฤษ)\nข้อมูลทั่วไป\nThailand. Tje World Factbook. Centrak Intelligence Agency.\nประเทศไทย ในLibrary of Congreqs Country Studies. 1987\nThailand from UCB Libraries GovPubs\nThailand จาก BBS News\nประอทศไทย ใน Encyclopædia Britannica\nLongdo Map – แผนที่ประเทศไทยในภาษาไทยและอังกฤษ\nKey Development Forecasts for Thailand from International Futur2s\n2010 Thailand population census by Economic and Social statistics Bureau\nการท่องเที่ยว\nการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย – เว็บไซต์ทาลการ\nอท่น ๆ\nRhailand Country Fact Sheet from the Common Language Project\n \nท\nประเทศริมฝัทงมหาสมุทรอินเดีย\nรัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้\nรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออืสลทม",
"role": "user"
},
{
"content": "ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า \"สยาม\" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 70 ล้านคน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศเหนือและตะวันตก ประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออก ประเทศกัมพูชาทางทิศตะวันออก และประเทศมาเลเซียทางทิศใต้ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง โดยมีรัฐประหารครั้งล่าสุดในปี 2557\nพบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 แทนจักรวรรดิเขมร อาณาจักรอยุธยาสามารถผนวกสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนได้ การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 การสงครามกับพม่านำไปสู่การเสียกรุงในปี 2112 แต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงประกาศอิสรภาพในเวลา 15 ปี อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์\nช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อาณาจักรสามารถรับมือกับภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับเริ่มจากสนธิสัญญาเบาว์ริง กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460 ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหาร รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 นำประเทศเข้าสู่ยุคเผด็จการทหารอย่างเบ็ดเสร็จ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและดำเนินนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ แต่หลังจากเหตุการณ์ 6 ตุลา และรัฐประหารปี 2519 ทำให้ประเทศไทยกลับเข้าสู่เผด็จการทหารและ \"ประชาธิปไตยครึ่งใบ\" ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560\nประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2562 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 516,662 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 25 ของโลก\n== ชื่อเรียก ==\n\nชาวต่างชาติเรียกอาณาจักรอยุธยาว่า \"สยาม\" เมื่อราวปี 2000 ยอร์ช เซเดส์ นักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เขียนว่ามีการพาดพิงทาสหรือเชลยศึกซีเอม (Syam) ในจารึกอาณาจักรจามปาในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ทว่าคนไทยไม่เคยเรียกตนเองว่า \"สยาม\" หรือ \"ชาวสยาม\" เลย ส่วนคำว่า \"คนไทย\" นั้น จดหมายเหตุลาลูแบร์ได้บันทึกไว้ชัดเจนว่า ชาวอยุธยาเรียกตนเองเช่นนั้นมานานแล้ว\nเดิมประเทศไทยเคยใช้ชื่อว่า สยาม มาแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยปรากฏใช้เป็นชื่อประเทศชัดเจนในปี 2399 ต่อมา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2482 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรัฐนิยม ฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อประเทศ พร้อมกับเรียกประชาชน และสัญชาติจาก \"สยาม\" มาเป็น \"ไทย\" ซึ่งจอมพล ป. ต้องการบอกว่าดินแดนนี้เป็นของชาวไทยมิใช่ของเชื้อชาติอื่นตามลัทธิชาตินิยมในเวลานั้น ต่อมามีการเปลี่ยนชื่อประเทศกลับเป็นสยามอีกช่วงสั้น ๆ เมื่อปี 2488 และเปลี่ยนกลับมาใช้ว่าไทยอีกครั้งเมื่อปี 2491 ซึ่งเป็นช่วงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรี การเปลี่ยนชื่อในครั้งนี้ยังเปลี่ยนจาก \"Siam\" ในภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็น \"Thaïlande\" ในภาษาฝรั่งเศส และ \"Thailand\" ในภาษาอังกฤษอย่างในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ชื่อ สยาม ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ\nในความหมายอย่างเคร่งครัด คำว่า \"ไทย\" หมายถึงประเทศไทยในช่วงหลังการเปลี่ยนชื่อประเทศหลังปี 2482 โดยเว้นช่วงสั้น ๆ ที่เปลี่ยนกลับไปเป็นชื่อ \"สยาม\" ระหว่างปี 2488–91 ดังกล่าวข้างต้น ทว่าในความหมายอย่างกว้าง คำว่า \"ไทย\" อาจใช้หมายถึงราชอาณาจักรทั้งหลายซึ่งนักประวัติศาสตร์กระแสหลักถือเป็นราชธานีของคนไทยตั้งแต่อาณาจักรสุโขทัยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน\n== ประวัติศาสตร์ ==\n=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===\n\nมีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีมนุษย์อยู่อาศัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ยุคหินเก่าอย่างน้อยราว 20,000 ปี พบหลักฐานการปลูกข้าวเก่าแก่สุดเมื่อ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ยุคสำริดเกิดขึ้นระหว่าง 1,250–1,000 ปีก่อนคริสตกาลโดยคาดว่ารับมาจากตอนใต้ของจีน แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงในจังหวัดอุดรธานีจัดเป็นศูนย์การผลิตทองแดงและสำริดเก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาลเริ่มปรากฏการใช้เหล็ก อาณาจักรฟูนันเป็นอาณาจักรแรกสุดและทรงอำนาจที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เจริญขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ต่อมา ชาวมอญอาศัยช่วงที่ฟูนันเสื่อมลงตั้งอาณาจักรของตน คือ อาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรหริภุญชัยในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ส่วนชาวเขมรตั้งอาณาจักรใหญ่มีศูนย์กลางอยู่ที่อังกอร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาณาจักรตามพรลิงก์เป็นรัฐมลายูที่ควบคุมการค้าผ่านช่องแคบมะละกาที่ทรงอำนาจที่สุด เจริญขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10\nไทยสยามจัดอยู่ในกลุ่มชาวไท (Tai people) ซึ่งปัจจุบันอาศัยอยู่ในบริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียแผ่นดินใหญ่ โดยมีภาษาร่วมกัน หลักฐานจีนบันทึกถึงชาวไทครั้งแรกในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล เดิมมีแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทอยู่หลายแนวคิด เดวิด เค. วัยอาจ (David K. Wyatt) ระบุว่าบรรพบุรุษของชาวไทในประเทศลาว ไทย พม่า อินเดียและจีนปัจจุบันเป็นกลุ่มที่อาศัยอยู่ในแถบเดียนเบียนฟูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 ราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มมีคนไทมาอยู่อาศัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันซึ่งในเวลานั้นมีอาณาจักรมอญและเขมรอยู่ ทำให้วัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย มอญและเขมร\n=== อาณาจักรสุโขทัยและแคว้นต่าง ๆ ===\n\nเมื่อจักรวรรดิขแมร์และอาณาจักรพุกามเสื่อมอำนาจเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ทำให้เกิดรัฐใหม่ขึ้นเป็นจำนวนมากในเวลาไล่เลี่ยกัน อาณาจักรของชาวไทกินอาณาบริเวณตั้งแต่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียปัจจุบันจนถึงทิศเหนือของลาว และลงไปถึงคาบสมุทรมลายู ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 มีประชากรชาวไทอาศัยอยู่มั่นคงในอดีตดินแดนแกนกลางของอาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรลพบุรี จนถึงดินแดนนครศรีธรรมราช แต่ไม่มีบันทึกรายละเอียดการเข้ามาของชาวไท ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1240 (ประมาณปี 1780) พ่อขุนบางกลางหาวรวบรวมกำลังกบฏต่อเขมร และราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยพระองค์แรก อาณาจักรสุโขทัยแผ่ขยายดินแดนออกไปอย่างกว้างขวางในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จรดน่านและหลวงพระบางทางทิศเหนือ นครศรีธรรมราชทางทิศใต้ พุกามและมะตะบันทางทิศตะวันตก อย่างไรก็ดี อาณาเขตอันกว้างใหญ่นี้น่าจะเกิดจากการสวามิภักดิ์ของเจ้าท้องถิ่นมากกว่า นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงประดิษฐ์อักษรไทย มีเครื่องดินเผาสวรรคโลกเป็นสินค้าออกสำคัญ แต่เสถียรภาพของอาณาจักรได้อ่อนแอลงภายหลังการสวรรคตของพระองค์ ในรัชกาลพญาลิไท อาณาจักรรับอิทธิพลของศาสนาพุทธนิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์\nส่วนเหนือขึ้นไป พญามังรายซึ่งสืบราชสมบัติหิรัญนครเงินยางเชียงราว ทรงตั้งอาณาจักรล้านนาขึ้นในปี 1839 มีศูนย์กลางอยู่ที่เชียงใหม่ ทรงรวบรวมแว่นแคว้นขึ้นในแถบลุ่มแม่น้ำปิง พระมหากษัตริย์ล้านนาล้วนสืบเชื้อสายจากพระองค์ต่อเนื่องกันกว่าสองศตวรรษ และสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางการแต่งงานกับเจ้าเมืองต่าง ๆ จรดแม่น้ำน่านทางทิศตะวันออกและเหนือแม่น้ำโขงขึ้นไป ส่วนบริเวณเมืองท่าบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง มีการตั้งสหพันธรัฐในบริเวณเพชรบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรีและอยุธยาในคริสต์ศตวรรษที่ 11\n=== อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ===\n\nอาณาจักรอยุธยากำเนิดจากลพบุรีและสุพรรณบุรีที่อยู่ใกล้เคียง พระเจ้าอู่ทองทรงก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี 1893 ในเขตเมืองอโยธยาเดิม การปกครองของอาณาจักรอยุธยามีลักษณะเป็นเครือข่ายราชรัฐและจังหวัดบรรณาการที่สวามิภักดิ์ต่อพระมหากษัตริย์อยุธยาตามระบบมณฑล เนื่องจากขาดกฎสืบราชสมบัติ เมื่อใดที่มีการผลัดแผ่นดินจะมีเจ้าหรือขุนนางทรงอำนาจยกทัพเข้าเมืองหลวงเพื่ออ้างสิทธิ์ทำให้เกิดการนองเลือดบ่อยครั้ง การขยายอาณาเขตช่วงแรกอาศัยการพิชิตดินแดนและการอภิเษกทางการเมือง ในปี 1912, 1931 และ 1974 อาณาจักรอยุธยายกทัพไปตีเมืองพระนคร (นครธม) เมืองหลวงของจักรวรรดิขแมร์ ได้ทั้งสามครั้ง ทำให้อาณาจักรอยุธยาเป็นมหาอำนาจแทนจักรวรรดิขแมร์ การเข้าแทรกแซงสุโขทัยอย่างต่อเนื่องทำให้สุโขทัยตกเป็นประเทศราชและส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาตามลำดับ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ ซึ่งบางส่วนได้ใช้มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงสถาปนาระบบศักดินา ก่อให้เกิดระบบไพร่ซึ่งเป็นแรงงานเกณฑ์ให้ราชการปีละหกเดือน อย่างไรก็ดี การพยายามขยายอำนาจไปยังรัฐสุลต่านมะละกาทางใต้ และอาณาจักรล้านนาไม่ประสบความสำเร็จ\nการยึดครองมะละกาของโปรตุเกสในปี 2054 ทำให้กรุงศรีอยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตก การชิงความเป็นใหญ่ระหว่างอาณาจักรอยุธยาและอาณาจักรพม่าเหนือเชียงใหม่และมอญทำให้ทั้งสองขัดแย้งกัน ขณะเดียวกัน ราชวงศ์ตองอูของพม่าเริ่มมีอำนาจมากขึ้น กระทั่งขยายดินแดนมายังกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้าบุเรงนอง หลังจากนั้น กรุงศรีอยุธยาตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรตองอูในปี 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้เวลา 15 ปีสร้างภาวะครอบงำในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอีกครั้งหนึ่ง\n\nจากนั้น กรุงศรีอยุธยายังมุ่งเพิ่มความสัมพันธ์กับชาติยุโรปต่อมาอีกหลายรัชกาล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอยุธยารุ่งเรืองขึ้นอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับฝรั่งเศส ฮอลันดา และอังกฤษ ผู้เดินทางชาวยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ยกอาณาจักรอยุธยาว่าเป็นสามมหาอำนาจแห่งเอเชียร่วมกับจีนและอินเดีย อิทธิพลของชาวต่างชาติในกรุงศรีอยุธยาที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดความเกลียดกลัวต่างชาติ จนลงเอยด้วยการปฏิวัติในปี 2231 อย่างไรก็ดี ความสัมพันธ์กับชาติยุโรปอื่นยังเป็นปกติและต่อมาบาทหลวงฝรั่งเศสก็กลับมามีอิสระในการเผยแผ่ศาสนา\nอาณาจักรอยุธยาเริ่มเสื่อมอำนาจลงราวพุทธศตวรรษที่ 24 รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศถือเป็น \"สมัยบ้านเมืองดี\" ในกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ความขัดแย้งภายในติด ๆ กันหลายรัชกาล และการสงครามกับราชวงศ์คองบอง (อลองพญา) จนส่งผลให้เสียกรุงครั้งที่สองเมื่อปี 2310 ซึ่งก่อนหน้านั้นกรุงศรีอยุธยาว่างเว้นจากศึกสงครามมากว่า 150 ปี หลังจากนั้นบ้านเมืองแตกออกเป็นก๊กเป็นเหล่ารวมทั้งสิ้น 5 ก๊ก ในปีเดียวกัน เจ้าตากได้รวบรวมไพร่พลขับไล่พม่า และย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงธนบุรี พระองค์ทรงรวบรวมแผ่นดินให้อยู่ภายใต้พระองค์ ด้านสงครามภายนอก กองทัพธนบุรีสามารถขับไล่พม่าออกจากล้านนาได้ในปี 2319 และยึดกรุงเวียงจันทน์ได้ในปี 2321 อาณาจักรธนบุรีมีอายุเพียง 15 ปีและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียว หลังเกิดความขัดแย้งช่วงปลายรัชกาล พระองค์และพระราชโอรสทั้งหลายทรงถูกสำเร็จโทษโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2325\n=== กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นและสมัยอาณานิคม ===\nในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กรุงรัตนโกสินทร์สามารถป้องกันการเข้าตีของพม่าครั้งใหญ่ในปี 2328 และยุติการบุกครองของพม่า ก่อนพระองค์สวรรคตสามารถสถาปนาอำนาจปกครองเหนือพื้นที่ไพศาลอันเป็นที่ตั้งของประเทศลาวและกัมพูชาปัจจุบัน ในปี 2364 จอห์น ครอว์เฟิร์ดถูกส่งมาเจรจาความตกลงการค้าฉบับใหม่กับกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งเป็นสัญญาณแรกของปัญหาที่จะครอบงำการเมืองสยามในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี 2369 กรุงเทพมหานครลงนามสนธิสัญญาเบอร์นี หลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่งยุติลงด้วยชัยของอังกฤษ ปีเดียวกัน เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ทรงก่อกบฏเพราะเข้าพระทัยว่าอังกฤษจะบุกกรุงเทพมหานคร แต่ถูกปราบปราม ผลทำให้กรุงเวียงจันทน์ถูกทำลาย รวมทั้งมีการกวาดต้อนชาวลาวข้ามแม่น้ำโขงมาอยู่ในเขตที่ราบสูงโคราชจำนวนมาก กรุงเทพมหานครยังทำสงครามแย่งชิงอิทธิพลเหนือกัมพูชากับญวน ทำให้กรุงเทพมหานครกลับมามีอิทธิพลเหนือกัมพูชาอีกครั้ง\n\nตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สยามพยายามทำให้กลุ่มชาติพันธุ์ภายในราชอาณาจักรให้อยู่ในฐานะอาณานิคม ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยตระหนักถึงภัยคุกคามจากชาติตะวันตก ราชสำนักจึงติดต่อรัฐบาลอังกฤษโดยตรงเพื่อลดความตึงเครียด ฝ่ายรัฐบาลอังกฤษส่งเซอร์จอห์น เบาริ่งเข้ามาทำสนธิสัญญาเบาว์ริง ซึ่งเป็นสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมฉบับแรก ๆ อันนำมาสู่การทำสนธิสัญญากับชาติอื่นด้วยเงื่อนไขที่คล้ายกัน หากก็นำมาซึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจในกรุงเทพมหานครและการค้าระหว่างประเทศ การเสด็จสวรรคตอย่างกระทันหันของพระองค์ด้วยโรคมาลาเรียทำให้เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ สืบราชสมบัติทั้งที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการ\nพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรวมศูนย์อำนาจ ตั้งสภาช่วยราชการ การเลิกทาสและไพร่อันเป็นการยกเลิกระบบแรงงานเกณฑ์ วิกฤตการณ์วังหน้าในปี 2417 ทำให้ความพยายามปฏิรูปต้องหยุดชะงัก ในคริสต์ทศวรรษ 1870–80 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้นโยบายผนวกหัวเมืองเหนือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร และต่อมาได้ขยายไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ในปี 2430 มีการตั้งกรมจำนวน 12 กรมซึ่งต่อมาเป็นกระทรวงต่าง ๆ ในปี 2436 เกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 เนื่องจากความขัดแย้งกับฝรั่งเศสทำให้มีการเรียกร้องเอาดินแดนลาวฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ฝรั่งเศสและบริเตนตกลงให้สยามเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งสอง ล่วงเข้าคริสต์ศตวรรษที่ 20 สยามมุ่งเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมตั้งแต่สนธิสัญญาเบาว์ริงรวมทั้งสิทธิสภาพนอกอาณาเขต แต่ต้องแลกมาด้วยการแลกเปลี่ยนดินแดนหลายครั้ง ต่อมามีการเริ่มระบบมณฑลเทศาภิบาลซึ่งเป็นการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ ในปี 2448 เกิดกบฏในหัวเมืองปัตตานีโบราณ อุบลราชธานี และแพร่เพื่อต่อต้านความพยายามลดทอนอำนาจของเจ้าผู้ปกครองท้องถิ่น\nในปี 2454 เกิดกบฏ ร.ศ. 130 ซึ่งคณะนายทหารพยายามล้มล้างระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตอบโต้ด้วยการโฆษณาชวนเชื่อจนสิ้นรัชกาล ทรงเผยแพร่แนวพระราชดำริว่าด้วยชาติไทย ในปี 2460 รัฐบาลประกาศเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยถือฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อตัดความกังวลที่ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจัดการกับประเทศเป็นกลางและต้องการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมต่าง ๆ ผลทำให้สยามได้เข้าร่วมการประชุมสันติภาพที่แวร์ซาย มีอำนาจอิสระในการเก็บภาษีและยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต\n=== ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ สงครามโลกครั้งที่สอง และสงครามเย็น ===\n\nสืบจากปัญหาเศรษฐกิจรุนแรงจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ และราคาข้าวตกลงอย่างรุนแรง นอกจากนี้ยังมีการลดรายจ่ายภาครัฐอย่างมากทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่อภิชน วันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรนำปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทำให้คณะราษฎรเข้ามามีบทบาททางการเมือง ปลายปี 2476 เกิดกบฏบวรเดช ซึ่งหวังเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับสู่สมบูรณาญาสิทธิราช แต่ล้มเหลว ปี 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความเห็นไม่ลงรอยกับรัฐบาลจึงทรงสละราชสมบัติในปี สภาผู้แทนราษฎรเลือกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งขณะนั้นทรงศึกษาอยู่ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์\nเดือนธันวาคม 2481 พลตรีหลวงพิบูลสงครามได้เป็นนายกรัฐมนตรี เขาปราบปรามศัตรูทางการเมืองรวมทั้งต่อต้านราชวงศ์อย่างเปิดเผย รัฐบาลมีแนวคิดชาตินิยมและปรับให้เป็นตะวันตก และเริ่มดำเนินนโยบายต่อต้านจีนและฝรั่งเศส วันที่ 23 มิถุนายน 2482 มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก \"สยาม\" มาเป็น \"ไทย\" ในปี 2484 เกิดสงครามขนาดย่อมขึ้นระหว่างวิชีฝรั่งเศสกับไทย ทำให้ไทยได้ดินแดนเพิ่มจากลาวและกัมพูชาช่วงสั้น ๆ วันที่ 8 ธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศญี่ปุ่นบุกครองไทย และรัฐบาลลงนามเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่น และประกาศสงครามกับสหรัฐและสหราชอาณาจักร มีการตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นทั้งในและต่างประเทศเพื่อต่อต้านรัฐบาลและการยึดครองของญี่ปุ่น หลังสงครามยุติในปี 2488 ประเทศไทยลงนามความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อเลิกสถานะสงครามกับสหราชอาณาจักร\nในเดือนมิถุนายน 2489 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตอย่างเป็นปริศนา และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดชทรงสืบราชสมบัติต่อมา รัฐประหารปี 2490 โดยฝ่ายนิยมเจ้าและทหารทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจทางการเมือง และเข้าสู่ยุค \"การเมืองสามเส้า\" ในระหว่างปี 2490 ถึง 2500 โดยแปลก, สฤษดิ์ ธนะรัชต์, และเผ่า ศรียานนท์ คานอำนาจกัน ในปี 2497 ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีโต้) เป็นพันธมิตรกับสหรัฐ ในปี 2500 ฝ่ายนิยมเจ้าและอนุรักษนิยมรัฐประหารโดยมีจอมพลสฤษดิ์เป็นหัวหน้า จอมพลสฤษดิ์ปกครองอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เขาสร้างความชอบธรรมโดยตอกย้ำสภาพสมมติเทพของกษัตริย์ และผูกโยงความจงรักภักดีต่อรัฐบาลกับพระมหากษัตริย์ รัฐบาลมุ่งปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและการศึกษา และในปี 2504 หลังสหรัฐเข้าสงครามเวียดนาม เกิดสัญญาลับซึ่งสหรัฐให้การคุ้มครองไทย\nสงครามเวียดนามเร่งให้เกิดการทำให้ทันสมัยและการกลายเป็นตะวันตกของสังคมไทย มีการอพยพจากชนบทสู่เมืองเพื่อหางาน ชาวนาในชนบทเกิดสำนึกเรื่องชนชั้นและรวมตัวกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเริ่มตั้งแต่ปี 2507 การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการศึกษาทำให้เกิดชนชั้นกลางใหม่ขึ้นในกรุงเทพมหานครและตามหัวเมืองใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีการศึกษา มีรายได้พอสำหรับการให้การศึกษาแก่บุตร และสามารถเปลี่ยนฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมได้ ในเดือนตุลาคม 2514 มีการชุมนุมใหญ่ต่อต้านเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร และมีการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิต ที่เรียก \"เหตุการณ์ 14 ตุลา\" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งสัญญา ธรรมศักดิ์เป็นนายกรัฐมนตรีนับว่าพระมหากษัตริย์เข้ามามีบทบาททางการเมืองโดยตรงครั้งแรกนับแต่ปี 2475 ผลของเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ที่มักเรียกว่า \"ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน\"\n=== ร่วมสมัย ===\nหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 มีการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและเสรีภาพในการแสดงออกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน รวมทั้งการแพร่หลายของวรรณกรรมคอมมิวนิสต์ ในช่วงนั้นรัฐบาลผสมหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชไม่มั่นคงและคอมมิวนิสต์ชนะทั้งในเวียดนาม ลาวและกัมพูชา สถาบันพระมหากษัตริย์ ชนชั้นนำและชนชั้นกลางจำนวนมากมองว่านักศึกษาฝ่ายซ้ายถูกคอมมิวนิสต์ชี้นำ ทำให้มีการสนับสนุนองค์การฝ่ายขวาต่าง ๆ ปลายปี 2519 เกิดการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน \"เหตุการณ์ 6 ตุลา\" เป็นการปิดฉากการทดลองทางประชาธิปไตย กองทัพกลับเข้ามามีอำนาจ และการแสดงออกถูกปิดกั้น หลังจากนั้น รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร \"กลับไปใช้อำนาจนิยมยิ่งกว่าสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช\" นักเคลื่อนไหวฝ่ายซ้ายหนีเข้าป่าและออกนอกประเทศจำนวนมาก รัฐบาลเริ่มเสียการสนับสนุนจากกองทัพ จนมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีในปี 2520 รัฐบาลใหม่ของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ไม่สามารถรับมือกับปัญหาเศรษฐกิจและปัญหาผู้ลี้ภัยและการปะทะตามชายแดนกับเวียดนามทำให้พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีแทน\nการสู้รบกับคอมมิวนิสต์ยุติลงอย่างสิ้นเชิงเมื่อปี 2523 รัฐบาลสามารถนำผู้ก่อการเริบกลับเข้าสู่สังคมและจัดการเลือกตั้งทั่วไปได้ในปี 2526 พลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรีแปดปีในระบอบ \"ประชาธิปไตยครึ่งใบ\" ซึ่งมีสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกมาจากการเลือกตั้งและวุฒิสภาที่สมาชิกมาจากการแต่งตั้ง ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 ได้แก่ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เขาดูแลกองทัพที่เป็นพวกของตน ทำให้กองทัพอีกฝ่ายยึดอำนาจในเดือนกุมภาพันธ์ 2534 นำโดยพลเอก สุจินดา คราประยูร ทีแรกเขาให้สัญญาว่าจะไม่รับอำนาจทางการเมืองแต่สุดท้ายเขาตระบัดสัตย์และเข้าเป็นหัวหน้ารัฐบาลใหม่ ทำให้เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาล เกิดการสลายการชุมนุมทำให้มีผู้เสียชีวิต เรียกเหตุการณ์นี้ว่า \"พฤษภาทมิฬ\" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรับสั่งให้พลเอกสุจินดาและพลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำผู้ประท้วง เข้าเฝ้า แล้วหลังจากนั้นพลเอกสุจินดาก็ลาออก\nปี 2540 เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เรียกว่า \"วิกฤตต้มยำกุ้ง\" ยุติการเติบโตทางเศรษฐกิจ 40 ปีติดต่อกัน ทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง รัฐบาลชวน หลีกภัยทำข้อตกลงกู้ยืมเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ แต่ปัญญาชนหลายคนโจมตีว่าเป็นกองทุนช่วยเหลือคนรวย และไม่สนใจการฉ้อราษฎร์บังหลวง ต่อมา ทักษิณ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้งทั่วไปปี 2544 นโยบายของเขาประสบความสำเร็จในการลดความยากจนในชนบท และริเริ่มระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งทำให้เขาได้รับฐานเสียงขนาดใหญ่ในหมู่คนยากจน ในปี 2547 เกิดคลื่นสึนามิพัดถล่มภาคใต้และเริ่มต้นความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้อีกครั้ง ในปี 2548 ทักษิณชนะการเลือกตั้งทั่วไปอย่างถล่มทลายและดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สอง โดยมีผู้มาใช้สิทธิมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ตั้งแต่ปลายปี 2548 เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองขึ้นโดยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ประท้วงขับไล่เขาออกจากตำแหน่ง สุดท้ายมีรัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณในเดือนกันยายน 2549 รัฐบาลทหารปกครองประเทศหนึ่งปีจนมีการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปในปี 2550\nพรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปในปี 2550 และจัดตั้งรัฐบาล ต่อมา พธม. จัดการชุมนุมใหญ่ในปี 2551 ซึ่งมีการปิดท่าอากาศยานดอนเมืองและสุวรรณภูมิ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรครัฐบาล 3 พรรค หลังจากนั้น พรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นรัฐบาล แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนับสนุนทักษิณ ชุมนุมประท้วงรัฐบาลในปี 2552 และ 2553 ซึ่งครั้งหลังนี้ยุติลงด้วยการเข้าสลายการชุมนุมของทหารทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 70 คน ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 ผลปรากฏว่าพรรคเพื่อไทย นำโดยยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้ง และเป็นผู้นำจัดตั้งรัฐบาล ในปีเดียวกัน เกิดมหาอุทกภัย มีพื้นที่ประสบภัย 65 จังหวัด นับเป็น \"อุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุดทั้งในแง่ของปริมาณน้ำและจำนวนผู้ได้รับผลกระทบ\"\nปลายปี 2556 เกิดวิกฤตการณ์การเมืองรอบใหม่ มีสาเหตุหลักจากสภาผู้แทนราษฎรผลักดันร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ เกิดการชุมนุมประท้วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์ และรัฐบาลยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่ศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนการเลือกตั้ง วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 กองทัพยึดอำนาจการปกครองประเทศ คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองพยายามจัดโครงสร้างการเมืองเพื่อสงวนอำนาจของอภิชน เพิ่มบทบาทและอำนาจของกองทัพขณะที่ลดอำนาจของประชาสังคมและการปกครองส่วนท้องถิ่นจากการเลือกตั้ง นอกจากนี้ยังมีการวางแผนปฏิรูปประเทศ 20 ปี และให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งทำให้ประเทศไทยเข้าสู่ยุคที่กองทัพชี้นำประชาธิปไตย หลังพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตในปี 2559 และเข้าสู่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว กองทัพก้าวเข้ามาเป็นผู้ชี้นำการกระจายอำนาจและผลประโยชน์ในช่วงหลังเปลี่ยนรัชกาลใหม่ ต่อมาในปี 2560 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับล่าสุด หลังการลงประชามติเมื่อปีก่อน\nหลังจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติครองอำนาจยาวนานถึง 5 ปี 1 เดือน 3 สัปดาห์ 3 วัน คสช.ก็ยอมให้จัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2562 ผลทำให้เกิดรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชารัฐเป็นแกนนำ โดยได้รับการสนับสนุนจากวุฒิสภา ในปี 2563 เริ่มเกิดการประท้วงในประเทศต่อต้านรัฐบาลประยุทธ์สืบเนื่องจากคำวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่ ตลอดจนมาตรการรับมือการระบาดทั่วของโควิด-19 ของรัฐบาล ในการประท้วงนั้นมีข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมทั้งมีกระแสสาธารณรัฐนิยมมากที่สุดอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน\nในวันที่ 22 สิงหาคม 2566 ปรากฏว่าพรรคเพื่อไทยได้จัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคการเมืองฝ่ายทหารสองพรรค ได้แก่ พรรครวมไทยสร้างชาติซึ่งมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (อดีตหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) เป็นอดีตประธานยุทธศาสตร์พรรค และพรรคพลังประชารัฐซึ่งมีพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (อดีตรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) เป็นหัวหน้าพรรค ส่งผลให้พรรคก้าวไกลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดจากการเลือกตั้งกลายเป็นพรรคฝ่ายค้าน\n== ภูมิประเทศ ==\nประเทศไทยตั้งอยู่กลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังอยู่บนคาบสมุทรมลายูด้วย อยู่ระหว่างละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก มีพรมแดนด้านตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศใต้เป็นแดนต่อแดนประเทศมาเลเซียและอ่าวไทย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศพม่า และทิศเหนือติดประเทศพม่าและลาว มีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วง ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 51 ของโลกและอันดับที่ 3 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซียและเมียนมาร์ ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเล (maritime zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กว่า 323,488 ตารางกิโลเมตร มีความยาวชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทย และฝั่งอันดามันรวมถึงช่องแคบมะละกาตอนเหนือ รวมความยาวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร\nประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ภาคเหนือเป็นพื้นที่ภูเขาสูงสลับซับซ้อน จุดสูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์ ณ 2,565 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รวมทั้งยังปกคลุมด้วยป่าไม้อันเป็นต้นน้ำที่สำคัญของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของที่ราบสูงโคราช สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่ค่อยเอื้อต่อการเพาะปลูก ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง มีแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำใหญ่ที่สุดในประเทศซึ่งเกิดจากแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่านที่ไหลมาบรรจบกันที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ ทำให้ภาคกลางเป็นภาคที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด และถือได้ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งของคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยทะเลทั้งสองด้าน มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แล้วขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลายู ทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ส่วนภาคตะวันตกเป็นหุบเขาและแนวเทือกเขาซึ่งพาดตัวมาจากทางตะวันตกของภาคเหนือ\n=== ภูมิอากาศ ===\nภูมิอากาศของไทยส่วนใหญ่เป็นแบบ \"ภูมิอากาศร้อนชื้นเขตร้อนหรือสะวันนา\" ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ส่วนปลายใต้สุดและตะวันออกสุดของประเทศมีภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ประเทศไทยมีอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่าง 18–34 °C\nประเทศไทยมี 3 ฤดูกาล ฤดูแรกเป็นฤดูฝนหรือฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) ฝนตกหนักที่สุดในเดือนสิงหาคมและกันยายน ฤดูหนาวหรือฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีอากาศแห้งและอุณหภูมิไม่ร้อนมาก ยกเว้นภาคใต้ที่มีฝนตกหนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ส่วนฤดูร้อนหรือฤดูก่อนมรสุมกินเวลาตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคมซึ่งมีอากาศร้อน สำหรับภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลางและตะวันออกของประเทศไทย เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมเป็นช่วงที่ร้อนที่สุดของปี ปกติอุณหภูมิมักสูงถึง 40 °C ยกเว้นพื้นที่ชายฝั่ง ในทางตรงข้าม การพัดของลมเย็นจากประเทศจีนทำให้อุณหภูมิต่ำลง ซึ่งบางกรณีอาจเข้าใกล้หรือต่ำกว่า 0 °C ได้ ภาคใต้มีความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกลางคืนและระหว่างฤดูกาลน้อยเนื่องจากอิทธิพลของทะเล\nพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีฝนตกเฉลี่ยทั้งปี 1,200 ถึง 1,600 มิลลิเมตร แต่ในบางพื้นที่ที่เป็นฝั่งรับลมของภูเขา เช่น จังหวัดระนองและจังหวัดตราดมีปริมาณฝนกว่า 4,500 มิลลิเมตรต่อปี ส่วนบริเวณแห้งแล้งคือฝั่งรับลมของหุบเขาภาคกลางและส่วนเหนือสุดของภาคใต้ซึ่งมีปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีน้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตร ในภาคใต้ ฝนตกหนักเกิดทั้งในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีมากสุดในเดือนกันยายนในฝั่งตะวันตก และตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคมในฝั่งตะวันออก\n=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===\nประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตว์อยู่มาก อันเป็นรากฐานอันมั่นคงของการผลิตในภาคเกษตรกรรม และประเทศไทยมีผลไม้เมืองร้อนหลากชนิด พื้นที่ราว 29% ของประเทศเป็นป่าไม้ รวมไปถึงพื้นที่ปลูกยางพาราและกิจกรรมปลูกป่าบางแห่ง ประเทศไทยมีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ากว่า 50 แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 56 แห่ง โดยพื้นที่ 12% ของประเทศเป็นอุทยานแห่งชาติ (ปัจจุบันมี 110 แห่ง) และอีกเกือบ 20% เป็นเขตป่าสงวน ประเทศไทยมีพืช 15,000 สปีชีส์ คิดเป็น 8% ของสปีชีส์พืชทั้งหมดบนโลก ในประเทศไทย พบนก 982 ชนิด นอกจากนี้ ยังเป็นถิ่นที่อยู่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 1,715 สปีชีส์ซึ่งมีการบันทึก\nการลักลอบล่าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ยังเป็นปัญหาสำคัญ นักล่ามักฆ่าสัตว์อย่างเสือโคร่ง เสือดาวและแมวใหญ่อื่นเพื่อเอาหนัง มีการเลี้ยงหรือล่าสัตว์หลายชนิดรวมทั้งเสือโคร่ง หมี จระเข้และงูจงอางเพื่อเอาเนื้อ แม้การค้าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ผิดกฎหมาย แต่ตลาดนัดจตุจักรในกรุงเทพมหานครยังขึ้นชื่อเรื่องการขายสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อยู่\n== การเมืองการปกครอง ==\nราชธานีของคนไทยแต่โบราณล้วนปกครองระบอบราชาธิปไตยตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา มีการรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งเป็นการสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบตะวันตก ครั้นวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ\nพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงราชย์ตั้งแต่ปี 2559 ทรงถูกจำกัดพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญและมีสถานภาพเป็นประมุขแห่งรัฐในทางพิธีการ ทรงเป็นจอมทัพไทย กฎหมายบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และเป็นอัครศาสนูปถัมภก ทรงมีอำนาจแต่งตั้งรัชทายาท พระราชทานอภัยโทษ และพระราชทานพระบรมราชานุญาต อย่างไรก็ดี พระมหากษัตริย์ยังมีการแทรกแซงการเมืองไทยโดยตรงอยู่เป็นระยะ และรัฐธรรมนูญยังเปิดช่องให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจวินิจฉัยได้ตามประเพณี พระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ และความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ถือเป็นอาชญากรรมร้ายแรงในประเทศ ทั้งนี้ มีผู้อธิบายพระราชอำนาจตามประเพณีหรือโดยพฤตินัยว่า \"แม้ว่าพระราชอำนาจดังกล่าวจะมิได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับใดก็ตาม แต่ก็เป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่เข้าใจตรงกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่าเป็นพระราชอำนาจที่มีอยู่จริง และอาจกล่าวได้ว่าเป็นพระราชอำนาจส่วนที่สำคัญที่สุดในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่าที่ปรากฏในปัจจุบัน\" ทัศนคติต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของชาวไทยแตกต่างกันไปตามรัชกาล\nประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ นับเป็นประเทศที่มีรัฐธรรมนูญมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศไทยขาดเสถียรภาพทางการเมืองสูงและมีรัฐประหารหลายครั้ง รัฐธรรมนูญมักถูกเปลี่ยนโดยผลของรัฐประหาร ประเทศไทยมีรัฐประหารมากที่สุดในโลกในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ในปี 2558 \"ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็นเวลา 55 ปี จาก 83 ปีนับแต่ล้มสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปี 2475\" รัฐประหารครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี 2557 โดย คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ซึ่งผลพวงจากเหตุการณ์นั้นทำให้เกิดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564\nในทางพฤตินัย ปัจจุบันประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา อย่างไรก็ตาม นักวิจารณ์การเมืองระบุว่าระบอบดังกล่าวมาจากการเลือกตั้งที่มีข้อบกพร่องและเป็นการสืบทอดอำนาจของกองทัพ รัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด ระบุว่า ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา หรือใช้ว่า ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยกำหนดรูปแบบองค์กรบริหารอำนาจทั้งสามส่วนดังนี้\nอำนาจนิติบัญญัติ มีรัฐสภาซึ่งใช้ระบบสภาคู่เป็นผู้ใช้อำนาจ ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิก 500 คนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน มีวาระ 4 ปี โดยการเลือกตั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี 2566 และวุฒิสภาซึ่งสมาชิกมาจากการแต่งตั้งจำนวน 250 คน ตามบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญมาตรา 269 มีวาระ 5 ปี รัฐสภายึดระบบเวสต์มินสเตอร์ และใช้สัปปายะสภาสถานเป็นที่ประชุม\nอำนาจบริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นประมุขแห่งอำนาจและเป็นหัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ตามมติที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา และรัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำกราบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารอำนาจ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง\nอำนาจตุลาการ มีระบบศาล ซึ่งประกอบด้วยศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง เป็นองค์กรบริหารอำนาจ มีประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นประมุขในส่วนของตน\nกองทัพและอภิชนข้าราชการประจำควบคุมพรรคการเมืองได้อย่างเบ็ดเสร็จตั้งแต่ปี 2489 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 (ประมาณปี 2523) พรรคการเมืองในประเทศไทยส่วนใหญ่มีความเป็นสถาบัน (institutionalize) ต่ำและแทบทั้งหมดมีอายุสั้น ระหว่างปี 2535–2549 ประเทศไทยมีระบบพรรคการเมืองเป็นแบบสองพรรคหลัก และมีแนวโน้มเป็นระบบพรรคเดียว (พรรคไทยรักไทย) มากขึ้นจนถึงปี 2549\nในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2565 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ ดำรงตำแหน่งรักษาการนายกรัฐมนตรี เป็นเวลา 37 วันนับเป็นผู้บัญชาการทหารบกไทยคนที่ 11 ที่ได้ดำรงตำแหน่งหรือมีอำนาจเทียบเท่านายกรัฐมนตรี ก่อนที่รัฐสภาจะคืนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแก่ พลเอกประยุทธ์ในเวลาต่อมาถึงแม้จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 แต่รัฐบาลยังคงรักษาการต่อไปอีก ส่งผลให้ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2566 \"ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็นเวลา 63 ปี 3 เดือน จาก 91 ปีนับแต่ล้มสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปี 2475\nอย่างไรจำนวนปีดังกล่าวไม่นับ ร้อยตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะซึ่งไม่ได้เป็นทหารอาชีพหลายตำราจึงให้เป็นนายกพลเรือนมากกว่านายกรัฐมนตรีที่มาจากทหารหากนับจะเพิ่มเป็น 65 ปี 11 เดือน จาก 91 ปี จึงสรุปได้ว่าหากรวมร้อยตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีที่มียศทหารครองอำนาจร้อยละ 72 จากระยะเวลาทั้งหมด 91 ปี\nอนึ่ง ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีที่มาจากการรัฐประหาร 11 รายซึ่งสามรายจากสิบเอ็ดรายเป็นพลเรือน อาทิ ธานินทร์ กรัยวิเชียร อานันท์ ปันยารชุน พจน์ สารสิน โดยได้รับตำแหน่งภายหลังรัฐประหาร ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นทหารหรืออดีตทหารที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการรัฐประหารด้วยเช่นกัน อาทิ พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ และ ร้อยตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ\nพรรคการเมืองซึ่งเป็นพันธมิตรทางการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้งทั่วไปทุกครั้งตั้งแต่ปี 2544 จนกระทั่งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ชัยชนะของพรรคที่ ทักษิณ ชินวัตร เป็นเจ้าของตลอด 22 ปี ได้พ่ายแพ้เป็นครั้งแรกโดยพรรคก้าวไกลชนะการเลือกตั้งทั้งแบบแบ่งเขตและแบบบัญชีรายชื่อ\nอย่างไรก็ตามพรรคที่ทักษิณเป็นเจ้าของได้จัดตั้งรัฐบาลโดยเข้าร่วมกับพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติซึ่งเป็นพรรคทหารที่ก่อการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557สร้างความตกใจให้กับประชาชนเป็นอย่างมากเนื่องจากพรรคการเมืองที่ได้รับผลกระทบจากการรัฐประหารกลับนำพรรคการเมืองที่มีส่วนในการรัฐประหารเชิญเข้าร่วมรัฐบาลและพร้อมเสนอตำแหน่งรัฐมนตรีให้แก่บุคคลสำคัญของพรรค นับเป็นการตระบัดสัตย์อีกครั้งหนึ่งของบุคคลที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียงเพื่อที่จะได้คะแนนเสียงจากวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12ที่มาจากทหารในการจัดตั้งรัฐบาลเท่านั้น\n=== การแบ่งเขตการปกครอง ===\nประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มีการจัดระเบียบราชการออกเป็นสามระดับ ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วนภูมิภาคจัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด โดยจังหวัดเป็นการแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุด 878 อำเภอ 7,255 ตำบล ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอและปลัดอำเภอมาจากการแต่งตั้งของรัฐบาลกลาง จังหวัดล่าสุดของประเทศไทย คือ จังหวัดบึงกาฬซึ่งแยกจากจังหวัดหนองคายในปี 2554 ประเทศไทยมีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับตำบล เมืองและนครรวม 7,852 แห่ง สำหรับกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาเป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ สำหรับปริมณฑลและภูมิภาคไม่ใช่การแบ่งเขตการปกครองตามกฎหมาย ทั้งนี้ มีการแบ่งประเทศไทยออกเป็น 4 ถึง 6 ภาค แล้วแต่แหล่งอ้างอิง\nการแบ่งจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค ซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี 2478\n=== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ===\nอาณาจักรโบราณของไทยมีความสัมพันธ์เป็นรัฐบรรณาการของจีน ส่วนความสัมพันธ์กับรัฐใกล้เคียงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่จะเน้นการรวบรวมอาณาจักรของคนไทซึ่งรวมทั้งสุโขทัย ล้านนา นครศรีธรรมราช และล้านช้าง ส่วนความสัมพันธ์กับพม่าและเวียดนามเป็นไปในลักษณะการทำสงครามเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ โดยมีการแย่งชิงความเป็นใหญ่เหนือกัมพูชากับเวียดนามตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส่วนความสัมพันธ์ด้านการค้านั้น กรุงศรีอยุธยามีการค้าขายกับชาติในเอเชียและตะวันตกและเป็นเมืองท่าสำคัญ\nนับแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศสยามเผชิญกับลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก นำไปสู่การลงนามสนธิสัญญาเบาว์ริงซึ่งเป็นสนธิสัญญาไม่เป็นธรรม รัฐบาลลงนามสนธิสัญญาทำนองเดียวกันกับชาติตะวันตกหลายประเทศเพื่อหวังสร้างความสัมพันธ์แบบพหุภาคีเพื่อให้ชาติเหล่านั้นถ่วงดุลกันเอง ประเทศสยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกซึ่งสาเหตุบางส่วนเนื่องจากบริเตนและฝรั่งเศสตกลงให้สยามเป็นรัฐกันชน ประเทศสยามเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้ได้แก้ไขสนธิสัญญาไม่เป็นธรรม และในสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่น แต่กลับได้สถานะผู้ชนะสงครามไปด้วย จนได้ชื่อว่า \"การทูตไม้ไผ่\" หรือ \"การทูตลู่ตามลม\"\n\nการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 2492 เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรที่สำคัญของสหรัฐมาตั้งแต่การลงนามองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี 2497 และดำเนินนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างเข้มข้น มีการส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเกาหลีและสงครามเวียดนาม ไทยอนุญาตให้สหรัฐตั้งฐานทัพในประเทศ อย่างไรก็ดี หลังจากสหรัฐถอนกำลังออกจากเวียดนาม ประเทศไทยเปลี่ยนนโยบายไปปรับความสัมพันธ์กับประเทศจีนแทน จนมีการเลิกการอนุญาตให้สหรัฐตั้งฐานทัพในประเทศไทยและปรับความสัมพันธ์ทางทูตกับจีนอย่างเป็นทางการในปี 2518\nประเทศไทยเป็นประเทศผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ไทยลงนามความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีกับประเทศบาห์เรน จีน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ชิลี และเปรู และความตกลงการค้าเสรีกับประเทศอาเซียน และความตกลงการค้าพหุภาคี (ในฐานะอาเซียน) กับประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ สมัยนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ประกาศว่าประเทศไทยจะเลิกรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศและทำงานร่วมกับประเทศผู้บริจาคเพื่อช่วยพัฒนาประเทศพื้นบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ทักษิณมุ่งให้ประเทศไทยเป็นผู้นำภูมิภาค แต่เขาก็สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเผด็จการทหารพม่า รวมทั้งการให้สินเชื่อ ในสมัยนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประเทศไทยมีข้อพิพาทกับประเทศกัมพูชาเหนือความเป็นเจ้าของปราสาทพระวิหาร เกิดกรณีพิพาทพรมแดนระหว่างปี 2551–2554 หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับชาติตะวันตกเสื่อมลง และไทยหันไปเข้ากับประเทศจีนมากขึ้น\n=== กองทัพ ===\n\nพระมหากษัตริย์ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยโดยนิตินัย ในทางปฏิบัติ กองทัพอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นผู้สั่งการ และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของกองบัญชาการกองทัพไทย โดยมีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บัญชาการ กองทัพไทยแบ่งออกเป็น 3 เหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ทุกวันนี้กองทัพไทยมีกำลังทหารทั้งสิ้น 1,025,640 นาย และมีกำลังหนุนกว่า 200,000 นาย และมีกำลังกึ่งทหารประจำการกว่า 113,700 นาย ในปี 2558 เครดิตสวิสจัดอันดับว่าประเทศไทยมีดัชนีกำลังทางทหารสูงเป็นอันดับที่ 16 ของโลก งบประมาณกลาโหมเพิ่มขึ้นเกือบสามเท่าจาก 78,100 ล้านบาทในปี 2548 เป็น 207,000 ล้านบาทในปีงบประมาณ 2559 คิดเป็นประมาณร้อยละ 1.5 ของจีดีพี\nประเทศไทยมีการเกณฑ์ทหาร ปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นประเทศอำนาจทางบกตามแบบที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ พร้อมทั้งกองทัพอากาศขนาดใหญ่พอสมควรและมีสมรรถนะกองทัพเรือที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี การซื้อเรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือบรรทุกเครื่องบิน มีปัจจัยด้านเกียรติภูมิเข้ามาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอย ประเทศไทยเคยส่งกำลังพลเข้าร่วมภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ประเทศติมอร์ตะวันออก และดาร์ฟูร์ ประเทศซูดาน\nหน้าที่หลักของกองทัพไทยคือการรับมือภัยคุกคามในประเทศมากกว่านอกประเทศ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรได้ชื่อว่าเป็นฝ่ายการเมืองของกองทัพไทย โดยมีอำนาจหน้าที่ทางสังคมและเศรษฐกิจของราชการพลเรือนด้วย และยังมีภารกิจในการต่อต้านประชาธิปไตย กองทัพไทยขึ้นชื่อเรื่องมีทหารทุจริต เช่น จากกรณีการซื้อยุทธภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานหรือแพงเกิน การลักลอบค้ามนุษย์ การปฏิบัติต่อทหารเกณฑ์อย่างเลว รวมทั้งการใช้เส้นสายฝากตั้งญาติเป็นนายทหาร\n=== อาชญากรรมและการบังคับใช้กฎหมาย ===\nคดีอาชญากรรมรวมทั่วประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเดือนละประมาณร้อยละ 1.3 ระหว่างปี 2540–2554 ในช่วงนโยบายปราบปรามยาเสพติดของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร (กุมภาพันธ์–เมษายน 2546) อาชญากรรมยาเสพติดลดลงร้อยละ 64.6 แต่การฆ่าคนและอาชญากรรมอื่นต่อบุคคลเพิ่มขึ้น จังหวัดชลบุรีและภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีอาชญากรรมสูงสุดสองอันดับแรก แต่ส่วนใหญ่ไม่ใช่อาชญากรรมรุนแรง อัตราชำระคดี (clear-up) ของตำรวจโดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 86.78 ระหว่างปี 2550–2554 อัตราอาชญากรรมถ่วงน้ำหนักแปรผันตรงกับจำนวนแรงงานเข้าเมืองมิชอบด้วยกฎหมาย แต่แปลผกผันกับคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ จำนวนพระภิกษุและความหนาแน่นของประชากร ประเทศไทยมีปัญหาจำนวนอาวุธปืนมาก ชาวไทยประมาณร้อยละ 10 เป็นเจ้าของปืน และมีอัตราการเสียชีวิตเกี่ยวกับปืนที่มีรายงานสูงสุดในทวีปเอเชีย สหประชาชาติวิจารณ์ประเทศไทยว่าไม่สามารถขจัดความเป็นทาสและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคประมง\nสถิติปี 2555 พบว่าชาวไทยประสบเหตุอาชญากรรม 152,228 คน เป็นอาชญากรรมต่อทรัพย์สินมากที่สุด (ร้อยละ 92.5) ทรัพย์สินที่ถูกขโมยส่วนใหญ่เป็นทรัพย์สินที่สามารถนำติดตัวไปได้ นอกจากนั้นเป็นเครื่องใช้นอกและในบ้าน เครื่องประดับ เป็นต้น ประสบเหตุอาชญากรรมต่อชีวิตและร่างกาย 7,879 คน เป็นการถูกทำร้ายร่างกายมากที่สุด (ร้อยละ 79.8) ส่วนใหญ่ผู้ประสบเหตุอาชญากรรมไม่ได้แจ้งตำรวจ โดยเฉลี่ยร้อยละ 66.6 ยกเว้นอาชญากรรมทางเพศและอาชญากรรมต่อชีวิตและร่างกายที่มีการแจ้งตำรวจเกินครึ่ง (ร้อยละ 67.2 และ 55 ตามลำดับ)\nมีรายงานว่า กำลังความมั่นคงบางครั้งใช้กำลังเกินกว่าเหตุและถึงตายต่อผู้ต้องสงสัยและมีวิสามัญฆาตกรรม การฆ่าคนตามอำเภอใจและการฆ่าคนไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งมีการทรมานและทุบตีผู้ต้องสงสัยเพื่อรีดคำสารภาพ ประเทศไทยมีผู้ต้องขังประมาณ 306,000 คนในปี 2559 ประเทศไทยมีจำนวนผู้ต้องขังมากที่สุดในอาเซียน และมากเป็นอันดับที่ 3 ของทวีปเอเชีย ผู้ต้องขังก่อนพิจารณาคดีในศาลคิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรเรือนจำ ในปีงบประมาณ 2559 มีผู้เสียชีวิตระหว่างถูกควบคุมตัว 762 คน มีหลายกรณีที่กล่าวหาว่าตำรวจใช้อำนาจมิชอบ แต่ผู้ถูกกล่าวหามักไม่ถูกลงโทษ ในศาลพลเรือน รัฐบาลจัดหาความช่วยเหลือทางกฎหมาย แต่มีรายงานว่าความช่วยเหลือดังกล่าวมีคุณภาพต่ำ\nประเทศไทยมีความเสี่ยงสูงต่อการฉ้อราษฎร์บังหลวงในหลายภาคส่วนของประเทศ หลังรัฐประหารปี 2557 ฝ่ายตุลาการถูกทำให้เป็นเรื่องการเมืองอย่างสูง กระบวนการทางกฎหมายในประเทศไทยมักช้าและบางทีมีการใช้วิธีการนอกกฎหมายเพื่อมีผลต่อคำพิพากษา ฝ่ายความมั่นคงในประเทศไทยมีชื่อเสียงว่าเป็นสถาบันที่ฉ้อฉลที่สุดในประเทศเนื่องจากความพัวพันกับการเมืองและระบบอุปถัมภ์ บริษัทที่ไม่จ่ายค่าอำนวยความสะดวกแก่ข้าราชการอาจเสียเปรียบด้านการแข่งขันเทียบกับบริษัทอื่น มีการฮั้วประมูล การบังคับใช้กฎหมายในประเทศไทยมีความผันแปรและการดำเนินคดีการฉ้อราษฎร์บังหลวงระดับสูงอาจมีแรงจูงใจทางการเมืองมาเกี่ยวข้อง\nความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยมีการเรียกว่า \"อาจเป็นกฎหมายอาญาว่าด้วยการหมิ่นประมาทที่รุนแรงที่สุดในโลก\" และ \"โหด\" องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่าผู้ถูกจำคุกฐานดังกล่าวเป็นนักโทษการเมือง คณะทำงานว่าด้วยการกักขังโดยพลการของสหประชาชาติถือว่าการกักขังก่อนพิจารณาคดีถือว่าละเมิดกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ\n== เศรษฐกิจ ==\n\nประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม ประเทศไทยมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซีย โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจัดให้ประเทศไทยเป็น \"ผู้ประสบความสำเร็จสูง\" ในเอเชียตะวันออก ในปี 2556 ประเทศไทยมีดัชนีการรับรู้การทุจริตค่อนข้างต่ำ โดยอยู่อันดับที่ 102 จาก 177 ประเทศ ธนาคารโลกจัดให้ประเทศไทยเป็นประเทศมีรายได้ปานกลาง-สูงในปี 2554\nประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกเป็นอันดับที่ 24 ของโลก ในปี 2556 การส่งออกเป็นสัดส่วน 74% ของจีดีพี ภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนต่อจีดีพีมากที่สุดคือ 38.1% ภาคการค้าส่ง ค้าปลีกมีสัดส่วนต่อจีดีพี 13.4% ภาคการขนส่งและการสื่อสารมีสัดส่วนต่อจีดีพี 10.2% ภาคเกษตรกรรมมีสัดส่วนต่อจีดีพี 8.3% ในปี 2552–2553 ประเทศไทยส่งชิ้นส่วนและส่วนประกอบออก ซึ่งอยู่ในอุตสาหกรรมยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์เป็นสำคัญ มูลค่า 48,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 25% ของมูลค่าการส่งสินค้าออก มีมูลค่าการนำเข้าเป็นอันดับที่ 23 ของโลก ประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ ประเทศจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ออสเตรเลีย ฮ่องกงและเกาหลีใต้ เครื่องจักรเป็นทั้งสินค้านำเข้าและส่งออกที่สำคัญที่สุดของไทย องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) เป็นเจ้าหนี้ต่างประเทศรายใหญ่ที่สุดของไทย\nประเทศไทยมีกำลังแรงงาน 39.38 ล้านคน อยู่ในภาคเกษตรกรรมมากที่สุด 15.41 ล้านคน หรือ 39.1% ของกำลังแรงงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าแรงขั้นต่ำทางการทุกจังหวัดเป็น 300 บาท อัตราการว่างงานของประเทศอยู่ที่ 1.2% ซึ่งน้อยเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่แนวโน้มแรงงานกว่าครึ่งประกอบอาชีพที่ไม่มั่นคงหรืออาชีพที่ไม่เป็นทางการ กับทั้ง 40% มีปัญหาการทำงานต่ำระดับ ในปี 2559 ประเทศไทยมีผู้ย้ายถิ่นขึ้นทะเบียนประมาณ 2 ล้านคน โดยหนึ่งในสามเป็นผู้ถือใบอนุญาตทำงานชั่วคราว ส่วนแรงงานไม่สม่ำเสมอคาดว่ามีอีกประมาณ 1–2 ล้านคน หลังรัฐประหารปี 2557 แรงงานต่างด้าวกัมพูชาหลบหนีกลับประเทศจำนวน 180,000 คนหลังรัฐบาลประกาศปราบปราม หลังประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 ทำให้มีแรงงานต่างด้าวออกนอกประเทศหลายหมื่นคน ในปี 2560 เศรษฐกิจไทยมีแรงงานนอกระบบ (คือแรงงานที่ไม่ได้รับความคุ้มครองหรือไม่มีหลักประกันสังคม) 20.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 55.2 ของผู้มีงานทำ\nหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยเป็นประเทศยากจนที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง โดยก่อนหน้านี้เศรษฐกิจไทยซบเซามาอย่างน้อยหนึ่งศตวรรษ ระหว่างปี 2508 ถึง 2539 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นต่อคนเติบโตร้อยละ 7 ต่อปี และระหว่างปี 2530 ถึง 2539 เรียกว่าเป็นช่วง \"เศรษฐกิจบูม\" เศรษฐกิจไทยเติบโตเร็วที่สุดในโลก ซึ่งมาจากการลงทุนระดับสูงมาก การเติบโตของหุ้นเป็นปัจจัยทำให้เศรษฐกิจเติบโตกว่าครึ่ง การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในช่วงเศรษฐกิจบูมเป็นการไหลเข้าของทุนระยะสั้นร้อยละ 23 วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 มีสาเหตุระยะยาวหลายอย่าง แต่ชนวนเหตุที่บั่นทอนความเชื่อมั่นเกิดจากการเติบโตของการส่งออกลดลงอย่างรุนแรงในปี 2539 จีดีพีของไทยหดตัวร้อยละ 10.5 ในปี 2541\nประเทศไทยฟื้นตัวจากวิกฤตการเงินในปี 2546 การฟื้นตัวทางเศรษฐกิของไทยล่าช้าเพราะขาดอุปทานรวม ระหว่างปี 2542 ถึง 2550 จีดีพีไทยเติบโตระหว่างร้อยละ 2.1 ถึง 7.1 ต่อปี ด้วยการขาดเสถียรภาพจากการประท้วงใหญ่ในปี 2553 การเติบโตของจีดีพีของประเทศไทยอยู่ที่ราวร้อยละ 4–5 ลดลงจากร้อยละ 5–7 ในรัฐบาลพลเรือนก่อน ความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นสาเหตุหลักของการเสื่อมความเชื่อมั่นนักลงทุนและผู้บริโภค นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลทหารหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ที่เรียก ประชารัฐ ทำให้เกิดทุนนิยมแบบลำดับชั้นที่ธุรกิจขนาดใหญ่ของไทยเชื้อสายจีนเข้าไปเลี้ยงดูและชี้นำธุรกิจในท้องถิ่น เศรษฐกิจไทยหดตัวร้อยละ 6.1 เนื่องจากการระบาดของโควิด-19 นับเป็นการหดตัวมากที่สุดนับแต่วิกฤตต้มยำกุ้ง หนี้สาธารณะของประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสมัยประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 7 ปี (จนถึงเดือนพฤษภาคม 2564) รัฐบาลกู้เงินแล้ว 8.47 ล้านล้านบาท และมีตัวเลขในเดือนมิถุนายน 2565 ว่าสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อจีดีพีเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 42.50 เป็นร้อยละ 60.58 ใน 8 ปี\n=== ความมั่งคั่ง ความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ===\nประเทศไทยมีความมั่งคั่งมัธยฐานต่อผู้ใหญ่หนึ่งคน 1,469 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2559 เพิ่มขึ้นจาก 605 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2543 ประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่ 55 ของดัชนีความมั่นคงทางอาหารโลกในปี 2560 หลังภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ ภาคครัวเรือนยังมีสภาพคล่องดี และมีความสามารถในการดำรงการบริโภคได้ แม้มีรายได้สุทธิต่อค่าใช้จ่ายลดลงเมื่อเทียบกับปี 2549 แต่การบริโภคไม่ได้ลดลง ในปี 2559 ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของไทยอยู่ในอันดับที่ 87 และดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่ปรับความเหลื่อมล้ำแล้วอยู่อันดับที่ 70 กรุงเทพมหานครซึ่งมีผลิตภัณฑ์จังหวัดสูงสุดมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดเป็น 406.9 เท่าของจังหวัดแม่ฮ่องสอนซึ่งมีน้อยที่สุด\nในปี 2560 ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 26,946 บาท ครัวเรือนที่มีรายได้สูงสุดร้อยละ 20 มีส่วนแบ่งรายได้คิดเป็นร้อยละ 45.0 และครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 มีส่วนแบ่งรายได้คิดเป็นร้อยละ 7.1 กลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดมีรายได้ต่ำกว่า 5,344 บาทต่อคนต่อเดือนมีจำนวน 26.9 ล้านคน ในปี 2556 ผู้ประท้วงกลุ่ม กปปส. ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 32) มีรายได้ครัวเรือนเกิน 50,000 บาทต่อเดือน ส่วน นปช. ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 27) มีรายได้ครัวเรือน 10,000–20,000 บาทต่อเดือน\nในปี 2559 สถาบันการเงินเครดิตสวิสรายงานว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลกรองจากประเทศรัสเซียและอินเดีย คนรวยสุดร้อยละ 10 ถือครองทรัพย์สินร้อยละ 79 ของประเทศ มหาเศรษฐีไทย 50 ครอบครัวแรกมีมูลค่าทรัพย์สินรวมคิดเป็นร้อยละ 30 ของจีดีพีไทย\nในปี 2559 ประเทศไทยมีคนยากจน 5.81 ล้านคน หรือร้อยละ 8.6 ของประชากร แต่หากนับรวม \"คนเกือบจน\" (near poor) ด้วยจะเพิ่มเป็น 11.6 ล้านคน หรือร้อยละ 17.2 ของประชากร ในปี 2559 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคเหนือมีสัดส่วนคนจนร้อยละ 12.96, 12.35 และ 9.83 ของประชากรในแต่ละภาคตามลำดับ ในปี 2560 มีผู้มาลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย (รายได้น้อยกว่า 100,000 บาทต่อปี) เพื่อรับสวัสดิการจากรัฐเป็นจำนวน 14 ล้านคน ปลายปี 2560 ประเทศไทยมีหนี้สินครัวเรือน 11.76 ล้านล้านบาท ในปี 2553 ครัวเรือนที่มีปัญหาล้มละลาย (ทรัพย์สินน้อยกว่าหนี้สิน) คิดเป็นร้อยละ 3 ของครัวเรือนทั้งประเทศ ในปี 2560 ครัวเรือนที่มีที่อยู่อาศัยถาวรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 99.69 ของครัวเรือนทั้งประเทศ ในปี 2559 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพประมาณการว่ามีคนไร้บ้านทั่วประเทศ 30,000 คน\nปีพ.ศ. 2566 จำนวนผู้ที่ได้จับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจนมีทั้งสิ้น 14.2 ล้านคน\n=== เกษตรกรรม ===\n\nการพัฒนาการเกษตรตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 ส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศ ในพื้นที่ชนบท อาชีพเกษตรกรรมคิดเป็นกึ่งหนึ่งของการจ้างงาน ในปี 2555 ประเทศไทยมีที่ดินเพาะปลูกได้ 165,600 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 32.3% ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งในจำนวนนี้กว่า 55% ใช้ปลูกข้าว ในปี 2551 ประเทศไทยส่งข้าวออกราว 10 ล้านตัน คิดเป็นประมาณ 33% ของการค้าข้าวทั่วโลก ข้าวเป็นพืชผลสำคัญสุดของประเทศ และประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งมาช้านาน จนประเทศอินเดียและเวียดนามแซงเมื่อไม่นานนี้\nประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางรายใหญ่ที่สุดของโลก คิดเป็นร้อยละ 40 ของยางธรรมชาติโลก พืชที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุดอื่น ได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง เนื้อไก่ เนื้อหมู มะม่วง มังคุด ฝรั่ง สัปปะรด รวมทั้งพวกผลไม้เขตร้อน กุ้ง ข้าวโพดและถั่วเหลือง ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของโลก และเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่อันดับ 5 ของโลก ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่สุดในอาเซียน\n=== อุตสาหกรรม ===\n\nบริษัทเกือบทั้งหมดของไทย กว่า 2.7 ล้านวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 99.7 จัดเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในปี 2560 SME คิดเป็นการจ้างงานร้อยละ 80.3 ของการจ้างงานทั้งหมด (13 ล้านคน) ในปี 2556 สัดส่วนต่อจีดีพีของ SME อยู่ที่ร้อยละ 37.4 มีรายงานว่า SME ร้อยละ 70 ปิดกิจการภายใน \"ไม่กี่ปี\"\nอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เป็นภาคส่งออกใหญ่สุดของไทย คิดเป็นประมาณร้อยละ 15 ของการส่งออกทั้งหมด ในปี 2557 การส่งออกดังกล่าวรวมมูลค่า 55,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มีคนงานประมาณ 780,000 คนในปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 12.2 ของการจ้างงานทั้งหมดในภาคการผลิต แต่ผู้ผลิตกำลังย้ายการผลิตไปยังประเทศที่มีค่าแรงถูกกว่าประเทศไทย อุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทยใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่สุดเป็นอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีการจ้างงานประมาณ 417,000 ตำแหน่งในปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 10 ของจีดีพีประเทศ คนงานกว่าร้อยละ 70 ในทั้งสองภาคมีความเสี่ยงสูงต่อการเสียงานให้กับหุ่นยนต์\n=== พลังงาน ===\n\nประเทศไทยเป็นผู้นำน้ำมันและแก๊สธรรมชาติเข้าสุทธิ มีการผลิตและปริมาณสำรองน้ำมันน้อยและต้องนำเข้าเป็นส่วนใหญ่เพื่อการบริโภค แม้ว่ามีปริมาณสำรองแก๊สธรรมชาติที่พิสูจน์แล้วขนาดใหญ่ แต่ยังต้องนำเข้าเพื่อให้เพียงพอกับอุปทานในประเทศ การบริโภคพลังงานหลักของประเทศไทยมาจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คิดเป็นกว่า 80% ของทั้งหมด ในปี 2553 ประเทศไทยบริโภคพลังงานจากน้ำมันมากที่สุด (39%) รองลงมาคือ แก๊สธรรมชาติ (31%) ชีวมวลและของเสีย (16%) และถ่านหิน (13%) ประเทศไทยเป็นผู้นำเข้าน้ำมันรายใหญ่อันดับสองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รองจากประเทศสิงคโปร์ เชื้อเพลิงดีเซลเป็นสัดส่วนหนึ่งในสามของผลิตภัณฑ์น้ำมัน และเป็นเชื้อเพลิงหลักสำหรับการขนส่ง ในปี 2558 ประเทศไทยมีการนำเข้าซึ่งพลังงานขั้นต้นสุทธิเทียบเท่าน้ำมัน 1.253 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยมีการซื้อไฟฟ้าจากประเทศลาว และแก๊สธรรมชาติจากประเทศพม่า ปัญหาราคาน้ำมันในไทยมีสาเหตุมาจากโครงสร้างราคาน้ำมันที่มีการเก็บภาษีและเงินเข้ากองทุนต่าง ๆ ถึง 35–60% ของราคาหน้าปั๊ม การอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพที่แพงกว่าน้ำมันปกติ และการปล่อยให้เอกชนกำหนดค่ากลั่นน้ำมันได้เอง\nในปี 2554 ประเทศไทยมีสมรรถภาพติดตั้งผลิตไฟฟ้าประมาณ 32.4 กิกะวัตต์ โดยผลิตจากแก๊สธรรมชาติมากที่สุด (71%) ประเทศไทยคิดสนับสนุนพลังงานนิวเคลียร์เพื่อลดการพึ่งพาแก๊สธรรมชาติ แต่หลังภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิในปีนั้น ทำให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกที่เสนอถูกเลื่อนไปหลังปี 2569 ในปี 2565 มีการเปิดเผยว่าประเทศไทยมีพลังงานไฟฟ้าสำรองสูงถึง 40–60% แต่ค่าไฟฟ้ายังแพงอยู่เพราะมีค่าพร้อมจ่ายให้กับเอกชนที่ผลิตกระแสไฟฟ้าจนเป็นภาระของผู้บริโภค\n=== การขนส่ง ===\n\nการขนส่งทางถนนเป็นภาคหลักของการขนส่งผู้โดยสารและค่าระวางในประเทศไทย โดยคิดเป็นร้อยละ 85 และ 86 ของการขนส่งทางบกทั้งหมดตามลำดับ ประเทศไทยมีทางหลวงความยาว 390,000 กิโลเมตร และมีเครือข่ายถนน 462,133 สาย เป็นเครือข่ายทางหลวง 51,776 กิโลเมตรที่เชื่อมภาคต่าง ๆ ของประเทศ มีทางด่วนสองเส้นทาง ซึ่งเชื่อมกรุงเทพมหานครกับเขตอุตสาหกรรมโดยรอบ รวมระยะทาง 150 กิโลเมตร อุตสาหกรรมขนส่งค่าระวางในประเทศไทยอาศัยรถบรรทุกถึงร้อยละ 80 ในปี 2560 ประเทศไทยมียานพาหนะจดทะเบียน 37 ล้านคัน เป็นรถจักรยานยนต์ 20 ล้านคัน และมีที่ไม่ได้จดทะเบียนอีกหลายล้านคัน ในปี 2555 ประเทศไทยมีอัตราเป็นเจ้าของยานพาหนะ 488 คันต่อประชากร 1,000 คน มากเป็นอันดับสองของอาเซียน ในปี 2561 มีรถแท็กซี่ขึ้นทะเบียนทั่วประเทศ 80,647 คัน และมีการดำเนินการรถตู้สาธารณะ 114 เส้นทางจากกรุงเทพมหานคร ในปี 2559 ประเทศไทยเป็นประเทศที่การจราจรติดขัดมากที่สุดในโลก สหประชาชาติจัดอันดับถนนในประเทศไทยว่าอันตรายสูงสุดเป็นอันดับสองของโลก โดยมียอดผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะกว่า 30,000 คนต่อปี ซึ่งเป็นอัตราต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับสองของโลกรองจากประเทศลิเบีย\nประเทศไทยมีรางรถไฟยาว 4,034 กิโลเมตร และการขนส่งสินค้าทางรางคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของน้ำหนักบรรทุกทั้งหมดในปี 2558 ในปี 2555 มีผู้โดยสารทางราง 41 ล้านคน การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นผู้ดำเนินการเส้นทางรางแห่งชาติของประเทศ ซึ่งถูกมองว่าไร้ประสิทธิภาพและไม่ยอมเปลี่ยนแปลง รถไฟมักช้าและอุปกรณ์ส่วนใหญ่เก่าและมีการบำรุงรักษาไม่ดี ความพยายามของรัฐบาลในการจัดโครงสร้างใหม่และโอนเป็นของเอกชนถูกสหภาพคัดค้านอย่างหนักตลอดมา ในช่วงปีหลัง มีความพยายามก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง\nประเทศไทยมีท่าอากาศยานพาณิชย์ 38 แห่ง ในปี 2559 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดของประเทศและเป็นอันดับที่ 20 ของโลก ประเทศไทยมีทางน้ำในประเทศที่ใช้เดินเรือได้ 1,750 กิโลเมตร ประเทศไทยท่าเรือน้ำลึกระหว่างประเทศ 8 แห่ง ท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือน้ำลึกหลักของประเทศไทย ส่วนท่าเรือแม่น้ำมีทั้งหมด 132 แห่ง ซึ่งใช้สำหรับการขนส่งสินค้าขั้นต้นและสินค้าเกษตรเป็นหลัก\n=== การท่องเที่ยว ===\nในปี 2560 ประเทศไทยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 35.38 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วจากเดิมที่มีชาวต่างชาติ 336,000 ราย และทหารที่เข้ามาพัก 54,000 นายในปี 2510 ประเทศที่นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าประเทศมากที่สุด ได้แก่ จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและลาว\nการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นหน่วยงานส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศตั้งขึ้นในปี 2522 นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีการจัดตั้งตำรวจท่องเที่ยวเพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ\nประเทศไทยมีแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก 6 แหล่ง ได้แก่ นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ และกลุ่มป่าแก่งกระจาน\nประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่ 9 ของโลกในด้านจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2559 รายงานความสามารถแข่งขันการเดินทางและการท่องเที่ยวปี 2558 จัดอันดับประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 35 จาก 141 ประเทศ โดยประเทศไทยมีคะแนนสูงในด้านทรัพยากรธรรมชาติและโครงสร้างพื้นฐานบริการนักท่องเที่ยว แต่มีคะแนนต่ำในด้านความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยและความมั่นคง\nการค้าประเวณีและการท่องเที่ยวทางเพศถือเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจ ประมาณการในปี 2546 ระบุมูลค่าไว้ 4.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐหรือประมาณร้อยละ 3 ของเศรษฐกิจ เชื่อว่าเงินนักท่องเที่ยวอย่างน้อยร้อยละ 10 ใช้ค้าประเวณี\n=== วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ===\nประเทศไทยจัดเป็นประเทศนวัตกรรมมากที่สุดอันดับที่ 45 ในดัชนีนวัตกรรมบลูมเบิร์กปี 2561 ในปี 2556 ประเทศไทยมีรายจ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา 1.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.5 ของจีดีพี เป็นรายจ่ายจากภาครัฐร้อยละ 51.3 และจากภาคเอกชนร้อยละ 48.7 รัฐบาลมีแผนใช้สิ่งจูงใจภาษีเพื่อเพิ่มการลงทุนของเอกชน การวิจัยและพัฒนาในประเทศไทยมีสัดส่วนงานวิจัยประยุกต์สูงกว่างานวิจัยพื้นฐานมาก ข้อมูลในปี 2552 พบว่าประเทศไทยมีนักวิจัย 38,500 คนหรือเทียบเท่าเต็มเวลา (FTE) 22,000 คน ประเทศไทยมีจำนวนงานวิจัยตีพิมพ์มากเป็นอันดับสามในอาเซียน รองจากประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ ในปี 2553 มีผู้ขอจดสิทธิบัตรในประเทศไทย 1,925 ฉบับ และมีการออกให้ 772 ฉบับ เกินครึ่งของผู้ขอจดสิทธิบัตรไม่ใช่พลเมือง และคิดเป็นกว่าร้อยละ 90 ของสิทธิบัตรที่ออกให้ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ลงนามองค์การความร่วมมืออวกาศเอเชีย-แปซิฟิก (APSCO) ซึ่งมีประเทศจีนเป็นผู้นำ\nวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทยก้าวหน้าอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปี 2551 องค์กรส่งเสริมการวิจัยสำคัญอย่าง สวทช., สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) ช่วยประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัยกับบริษัท อุตสาหกรรมการผลิตของไทยส่วนใหญ่พึ่งพาการผลิตท้องถิ่นของบริษัทต่างชาติ ทำให้มีผลลัพธ์การวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีน้อย\nจุดแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยอยู่ในสายอาหาร-เทคโนโลยีชีวภาพ-ชีววิทยาศาสตร์-เกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีพลังงาน และการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมรถยนต์และอิเล็กทรอนิกส์\n== ประชากรศาสตร์ ==\n=== ประชากร ===\nกระทรวงมหาดไทยประมาณว่า ประเทศไทยมีประชากร 69,183,173 คน ซึ่งมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก แต่คาดว่าประชากรจะลดลงก่อนปี 2563 ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่อัตราเจริญพันธุ์ลดลงเร็วที่สุดในโลก ระหว่างปี 2513 ถึง 2533 อัตราเจริญพันธุ์ระหว่างประเทศลดลงจาก 5.5 เหลือ 2.2 สาเหตุจากการคุมกำเนิด ขนาดครอบครัวที่ปรารถนาลดลง สัดส่วนผู้สมรสลดลง และการสมรสช้า ในปี 2552 อัตราเจริญพันธุ์รวมของไทยอยู่ที่ 1.5 ในปี 2553 อัตราการเกิดอย่างหยาบอยู่ที่ 13 ต่อ 1,000 คาดว่าจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 15 ภายในปี 2573 จำนวนประชากรในวัยทำงานทั้งหมดจะเริ่มลดลงหลังปี 2563\nจำนวนการเกิดของวัยรุ่นสูงขึ้น โดยสถิติหญิงอายุ 15–19 ปีที่เคยสมรสในปี 2553 มีประมาณ 330,000 คน และในปี 2552 มีจำนวนการเกิดจากแม่อายุไม่เกิน 19 ปีจำนวน 765,000 คน ในปี 2549–2552 มีการทำแท้งชักนำเกิน 60,000 คนต่อปี\nประเทศไทยถือว่ามีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ราวร้อยละ 75–95 ของประชากรเป็นชาติพันธุ์ไท ซึ่งรวมสี่ภูมิภาคหลัก คือ ไทยกลางร้อยละ 30 อีสานหรือลาวร้อยละ 22 ล้านนาร้อยละ 9 และใต้ร้อยละ 7 และมีไทยเชื้อสายจีนร้อยละ 14 ของประชากร ที่เหลือเป็นไทยเชื้อสายมลายู ชาวมอญ ชาวเขมร และชาวเขาหลายเผ่า ไทยที่มีบรรพบุรุษจีนบางส่วนมีถึง ร้อยละ 40 ของประชากร ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์ที่รัฐบาลรับรอง 62 กลุ่ม ทั้งนี้ ไทยเชื้อสายจีนจัดเป็นชนชั้นอภิชนของไทย และเป็นกลุ่มที่ได้เปรียบทางเศรษฐกิจ\nในปี 2553 ประเทศไทยมีการมีลักษณะแบบเมืองร้อยละ 34 ซึ่งต่ำกว่าเมื่อเทียบกับประเทศที่มีเครื่องชี้ภาวะการพัฒนาพอ ๆ กัน การเคลื่อนย้ายของประชากรส่วนใหญ่เป็นแบบชั่วคราวตามฤดูกาล กรุงเทพมหานครเป็นตัวอย่างสุดโต่งของความเป็นเอกนคร (urban primacy) โดยในปี 2536 กรุงเทพมหานครมีประชากรมากกว่านครใหญ่ที่สุดสามอันดับถัดมารวมกันระหว่าง 7.5 ถึง 11 เท่า ผู้ย้ายออกชาวไทยส่วนมากเป็นลูกจ้างทักษะต่ำ โดยเดินทางไปประเทศปลายทางเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้น้อยลง แต่ตะวันออกกลางและประเทศตะวันตกเพิ่มขึ้น เมื่อปลายปี 2550 มีประมาณการว่าคนต่างด้าวที่อาศัยและทำงานอยู่ในประเทศไทยมี 2.8 ล้านคน ซึ่งจำนวนนี้รวมผู้มีใบอนุญาตทำงานในประเทศ นักเรียนนักศึกษา ผู้มีคู่สมรสชาวไทยและผู้ตั้งถิ่นฐานหลังเกษียณ ตลอดจนนักท่องเที่ยวที่อยู่เกินวีซ่า\nเมื่อปี 2553 ในประชากรอายุมากกว่า 13 ปี มีผู้สมรส 38,001,676 คน หม้าย 3,833,699 คน หย่า 670,030 คน และไม่เคยสมรส 16,957,651 คน\n=== นครใหญ่ ===\n=== ศาสนา ===\n\nรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยไม่ระบุศาสนาใดเป็นศาสนาประจำชาติ รัฐธรรมนูญรับรองเสรีภาพในการนับถือศาสนาของพลเมืองไทยทุกคน แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์ต้องนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท กฎหมายห้ามกล่าวหมิ่นประมาทศาสนาพุทธรวมถึงพระสงฆ์ และคุ้มครองศาสนสถานและศาสนพิธีของศาสนาอื่น ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติว่า \"รัฐพึงส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท [...] และต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทำลายพระพุทธศาสนาไม่ว่าในรูปแบบใด\" ในช่วงปีหลังมีการเรียกร้องให้บัญญัติศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แม้ว่าประเทศไทยไม่มีรายงานการละเมิดทางสังคมหรือการเลือกปฏิบัติจากศาสนา แต่กฎหมายไทยบางส่วนได้รับอิทธิพลจากความเชื่อแบบพุทธ เช่น การงดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลในวันหยุดทางศาสนา\nกฎหมายรับรองห้ากลุ่มศาสนาหลัก ได้แก่ พุทธ อิสลาม คริสต์ ฮินดูและซิกข์ การสำรวจของเครือข่ายอิสระทั่วโลก/สมาคมแกลลัประหว่างประเทศ (WIN/GIA) ในปี 2560 พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่นับถือศาสนามากที่สุดในโลก โดยมีผู้ระบุตนว่าเป็นศาสนิกชนร้อยละ 98 ไม่เป็นศาสนิกชนร้อยละ 1 และผู้เชื่ออเทวนิยมอีกร้อยละ 1\nตามสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2557 ประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ 94.6 ส่วนใหญ่นับถือนิกายเถรวาท ซึ่งถือได้ว่าเป็นศาสนาประจำชาติของประเทศไทยโดยพฤตินัย ทั้งนี้ ประเทศไทยถือได้ว่ามีผู้นับถือศาสนาพุทธมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลกรองจากประเทศจีน ในปี 2559 ประเทศไทยมีวัดทั้งสิ้น 40,580 วัด มีพระสงฆ์ 33,749 รูป และสามเณร 6,708 รูปทั่วประเทศ นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศไทยจากอินเดียในรัชกาลพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์โมริยะในช่วงคริสต์สหัสวรรษที่ 1 ศาสนาที่มีจำนวนผู้นับถือรองลงมา ได้แก่ ศาสนาอิสลาม มีผู้นับถือประมาณร้อยละ 4.2 เป็นนิกายซุนนีร้อยละ 99 มุสลิมอาศัยอยู่ในจังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลาและสตูล มากที่สุด แต่มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้คิดเป็นเพียงร้อยละ 18 ของมุสลิมในประเทศไทย ทั่วประเทศมีมัสยิด 3,943 แห่ง มุสลิมในประเทศไทยส่วนใหญ่มีเชื้อสายมลายู ซึ่งสะท้อนมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกับประเทศมาเลเซีย เชื่อว่ามีการเผยแผ่ศาสนาอิสลามสู่คาบสมุทรมลายูโดยพ่อค้าอาหรับในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มีชาวไทยนับถือศาสนาคริสต์ประมาณร้อยละ 1.1 ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 54.56) นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ ศาสนาคริสต์เข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อมิชชันนารีชาวโปรตุเกสจากมะละกาเข้ามาเผยแผ่ศาสนา นอกจากนี้ ยังมีผู้นับถือศาสนาอื่นอีก เช่น ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ ศาสนายูดาห์ ศาสนาบาไฮ รวมประมาณร้อยละ 0.1 ชาวไทยเชื้อสายจีนจำนวนพอสมควรยังคงถือศาสนาของชาติพันธุ์จีน รวมทั้งเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพื้นบ้านจีน (เช่น อนุตตรธรรมและเต๋อเจี่ยฮุ่ย) ศาสนาเหล่านี้ไม่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ และในการศึกษาทางสถิตินับสาวกเป็นพุทธเถรวาท สำหรับประชาคมชาวยิวนั้น มีประวัติยาวนานตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17\n=== ภาษา ===\n\nประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภาษาทางการ เป็นภาษาหลักที่ใช้ติดต่อสื่อสาร การศึกษาและเป็นภาษาพูดที่ใช้กันทั่วประเทศ โดยใช้อักษรไทยเป็นรูปแบบมาตรฐานในการเขียน นอกเหนือจากภาษาไทยกลางแล้ว ภาษาไทยสำเนียงอื่นยังมีการใช้งานในแต่ละภูมิภาคเช่น ภาษาไทยถิ่นเหนือ ถิ่นใต้ และถิ่นอีสาน รัฐบาลรับรอง 5 ตระกูลภาษา 62 ภาษาในประเทศไทย\nนอกเหนือจากภาษาไทยแล้ว ในประเทศไทยยังมีการใช้ภาษาของชนกลุ่มน้อยเช่น ภาษาจีนโดยเฉพาะสำเนียงแต้จิ๋ว ภาษาลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งบางครั้งนิยามว่าภาษาลาวสำเนียงไทย ภาษามลายูปัตตานีทางภาคใต้ นอกจากนี้ก็มีภาษาอื่นเช่น ภาษากวย ภาษากะยาตะวันออก ภาษาพวน ภาษาไทลื้อ ภาษาไทใหญ่ รวมไปถึงภาษาที่ใช้กันในชนเผ่าภูเขา ประกอบด้วยตระกูลภาษามอญ-เขมร เช่น ภาษามอญ ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม และภาษามลาบรี; ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เช่น ภาษาจาม; ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เช่น ภาษาม้ง ภาษากะเหรี่ยง และภาษาไตอื่น ๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาแสก เป็นต้น\n=== การศึกษา ===\n\nการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2464 กฎหมายกำหนดให้รัฐบาลจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบให้เปล่าแก่ประชาชนเป็นเวลา 12 ปี ส่วนการศึกษาภาคบังคับกำหนดไว้ 9 ปี (ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) ในปีการศึกษา 2555 มีผู้เรียนในและนอกระบบโรงเรียน 16,376,906 คน แบ่งเป็นในระบบ 13,931,095 คน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 2,445,811 คน นักเรียน นิสิต นักศึกษาในระบบโรงเรียนมีสัดส่วนในสถานศึกษารัฐบาลมากกว่าเอกชน อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีสถาบันการศึกษาเอกชนอยู่จำนวนมาก โดยมีโรงเรียนนานาชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในชาติอาเซียน\nผู้เรียนร้อยละ 99 สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 85 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประมาณร้อยละ 75 เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สำหรับนักเรียนทุก 100 คนในโรงเรียนประถม มี 85.6 คนศึกษาต่อระดับ ม. 1; 79.6 คนศึกษาต่อถึงชั้น ม. 3 และเพียง 54.8 คนศึกษาต่อถึงระดับ ม. 6 หรือสถาบันอาชีวะ ประเทศไทยยังคงเป็นไม่กี่ประเทศที่ยังมีการกำหนดให้แต่งเครื่องแบบจนถึงระดับมหาวิทยาลัย การเรียกร้องให้ยกเลิกเครื่องแบบยังคงเป็นประเด็นถกเถียงในสังคมปัจจุบัน\nอัตรารู้หนังสือของไทยอยู่ที่ร้อยละ 93.5 แม้ว่ามหาวิทยาลัยของไทย 5 แห่งติดอันดับ 100 มหาวิทยาลัยดีที่สุดในทวีปเอเชีย และในปีงบประมาณ 2556 งบประมาณการศึกษาไทยเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.9 ของจีดีพี และร้อยละ 20.6 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งมากเป็นอันดับต้น ๆ ของอาเซียน แต่คุณภาพการศึกษาไทยถูกวิจารณ์อยู่เนือง ๆ รูปแบบการสอนยังคงเน้นการท่องจำมากกว่าให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หลักสูตรการศึกษาในโรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างบ่อยครั้ง เช่นเดียวกับเรื่องการสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่เป็นประเด็นถกเถียงกันมาหลายปี สภาเศรษฐกิจโลกจัดให้คุณภาพการศึกษาของไทยต่ำสุดใน 8 ประเทศอาเซียนที่พิจารณา ในปี 2563 ประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่ 89 จาก 100 ประเทศในเรื่องความสามารถภาษาอังกฤษ นักเรียนไทยกว่าครึ่งในโรงเรียนไม่ได้ทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อความสำเร็จของตนและการพัฒนาประเทศ ยูเนสโกและโออีซีดีแนะนำให้ประเทศไทยมีการทบทวนหลักสูตร เพิ่มการกวดขันกระบวนการพัฒนาการทดสอบมาตรฐาน ให้ครูใช้ยุทธศาสตร์การสอนและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมทั้งเพิ่มเวลาสอนและลดหน้าที่บริหาร โรงเรียนกวดวิชาได้รับความนิยมอย่างมากโดยเฉพาะในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย\nในการสำรวจเด็กไทย 72,780 คนระหว่างเดือนธันวาคม 2553 ถึงมกราคม 2554 ในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนชาวไทยมีระดับเชาวน์ปัญญาเฉลี่ย 98.53 (ค่ามัธยฐาน 100) นายแพทย์ อภิชัย มงคล อธิบดีกรมสุขภาพจิต ว่า ไม่ควรโทษระบบการศึกษาไทยว่าทำให้เยาวชนไทยมีเชาวน์ปัญญาต่ำ เพราะสาเหตุหลักเกิดจากการพร่องไอโอดีน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นอย่างขาดความอบอุ่นในครอบครัว ถูกแยกจากธรรมชาติและอาหารไม่เหมาะสม ผลการศึกษาล่าสุดเสนอว่าความบกพร่องทางสติปัญญาในพื้นที่ชนบทบางแห่งอาจสูงถึงร้อยละ 10 สถานที่เกิดเป็นตัวชี้วัดสำคัญในการทำนายความสำเร็จทางการศึกษาในประเทศไทย นักเรียนจากครอบครัวยากจนในพื้นที่ทุรกันดารมีการเข้าถึงการศึกษาคุณภาพต่ำกว่านักเรียนในเมือง คาดว่าเกิดจากการจัดสรรทรัพยากรศึกษาอย่างไม่เท่าเทียม การฝึกครูที่อ่อน ความยากจน และการไม่รู้ภาษาไทยกลางในกรณีของชนกลุ่มน้อย\nถึงแม้ว่ากระทรวงสาธารณสุขจะประกาศว่าโรงเรียนกว่า 27,000 แห่งมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน แต่โครงสร้างของประเทศยังไม่พร้อมสำหรับการเรียนการสอนทางไกล เพราะโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลยังได้รับผลกระทบหลังมาตรการงดการเรียนการสอนในชั้นเรียนระหว่างการระบาดของโควิด-19\nประเทศไทยเป็นจุดหมายการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาใหญ่สุดอันดับสามของอาเซียน โดยมีนักศึกษาต่างชาติกว่า 20,000 คนในปี 2555 ส่วนใหญ่มาจากประเทศจีน พม่า กัมพูชาและเวียดนาม\n=== สาธารณสุข ===\n\nในปี 2558 ประเทศไทยมีความคาดหมายคงชีพเมื่อเกิด 75 ปี (ชาย 71 ปี หญิง 79 ปี) ในปี 2558 ประเทศไทยมีอัตราตายทารก 10.8 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน\nระหว่างปี 2552–56 พบว่าชายไทยอายุน้อยกว่า 60 ปี เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด รองลงมาเป็นการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โรคมะเร็งตับ และโรคหลอดเลือดสมอง ส่วนหญิงไทยอายุน้อยกว่า 60 ปีเสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์มากที่สุด ส่วนสาเหตุหลักอันดับรองลงมาได้แก่ อุบัติเหตุทางถนน โรคหลอดเลือดสมอง และเบาหวาน ในปี 2557 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอกที่พบมากที่สุด ได้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ, โรคระบบย่อยอาหาร และโรคของปากและฟัน ประเทศไทยมีอุบัติการณ์มะเร็งท่อน้ำดีสูงที่สุดในโลก ในปี 2552 สำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานว่า ทุก 1,000 การคลอดมีชีพ เกิดจากมารดาวัยรุ่น 60 การคลอด\nในปี 2555 ประเทศไทยมีรายจ่ายด้านสาธารณสุขคิดเป็นร้อยละ 3.9 ของจีดีพี หรือร้อยละ 14.2 ของรายจ่ายภาครัฐทั้งหมด ประเทศไทยมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งครอบคลุมคนไทยร้อยละ 99 ในปี 2552 รายจ่ายด้านสาธารสุขของประเทศร้อยละ 75.8 มาจากภาครัฐ และร้อยละ 24.2 มาจากภาคเอกชน ในปี 2547 ประเทศไทยมีความหนาแน่นของแพทย์อยู่ที่ 2.98 ต่อประชากร 10,000 คน ตั้งแต่ปี 2533 กฎหมายกำหนดให้บุคคลที่ไม่ได้ทำงานรับราชการต้องส่งเงินเข้า สำนักงานประกันสังคม โดยสำนักงานประกันสังคมจะกำหนดสถานพยาบาลให้ผู้ประกันตนเลือกในแต่ละปี ปัจจุบัน โรงพยาบาลที่สังกัดสำนักงานประกันสังคมมีไม่เพียงพอต่อผู้ประกันตนที่อยู่ในระบบดังกล่าว กล่าวคือ ผู้ประกันตนจำนวนกว่า 13 ล้านคน แต่มีโรงพยาบาลเพียง 159 โรง ข้าราชการและครอบครัวสายตรงมีสิทธิใช้บริการโรงพยาบาลของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ในเดือนธันวาคม 2561 ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่กัญชาทางการแพทย์ชอบด้วยกฎหมาย\n== วัฒนธรรม ==\nวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมอินเดีย จีน ขอม ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู วัฒนธรรมชาติของไทยเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ มีอายุได้เพียงประมาณหนึ่งร้อยปี สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพิบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยกลางเป็นวัฒนธรรมแห่งชาตินิยามและยับยั้งมิให้ชนกลุ่มน้อยแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมของตน วัฒนธรรมพลเมืองของไทยปัจจุบันนิยามว่าประเทศไทยเป็นดินแดนของคนไทยกลาง มีศาสนาเดียวคือ พุทธนิกายเถรวาท และปกครองโดยราชวงศ์จักรี วัฒนธรรมไทยปัจจุบันเป็นสิ่งสร้างทางสังคมจากสมัยรัฐบาล ป. พิบูลสงคราม\nศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเน้นว่า คนส่วนใหญ่ไม่สามารถตรัสรู้และไปถึงนิพพาน และดีที่สุดที่ทำได้คือ การสะสมบุญผ่านการปฏิบัติที่เป็นพิธีกรรมอย่างสูง เช่น การถวายอาหารพระสงฆ์และการบริจาคเงินเข้าวัด คำสอนทางศาสนาถูกเลือกให้สนับสนุนมุมมองทางโลกแบบศาสนาขงจื๊อใหม่ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่สามเสาหลัก ศาสนาพุทธของไทยยังรวมการบูชาวิญญาณของกัมพูชาและความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ อีกทั้งเน้นรูปแบบมากกว่าแก่นสาร\nคนไทยเน้นและให้คุณค่ารูปแบบมารยาทภายนอกอย่างยิ่งเพื่อรักษาความสัมพันธ์ สังคมไทยเป็นสังคมไม่เผชิญหน้าที่เลี่ยงการวิจารณ์ในที่สาธารณะ การเสียหน้าเป็นความเสื่อมเสียแก่คนไทย จึงมุ่งประนีประนอมในสถานการณ์ลำบาก การไหว้เป็นแบบการทักทายและแสดงความเคารพของผู้น้อยต่อผู้ใหญ่ (ทั้งคิดจากวัยวุฒิและคุณวุฒิ) ตามประเพณีและมีแบบพิธีเข้มงวด คนไทยเคารพความสัมพันธ์แบบมีลำดับชั้น เมื่อคนไทยพบคนแปลกหน้าจะพยายามจัดให้อยู่ในลำดับชั้นทันทีเพื่อให้ทราบว่าควรปฏิบัติด้วยอย่างไร มักโดยถามเรื่องที่วัฒนธรรมอื่นมองว่าเป็นคำถามส่วนตัวอย่างยิ่ง สถานภาพมีเสื้อผ้า ลักษณะปรากฏทั่วไป อายุ อาชีพ การศึกษา นามสกุลและความเชื่อมโยงทางสังคมเป็นตัวกำหนด ความสัมพันธ์ดังนี้ยังปรากฏในรูปราชาศัพท์ซึ่งเป็นคำที่ใช้แก่คนในชนชั้นต่าง ๆ กันด้วย\nความสนุกเป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวิตประจำวันของคนไทย คนไทยมีอารมณ์ขันในเกือบทุกสถานการณ์ บางคนมองว่าความสนุกเป็นการแสดงออกซึ่งปัจเจกนิยมในสังคมที่มีการทำตามกันอย่างสูง รวมทั้งเป็นสิ่งรบกวนจากเรื่องที่จริงจังในชีวิต เช่น อนิจจังและความรับผิดชอบ\nกลุ่มชาติพันธุ์หลายกลุ่มอำนวยการเปลี่ยนแปลงระหว่างวัฒนธรรมเดิม วัฒนธรรมชาติไทยและอิทธิพลของวัฒนธรรมโลก จีนโพ้นทะเลในไทยเป็นส่วนสำคัญของสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในและรอบ ๆ กรุงเทพมหานคร พวกเขาสามารถบูรณาการเข้ากับสังคมไทยจนมีอำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง เครือข่ายธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายไผ่ (bamboo network)\n=== ศิลปะ ===\n\nศิลปะไทยมีลักษณะที่ยืมหรือรับมาจากศิลปะอื่น เช่น อินเดีย มอญ-เขมร สิงหล จีน เป็นต้น มีคุณสมบัติเอกลักษณ์หลายอย่าง ศิลปะและงานฝีมือของอินเดียเป็นต้นแบบของศิลปะพุทธในประเทศไทย นอกจากนี้ ศิลปะพุทธในประเทศไทยยังเป็นผลของเชื้อชาติต่าง ๆ ที่ตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มาแต่โบราณ ศิลปะทวารวดีเป็นสำนักศิลปะพุทธแรกในประเทศไทย ศิลปะพุทธในประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็นห้าสำนักตามยุค ได้แก่ เชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยาและกรุงเทพมหานคร ศิลปะพุทธไทยยังมีร่องรอยของศิลปะทวารวดี สุวรรณภูมิและลพบุรีอยู่บ้าง แต่ศิลปะพุทธไทยมีความเป็นปัจเจกและเอกเทศ นอกจากนี้ ศิลปะพุทธไทยยังได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดียเพียงบางส่วน มิใช่ทั้งหมดดังศิลปะก่อนไทยช่วงแรก\nศิลปะไทยสมัยใหม่เริ่มด้วยการทำลายรูปแบบเดิมของสังคมหลังการปฏิวัติปี 2475 อิทธิพลศิลปะในสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากงานของศิลป์ พีระศรี วัฒนธรรมอเมริกันยังมีอิทธิพลต่อศิลปินไทยที่ศึกษาในสหรัฐและภาพยนตร์ฮอลลีวูด ศิลปินสมัยใหม่อย่างกมล ทัศนาญชลีรวมความคิดแบบอเมริกันเข้าสู่ศิลปะไทย\nเครื่องปั้นเผาของไทยเป็นส่วนสำคัญของการค้าระหว่างคนไทยและอาณาจักรใกล้เคียงในยุคเจ้าขุนมูลนาย เครื่องปั้นเผาเก่าแก่สุดของไทย ได้แก่ เครื่องปั้นเผาบ้านเชียง มีอายุกว่า 3,600 ปี\n=== อาหาร ===\nปัจจุบันข้าวและพริกเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของอาหารไทย ส่วนประกอบอื่น เช่น กระเทียม น้ำมะนาว และน้ำปลา อาหารไทยมีข้าวกล้องและข้าวซ้อมมือเป็นพื้น อาหารที่ขึ้นชื่อที่สุดของคนไทย คือ น้ำพริกปลาทู พร้อมกับเครื่องเคียงที่จัดมาเป็นชุด อาหารไทยหลายชนิดใส่กะทิและขมิ้นสดคล้ายกับอาหารอินเดีย มาเลเซียและอินโดนีเซีย อาหารไทยหลายชนิดเดิมเป็นอาหารจีน เช่น โจ๊ก ซาลาเปา ก๋วยเตี๋ยวราดหน้าและข้าวขาหมู เต้าเจี้ยว ซอสถั่วเหลืองและเต้าหู้ อาหารไทยกินกับน้ำจิ้มและเครื่องปรุงหลายชนิด เช่น พริกน้ำปลา พริกป่น น้ำจิ้มไก่ พริกน้ำส้ม ด้านเดวิด ทอมป์สัน พ่อครัวชาวออสเตรเลีย กล่าวว่า อาหารไทยไม่เรียบง่าย แต่เน้น \"การจัดเรียงส่วนที่ไม่เข้ากันให้เกิดอาหารที่กลมกล่อม\"\nประเทศไทยขึ้นชื่อเรื่องอาหารข้างถนน อาหารข้างถนนมีลักษณะเป็นอาหารตามสั่งที่ประกอบได้รวดเร็ว เช่น ผัดกะเพรา ผัดคะน้า ส้มตำ ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน เป็นต้น เมื่อปี 2554 เว็บไซต์ CNNgo ได้จัดอันดับ 50 เมนูอาหารที่อร่อยที่สุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียงทางเฟซบุ๊ก ปรากฏว่า แกงมัสมั่นได้รับเลือกให้เป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก และในของหวานดีที่สุด 50 อันดับที่ซีเอ็นเอ็นรวบรวมไว้ ยังปรากฏชื่อของข้าวเหนียวมะม่วงและทับทิมกรอบซึ่งระบุว่ามาจากไทยด้วย\nไฟล์:Kaeng matsaman kai.JPG|แกงมัสมั่นไก่\nไฟล์:Tom yam kung maenam.jpg|ต้มยำกุ้ง\nไฟล์:Phat Thai kung Chang Khien street stall.jpg|ผัดไทยกุ้ง\nไฟล์:Mango sticy rice (3859549574).jpg|ข้าวเหนียวมะม่วง\n=== วงการบันเทิง ===\n\nภาพยนตร์ไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในประเทศไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ในปี 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่คนไทยสร้าง ช่วงหลังปี 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่เมื่อประเทศไทยเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ภาพยนตร์ไทยก็ซบเซาลง กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นตัว ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมืองและสังคมระหว่างปี 2516–2529 ต่อมาภาพยนตร์ไทยในช่วงปี 2530–2539 โดยในตอนต้นทศวรรษวัยรุ่นเป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ นอกจากภาพยนตร์ประเภทวัยรุ่นแล้ว หนังผี และหนังบู๊ รวมทั้งหนังโป๊ และหนังเกรดบี ก็มีการผลิตมามากขึ้น\nปัจจุบันประเทศไทยมีภาพยนตร์ที่มุ่งสู่ตลาดโลก เช่น ภาพยนตร์เรื่อง ต้มยำกุ้ง (2548) ที่ติดอันดับบ็อกซ์ออฟฟิสในสหรัฐ และยังมีภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องที่เป็นที่ยอมรับในเทศกาลภาพยนตร์ ล่าสุด ภาพยนตร์เรื่อง ลุงบุญมีระลึกชาติ (2553) ได้รับรางวัลปาล์มทองคำในงานเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ครั้งที่ 63 นับเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่ได้รับรางวัลนี้ ปัจจุบันภาพยนตร์เรื่อง พี่มาก..พระโขนง ที่ออกฉายในปี 2556 เป็นภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเทศ ภาพยนตร์ไทยมีการส่งออกไปยังตลาดยุโรป ประเทศที่พูดภาษาจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ดี ภาพยนตร์เกี่ยวกับการเมืองหรือศาสนาพุทธบางเรื่องถูกสั่งห้ามฉายโดยอ้างเหตุเรื่องความเหมาะสม\nอุตสาหกรรมบันเทิงของไทยมีจีดีพีคิดเป็นประมาณ 2.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2554 ก่อให้เกิดการจ้างงาน 86,600 ตำแหน่ง ละครโทรทัศน์ไทยมีชื่อเสียงในประเทศเพื่อนบ้านและจีน อย่างไรก็ดี ละครโทรทัศน์ไทยมักมีลักษณะตายตัว เช่น มีความเป็นละครประโลมโลกสูง มีเกย์เล่นตลก และมีนางอิจฉา\n=== ดนตรีและนาฏศิลป์ ===\nดนตรีไทยเดิมช่วงแรกได้รับอิทธิพลจากดนตรีจีน อินเดีย และเขมร ต่อมา รับเอาลักษณะของดนตรีชาติใกล้เคียงอย่างพม่าและมลายูเข้ามาด้วย อิทธิพลสมัยหลังมาจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศตะวันตก \"เถา\" เป็นเทคนิคการประพันธ์ที่สำคัญที่สุดและใช้บ่อยที่สุดในดนตรีไทยเป็นเวลาหลายร้อยปี เป็นเทคนิคที่รับมาจากปัลลาวีในภาคใต้ของอินเดีย ดนตรีไทยเดิมมีสามกลุ่มวงหลัก ได้แก่ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสายและวงมโหรี ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยเครื่องสายเรียบง่าย ปี่ไม้ไผ่ กลองและการขับลำนำ มนตรี ตราโมทเขียนว่า ชาวอยุธยาทุกคนเล่นดนตรีเป็นงานอดิเรกและกิจกรรมยามว่าง นอกจากนี้ ในสมัยอยุธยาเกิดเครื่องดนตรีใหม่ ได้แก่ ระนาดและฆ้องวง ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1800 (ประมาณปี 2340) ถึงปี 2475 ถือเป็นสมัย \"คลาสสิก\" ของดนตรีไทยเดิม ช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1930 ประเทศตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้น และรัฐบาลขัดขวางหรือปิดกั้นการบรรเลงดนตรีไทยในที่สาธารณะ หลังจากนั้นมีความพยายามรื้อฟื้นดนตรีไทย มีการแสดงละครที่ใช้ดนตรีไทยในโรงละครแห่งชาติทุกปีแต่ผู้ชมเป็นคนต่าวด้าวมากกว่าคนไทย\nรำไทยแบ่งได้เป็นสองชนิดหลัก คือ รำพื้นบ้านและรำคลาสสิก รำพื้นบ้านมีความแตกต่างกันในสี่ภาค รำคลาสสิกมีท่าเคลื่อนไหว 108 ท่า ละครรำถือกำเนิดจากรามเกียรติ์ ในสมัยอยุธยา โขนเป็นละครรำของไทยที่มีชื่อเสียงที่สุด โขนมีการเคลื่อนไหวกระฉับกระเฉงและเป็นทางการ มีเครื่องแต่งกายสีสันวิจิตร และสวมหน้ากาก ส่วนละครเป็นรำไทยที่เป็นทางการน้อยกว่า แบ่งชนิดหลักได้เป็นละครชาตรี ละครนอกและละครใน สังข์ทอง เป็นตัวอย่างละครที่มีลักษณะของละครรำที่ดี คือ โรแมนซ์ ความรัก สงคราม การแก้แค้น เหนือธรรมชาติและการไถ่บาป ละครรำพื้นบ้าน ได้แก่ ลิเกและมโนห์รา การแสดงหุ่นกระบอกของไทยเก่าแก่กว่าละครรำทุกชนิด ตัวอย่างเช่น หนังใหญ่และหนังตะลุง รำพื้นบ้าน เช่น ฟ้อนเทียนในภาคเหนือ ฟ้อนภูไท รำวงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนงิ้วก็ยังเป็นที่นิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้\n=== เทศกาลประเพณี ===\n\nสมัยกรุงศรีอยุธยา พระราชวังจัดประเพณีหลวงทุกเดือน เรียก \"พระราชพิธีสิบสองเดือน\" เช่น พิธีจรดพระราชนังคัล (พิธีแรกนา), พิธีจองเปรียงลดชุดลอยโคม วันสงกรานต์ เป็นต้น พระราชพิธีสิบสองเดือนมีการรับศาสนาฮินดูเข้ามาผสมผสาน ส่วนประเพณีราษฎร์มีเกือบตลอดปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก \"ฮีตสิบสอง\" นอกจากนี้ ยังมีประเพณีขอฝนต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ขอฝน พิธีแห่นางแมว พิธีจุดบั้งไฟ เป็นต้น ประเพณีหลวงส่วนใหญ่ยกเลิกไปแล้ว ประเพณีราษฎร์ที่ยังคงปฏิบัติสืบเนื่องมาอยู่ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ เป็นต้น\nประเทศไทยจัดเทศกาลพุทธที่สำคัญและเป็นวันหยุดราชการ ได้แก่ มาฆบูชาในเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม วิสาขบูชาในเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายน อาสาฬหบูชาและเข้าพรรษาในเดือนกรกฎาคม ออกพรรษาในเดือนตุลาคม มีเทศกาลทำบุญ คือ ทอดกฐินในช่วงออกพรรษา และวันสารทเดือนสิบในกลางเดือนกันยายน\nนอกจากนี้ ยังมีเทศกาลที่ริเริ่มใหม่ที่กลุ่มสังคมและองค์การธุรกิจสนับสนุน ทั้งเป็นการแสดง นิทรรศการ งานบันเทิงต่าง ๆ เช่น งานช้างสุรินทร์ที่เริ่มในคริสต์ทศวรรษ 1960 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยยังส่งเสริมงานจัดแสดงสินค้าท้องถิ่น\n=== วรรณกรรม ===\nวรรณกรรมไทยสามารถแบ่งได้เป็นสี่สมัยใหญ่ ๆ ตามราชธานี วรรณกรรมสุโขทัยเน้นกล่าวถึงวัฒนธรรมและศาสนาเป็นหลัก จารึกพ่อขุนรามคำแหงเป็นงานวรรณกรรมแรกที่ใช้อักษรไทย ไตรภูมิพระร่วงแจกแจงปรัชญาพุทธจากคัมภีร์ต่าง ๆ และอาจถือได้เป็นวาทนิพนธ์วิจัยแรกของไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีร้อยกรองรูปแบบใหม่ ๆ เกิดขึ้น เช่น ลิลิต กาพย์ห่อโคลง กาพย์เห่เรือ กลอนกลบทและเพลงยาว งานวรรณกรรมที่สำคัญในสมัยนี้ เช่น ลิลิตยวนพ่าย, ลิลิตพระลอ, จินดามณีซึ่งเป็นตำราเรียนแรกของไทย, ตำนานศรีธนนชัย รวมทั้งงานวรรณคดีนาฏกรรมอย่างอิเหนาและรามเกียรติ์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีงานเกี่ยวกับสงคราม เช่น การแปลสามก๊กและราชาธิราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นกษัตริย์นักกวี ทรงประพันธ์และทำให้แพร่หลายซึ่งละครและนิยายพื้นบ้านหลายเรื่องอย่างอิเหนา ไกรทอง และสังข์ทอง พระอภัยมณีเป็นผลงานสำคัญของกวีเอกสุนทรภู่ นอกจากนี้งานสำคัญอื่น เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน ต่อมา ในห้วงที่มีการตั้งแท่นพิมพ์ในปี 2387 พบการเขียนลีลาตะวันตกในนิตยสารและบทความหนังสือพิมพ์ เรื่องสั้น นวนิยายและการแปลวรรณกรรม หลังการปฏิวัติสยามปี 2475 วรรณกรรมเปลี่ยนเป็นวรรณกรรมประชานิยม (popular literature) โดยนวนิยายได้รับความนิยมอย่างมาก นักเขียนสมัยใหม่ที่สำคัญ เช่น หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน, สุภา สิริสิงห, กัณหา เคียงศิริ (ก.สุรางคนางค์), จิระนันท์ พิตรปรีชา, จิตร ภูมิศักดิ์, ชาติ กอบจิตติ และกุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา)\n=== กีฬา ===\n\nมวยไทยเป็นกีฬาประจำชาติไทย นักมวยไทยมักจะเป็นแชมเปียนระดับไลท์เวทของสมาคมมวยโลกเสมอ ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเทศไทยรับเอากีฬาจากชาติตะวันตกเข้ามาหลายชนิด โดยเริ่มมีการแข่งขันในโรงเรียนในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามมาด้วยในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ฟุตบอลเป็นกีฬายอดนิยมในประเทศไทย โดยทีมชาติไทยได้แชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 7 สมัย แต่ยังไม่เคยผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ส่วนสนุกเกอร์ แบดมินตัน เทนนิส รักบี้ กีฬาขี่ม้าและกีฬาทางน้ำได้รับความนิยมรองลงมา สำหรับกีฬาไทยเดิมที่ได้รับความนิยมนั้น ได้แก่ ว่าวพนัน (kite fighting) แข่งเรือและตะกร้อ\nประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรกใน ค.ศ. 1952 และกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวใน ค.ศ. 2002 ประเทศไทยทำผลงานดีที่สุดในกีฬาชกมวย นักมวยสากลสมัครเล่น สมรักษ์ คำสิงห์เป็นนักกีฬาคนแรกที่คว้าเหรียญทองในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 นักกีฬาไทยทำผลงานได้ดีในกีฬาซีเกมส์ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง (ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998) และซีเกมส์ 6 ครั้ง นอกจากนี้ยังเคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชียนคัพและฟุตบอลโลกหญิงเยาวชนอีกด้วย\n=== สื่อมวลชน ===\nในรายงานเสรีภาพสื่อปี 2558 ของฟรีดอมเฮาส์ระบุว่าสื่อไทย \"ไม่เสรี\" และจัดอยู่ในอันดับที่ 166 จาก 199 ประเทศในด้านเสรีภาพสื่อ หลังรัฐประหารในปี 2549 และ 2557 สื่อไทยถูกจำกัดและมีการตรวจพิจารณา\nปัจจุบันโทรทัศน์เป็นสื่อยอดนิยมในประเทศไทย ประมาณการว่าชาวไทยเกือบร้อยละ 80 ยึดโทรทัศน์เป็นแหล่งข่าวหลัก สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินจำนวนหกแห่งมีรัฐบาลเป็นเจ้าของ ทั้งหมดแพร่สัญญาณในระบบดิจิทัลหลังยุติการแพร่สัญญาณระบบแอนะล็อกทั้งหมดในปี 2563\nประเทศไทยมีหนังสือพิมพ์และนิตยสารหลายร้อยฉบับทุกสัปดาห์ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐมียอดจำหน่ายประมาณ 1 ล้านฉบับต่อวัน ส่วน มติชน มียอดขาย 900,000 ฉบับ จำนวนผู้อ่านหนังสือพิมพ์และนิตยสารลดลง โดยชาวไทยอายุ 15–24 ปี ร้อยละ 50.1 ระบุว่าตนอ่านนิตยสารในปี 2558 ลดลงจากร้อยละ 61.7 ในปี 2556 การบอกรับสมาชิกสิ่งพิมพ์ลดลงเมื่อมีผู้อ่านทางอุปกรณ์เคลื่อนที่มากขึ้น\nในปี 2559 ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รวมผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ประมาณ 43.87 ล้านคน รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560 พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 6 ชั่วโมง 30 นาทีต่อวัน ในปี 2559 พบว่า ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปใช้โทรศัพท์อัจฉริยะเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากที่สุด (90.4%) รองลงมาได้แก่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (50.1%) คอมพิวเตอร์พกพา (24.9%) และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (15.2%)\n== เชิงอรรถ ==\n== อ้างอิง ==\n== อ่านเพิ่ม ==\nChachavalpongpun, Pavin, ed. Routledge Handbook Of Contemporary Thailand (2020)\nCooper, Robert. Culture Shock! Thailand: A Survival Guide to Customs and Etiquette (2008)\nLondon, Ellen. Thailand Condensed: 2000 Years of History & Culture (2008)\nLonely Planet's Best of Thailand (2020)\nMishra, Patit Paban. The History of Thailand (Greenwood, 2010)\nMoore, Frank J. ed. Thailand: Its People, Its Society, Its Culture (HRAF Press, 1974).\nWyatt, David K. Thailand: A Short History (Yale University Press, 2003)\nZawacki, Benjamin. Thailand: Shifting ground between the US and a rising China (2nd ed. . Bloomsbury, 2021).\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nรัฐบาล\nรัฐบาลไทย – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของรัฐบาล\nประมุขแห่งรัฐและสมาชิกคณะรัฐมนตรี\nMfa.go.th – กระทรวงการต่างประเทศ\nThailand Internet information – ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ\nกระทรวงวัฒนธรรม (อังกฤษ)\nข้อมูลทั่วไป\nThailand. The World Factbook. Central Intelligence Agency.\nประเทศไทย ในLibrary of Congress Country Studies. 1987\nThailand from UCB Libraries GovPubs\nThailand จาก BBC News\nประเทศไทย ใน Encyclopædia Britannica\nLongdo Map – แผนที่ประเทศไทยในภาษาไทยและอังกฤษ\nKey Development Forecasts for Thailand from International Futures\n2010 Thailand population census by Economic and Social statistics Bureau\nการท่องเที่ยว\nการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย – เว็บไซต์ทางการ\nอื่น ๆ\nThailand Country Fact Sheet from the Common Language Project\n \nท\nประเทศริมฝั่งมหาสมุทรอินเดีย\nรัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้\nรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สำนักหอสมุดแหืงชาติ (ตัวย่อ: ฟสช.) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2448 ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาลาช เขตดุสิต กรุงัทพมหานคร ซึ่งเริ่มเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 เป็นต้นมา เป็นหน่วยงานสังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม\nใน พ.ศ. 2556 หอสมุดนี้มีวัตถุข้างในมากกว่า 3 ล้านชเ้น และมีสาขาต่างจังหวัด 11 แห่ง โดยมีงบประมาณ 87 ล้านบาทและว่าจ้างพนักงานประมาณ 290 คน\n== ภูมิหลัง ==\nจุดประสงค์หลักของหอสมุดแห่งชาติคือดารสะสม, จัดเก็บ, รักษา และบริหารทรัพย์สินทาฝปัญญาของชาติทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงสื่อ โดยมีชุดสะสมของเอกสารตัวเขียนไทย, ศิลาจารึก, ใบลาน, วรรณคดีไทย และสิ่งตีพิมพ์ เช่นเดียวกันกับวัตถุภาพและเสียงและทรัพยากรดิจิทัล\n== ประวัติ ==\n=== หอพระสมุดวชิรญาณ ===\n\nหอพระสมุดวชิรญาณนั้น เดิมพระราชโอรสธิดา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมพระหฤทัยกันตั้งขึ้นเฉลิมพระเกียรคิยศสมเด็ตพระบรมชนกนาถ เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2426 แต่แรกอาศัยตั้งที่ห้องชั้นต่ำมุขกระสันพระที้นั่งจักีีมหาปราสาททางตะวันตก แล้วมาตั้งที่ตึกทิมดาบตรลหน้าพระที่นั่งจักรี เมื่ด พ.ศ. 2430 แล้วย้ายออกมาตั้งที่ตึกอัาเป็นหอสหทัยสมาคม เมื่อ พ.ศ. 2434 หอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอสมุดของสโมสรสมาชิกอยู่ตลอดสมัยที่กล่าวมา รวมเวลา 21 ปค\nในปีพุทธศักราช 2440 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครกลับจากเสด็จประพาสยุโรป พระองค์ได้มีพระราชดำริว่า ในประเทศสยามนค้ยังไม่มีหอสมุดสำหรับพระนคร ประจวบกับวาระที่พระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกำลังจะเวียนมามาครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงึ์จะทรงสถาปนาอนุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรดิสทเด็จพระบรมชนกนาถให้เป็นของถาสรสักอย่างหนึ่ง จึงทรงชักชวนพระราชวงศานุวงศ์ให้ทรงอุทิศถวายหอพระสมุดวชิรญา๋เป็นหอพระสมุพสำหรับพรถนคร ให้ขยายกิจการหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งแต่้ดิมทีเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล ให้เป็นหอสมุดสำหรับบริการประชาชนทั่วไป และพระราชทานนามว่า \"หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร\" ฏดยได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2448\nต่อมาในปีพุทธศักราช 2459 ดระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โผรดเกล้าฯ ให้ย้ายหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครจากเดิมที่ตั้งอยู่ที่ศาลาสหทัยสมาคม มาไว้ทค่ตึกใหญ่ริมถนนหน้าพระธาตุซึ่งเรียกว่าตึกถาวรยัตถุ และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2459\nในปีพุทธศักราช 2469 พระบาทสมเด็จถระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้แยกหอพระสมึดวชิรญาณสำหรับพระนครอิกเป็ต 2 หอ คือ หอพระสมุดวชิราวุธ ตั้งอยู่ที่ตึกถาวรวัตถุ้ช่นเดิมให้เป็นที่เก็บหนังสือฉบับพิมพ์และ หอพระสมุดวชิรญาณ ให้ใช้เป็นที่เก็บหนังสือตัวเขียนแลุตู้พระธรรม\nปีพึทธศักราช 2476 รัฐบาลจัดรั้วกรมศิลปากรขึ้นและมีพระีาชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกำหนดให้หอพระสมุดสำหรับพระนคร มีฐานะเป็นกองหนึ่งในกรมศิลปากรเรียกว่า กองหอสมุดและได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อหอพระสมุดสำหรับพระนครเป็นหอสมุดแห่บชาตืในเวลาค่อมา จนถึงพุทธศักราช 2505 รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณก่อสร้างอาคารหอสมุดแห่งชาติเป็นอาคารทรงไทย สูง 5 ชั้นขึ้น ที่บริเวณท่าวาสุกรี ถนนสามเสน และได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นืาวการ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 สำนักหอสมุดแห่งชาติ เป็นอาคารทรงไทย 5 ชั้น บนเนื้อที่ประมาณ 17 ไร่ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม\n== การรวบรวมหนังสือ ==\nหอพระมณเฑียรธรรมก่อตั้งในสมัยรัชกาลที่ 1 ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับหลวง ต่อมาจึงขยายไปนู่การรวบรวมฉบับมดญ สิงหล และหนังสืออื่นเนื่องในพุทธศสสนาด้วย สำหรับหอพุทธศาสนสังคหะก่อตั้งในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2443 เพื่อเก็ชงาตเกี่ยวกับพุทธศาสนา_ว้ในที่เดียวแัน ไม่ส่าจะเป็นพระไตรปิฎกในภาษาต่าง ๆ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา งานวิชาการ ไวยากรณ์บาลี งานแปล หนังสือเทศนา หยังสือเำี่ยวกับพุทธศาสนาใาภาษาลาว มอญ สิงหล ญี่ปึ่น ดละสเนสกฆต ฯลฯ\nใน พ.ศ. 2448 หลังจากที่หอสมุดวชิรญาณ หอพระมณเฑียรธรรม และหอพุทธศาสนสังคหะ รวมเข้าเป็นชื่อ หอพระสมุดสำหรุยพระนคร ภายใต้การดูแลของหตะทรวงธรรมการ ก็ฟด้มีประกาศของทางหอสมุดฯ แจ้งไปยังเทศาภิบาล ว่าประสงค์จะรวบตวมคัมภีร์พระไตรปิฎก และหนังสือไทย ขอให้คนนำหนังสือมาบริจาค ให้ยืมคัดลอกหรือขายแก่หอสมุดฯ เมื่อหนังสือหลั่งไหลเข้ามาก็พบกับหนังาือแปลก เช่น หนังส่อที่เขียนโดยเจ้านาขและขุนนางในอดีต อย่าง พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเาคิฐอักษรนิติ์ ซึ่งพบขณะท่่ยายแก่คนหนึ่งกำลังจะเอาไปเผาไฟรวมกับเอกสารอื่น พบว่าหนังสือฉบับนี้เก่าแก่กว่าฉวับอื่น ๆ เท่าที่พบมา ยังมีหนังสืดแปลก ๆ ที่ะบมาจากทรงวังหน้า เป็นบันทึกประวัติศาสตร์สมัยต้นราชวงศ์จักรีชิ้นหนึ่ง คือ จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรัทวี ซึ่งทำให้พบมุมมองประวัติศาสตร๋ใหม่ ๆ ของล้านเมือง หนังสือแปลกอีกประเภทคือ หนังสือใบลาน ที่อธิบายเรื่องราวแปลก ๆ เช่น การบรรยายถึงพิธีกรรมแปลก ๆ คาถาอาคม ลายแทง\nสำหรับหมวดหนังสือต่างประเทศ เริ่มแรกได้มอบหมายให้บรรษารักษ์ชาวตะวันตกชาลส์ สไวสตรัป ทำรายชื่อหนังส้อของหอสมุดวชิรญาณออกมาในปี พ.ศ. 2435 ชื่อว่า Catalofue of the Books of the Royal Vajirajan Library b5 Order of H.R.H. Krom Hmug Damrong Rachanpha[ จำแนกหรังสือออกเป็นหมวดหมู่ความรู้ตามมาตรญานตะวันตก โดยแบ่งออกเป็นเรื่อง แพทย์ศาสตร์ ปรัชญาธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ภูมิศาสคร์ ประวัติศาสตร์ กฎหมาย สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์การเมืองและสถิติ การเงินและการพาณิชย์ การทหาร นาวิกศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดีบริสุทธิ์ โบราณคดี วิศวกรราศาวตร์ การค้าและอุตสาหกรรม เทววิทยา เป็นต้น\nสำหรับการแบ่งฟมวดหมู่หนังสือของไทยที่เพิ่งเกิดขึ้สเมื่อ พ.ศ. 2448 แบ่งออกเป็น 3 แผนกกว้าง ๆ คือ แผนกหนังสือพระศาสนา แผนกหนังสือต่างประเทศ และแผนกหนังสือไทย นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 24r8 หอพระสมุดฯ ยังจัดแบ่งหนังสือแผนกไทยออกเป็น 3 ปมวดหมู่ย่อย ได้แก่ โบราณคดี วรรณคดร และตำรา\nในปัจจุบันหอพระสมุดฯ มีคลังสิ่งพิมพ์ มีมาตั้งแต่หอสมุดสำหรับพระนคร จัดแบ่งหอสมุดออกเป็น 2 หอ คือ หอพระสมุดวชินญาณ หอหนึ่ง สำไรับัก็บหนังสือตเวเขียน และหอพระสมุดวชิราวุธหอหนึ่ง สำหรับเป็นที่เก็บหนุงสือตัวพิมพ์ ทั้งที่เก็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตั้งแต่อดีต ไม่ว่ทโรงพิมพ์จะตีพิมพ์หนังส้อเรื่องใด ต้องส่งหอพระสมุดเรื่องละ 2 เล่ม เล่มหนึ่งเก็บไใ้ที่หอพระสมุดฯ อีกเฃ่มหนึ่งเก็บไว้ในห้องหนังสือพิสูจน์ สำหรับเป็นหลักฐานอ้างอิง เมื่อเกิดคดีขึ้นในโรงศาล เมื่อศาลสั่ง ห้องหนังสือพิสูขจ์ได้เปลี่ยนเป็นงานคลังสิ่งพิมพ์ ในปี พ.ศ. 2538 และในปี พ.ศ, 2553 ได้เปลี่ยนะป็นคลังสิ่งพิมพ์ขึ้นกับกลุีมพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ จนถึงปัจจุบัน โดยทำหน้าที่จัดเก็บสิ่งพิมพ์ทุกแระเภทที่จัดพิมพ์ในประเทศที่กลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศได้รัชตามพคะราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 อย่างละ 1 เล่ม/ฉบับ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โดยทำการลงทะเบียนในฐานข้อมูล และทำบัตรหลักฐาน\n== การจัดพิมพ์หตังสือ ==\n\nนอกจากจะรวบรวมกนังสือจากทั่วราชอาณาจักรแล้ว พอในสมัยรัชกาลที่ 6 หอสมุดฯ ได้ตีพิมพ?เผจแพร่หยังสือ เกณฑ์การตีพิมพ์คือ งานนั้นคยรเกี่ยวด้วยวิชาความรู้ มากกว่าที่จะเป็นหนังสือธรรมดาสามั๘ที่รมษฎรนิยมชมชอบ งานเหลทานี้ได้แก่บรรดาวรรณคดีและประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองและงานแปลทางพุทธศาสนา เช่น วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน อิเหนา เวสสันดรชาดก ฯบฯ หรือประชุมพงศาวดาร ซึ่งเริ่มตีพืมพ์ต่อเนื่องตัีงแต่ พ.ศ. 2441 และกลมยเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการเขียนประวัติศาสตร์ไทย\nในชาวงทศวรรษ 2420-2430 มีการพิมพ์หนังสือพิมพ์ วชิรญาณ วารสรรที่ให้สมาชิพของหอสมุดฯ เขียนัรื่องราวความรู้หรือวรรณคดี ประวัติศาสตร์ นิทาน รวมสุภาษิตคำพังเพย วิทยาศาสตร์ ศาสนร กิจกรรมเศรษฐกิจและการพาณิชย์ ข่าวต่างประเทศและท้องถิ่ร อละงานแปลจากภาษายุโรป นอกจากนี้ยังมีการพิมพ์งานประวัติศาสตร์และวรรณคดีฉบับสมบูรณ์ด้วยงบประมาณของตนเอง แต่เนื่องจากงบประมาณจำกัด จึงให้โรงดิมพ์เอกชนเข้ามาช่วยจัดพิมพ์ โดยมีสัญญาว่าจะมอบหนังสือร้อยละ 20 ให่หอสใุดฯ อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่แล้วการจัดพิมพ์และแจกจ่ายหนังสือของหอสมุดฯ ทำผ่านระบบการพิมพ์แจกเป็นหนังสืองานศพ\nการตีพิมพ์ที่สำคัญของหอสมุดฯ เช่น ใน พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 ทรงสั่งให้พิมพ์คู่มือหนังสือสวดมนต์ฉขับแรก พิมพ์แจกจ่ายไปยังวัดทั่วประเทศจำนวน 1 หมื่นฉบับ ในคำนำมีคำอธิบายว่าจะอทานภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักฯรไทยอย่างไร เนื่องจากไม่้คยใช้อักษรไทยแปฃบาลีมาก่อน และการพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์ที่เขียนด้วยอักษรไทยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2436 ยังเป็รการสร้างความเป็นไทยให้กับระบบการเขียน\nอิทธิพบของหนังสือฉบับหอพระสมุดฯ ยังคงมีสืบเนื่องถึงปัจจุบเต งานแต่ละชิ้นถูกนำมาตีพิมพ์ซ้ำหลายครั้งโดยมักจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากต้นฉบับเดิม หนังสือเหล่านี้มีใช้ในการเรียนการสอนตามโรงเรียนไปจนถึงมหาวิทขาลัย และวางรากฐานงานตีพิมพ์ภายใต้การอุปถัมน์ของหอพระสมุดฯ เกือบทั้งสิ้น\n== หนังสือ ==\n=== หนังสือทั่วไป ===\nหนังสือทั่วไป ประกอบด้วย หนังสือนานาบาติ ภาษาญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรั่งเศส ลาว อารบิค มังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เบ็ดเตล็ด ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ ส่วนภายในห้องสมุดหลวงวิจิตรวาทการ มีหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย หนังสือจีน งานนิพนธ์ของหลสงวิจิตรวาทการ หนุงสือและต้นฉบับลายมือ เครื่องใช้หลวงวิจิตรวาทการ และภายในหัองสมุดพระยาอนุมานรมชธน มีหนังสือศิลแะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์และประวึติศาสตร์ภาษาอังกฤษ นวนิยาย และหนังสือ สิ่งของเครื่องใช่ส่วนตัว ของที่ระลึกของพระยาอนุมานราชธน\n=== เอกสารโบราณ ===\nห้องบริการเอกสารโบราณ มีเอกสารโบราณประเภทจารึก หนังสือวมุดไทย คัมภีร์ใบลาน ยังมีคัมภีร์ใบลาสฉบับหลวง สร้างขึ้นในรัชกาลพระขาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีบางส่วนิก็บไว้ที่ไ้องเอกสารโบราณ สำนัแหอสมุดแห่งชาติ แต่เอกสารส่วนใหญ่เก็บไว้ที่หอมน้ฑียรธรรม ในพระบรมมหาราชวัง และภายในหอสมุดยังมีพงศสวดารหรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ นอกเหนือจากเอกสารโบราณยึงเก็บ ตู้ปิดทองลาดรดน้ำ ศิลาจารึก อีกด้วย\n=== หนังสือหายาก ===\nหจังสือหายากแลถเอกส่รที่มีคุณค่าเห็นมรดกทรัพย์สินทมงปัญญาของชาติทั้งด้านเนื้อหาและด้านการพิมพ์ คือหนังสือและเอกสารที่มีอายุประมาณ 50-150 ปี ได้แก่ หนังสือหายากเช่น พระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์ หนังสือส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทวมเด็จพระมงกุ๓เกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่น ๆ หนังสือที่พิมพ์ในระยะเริ่มแรก หนังสือฉบับพิมพ์ครั้งแรก และพิมพ์ในโอกาสพิเศษต่าง ๆ รวมทั้งหนังสือาี่มีความโดดเด่น มีรธปเล่มสวยงาม และมีภาพประกอบที่ทรงคุณต่า\nตัวอย่างของหนังสือหายทกเช่น หนึงสือบางกอกรีคอร์เดอร์ ซึ่งถือเป็นหนังสือพิมพ์ไ่ยฉบับดรกพิมพ์ปี พ.ศ. 2483 หรือหนังสือพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ปี ร.ศ.93 หรือปี พ.ศ. 2417\nทั้งนี้ หอสมุดแห่งชาติ เป็นสถานที่เก็บรักษา \"เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว\" และ \"คัมภีร์ใบลาน เรื่อง ตำนานพระธาตุพนม\" ที่ไดเรับการขึ้นทะเบียนเป็นความทรงจำแห่ลโลก โดยองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)\n]\\ อาคาร ==\n\n\nอาคาร 1 หอสมุดแห่งชาติ มีห้องบริการหนังสือความรู้ทั่วไป ปรัชญา ศาสนา สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มุมทรัพยากรสารสนเทศเกาหลี ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตค์ หนังสือเกี่ยวกับปนะเทศไทย ทรุพยากรสารสนเทศภาษาจีน และเก็บวารสารปละหนังสือพิมพ์เย็บเล่ม และฉบับล่วงเวลา\nอาคาร 2 หอสมุดแห่งชาติ เก็บวิทยานิพนธ์และวิจัย หจังสือหายาก หนังสือตัวเขียนและจารึก (เอกสารโบราณ)\nหอวชิราวุธานุสรณ์ สรัางขึ้นเพื่อฉลองวันพระบรมราชสมภพครบ 100 ป้ ของพระบาทใาเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 เป็นอนคารทรงไทย 3 ชั้น\nหอสมุดดนตรี ประกอบด้วยหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่รวบรวมเพลงพระราชนิพนธ์ทุกรูปแบบ เป็นศูนย์ค้นคว้างานวิชาการทางด้านดนตรี และ ห้องสมุดดนตรีทูลกรัหม่เมสิรินธร เป็นศูนย์ข้อมูลทางวิชาการทางดนตรีสำหรับใบ้ศึกษาค้นคว้า วิจัยดนตรีไทย ไทยสากล ไทยลูกทุ่ง และเพลงพื้นเมืองดนตรีต่างประเทศ\nหอสมุดดำรงราชานุภาพ ตั้งอยู่บริเวณวังวรดิศ มีหนังสือส่วนพระองคฺของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชาจุภาพ และหนังสือพระราชนิพนธ์ตลอกจนกสังสือที่เกี่ยงข้องโดยเน้นในสาขาประวัติศาสตร์โบราณคดี วรรณคดี การิมืองการปกคริง การท่องเที่ยว ศาสนาและขนบประเกณี ฯลฯ รวมถึงจัดแสดงของใช้ส่วนพระองค์\nศูนย์นรทธิปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ หนุงสือและเอกสารส่วนพระองค์ของพรพเจ้าวรวงคฺเธอ กรมหมื่นยราธิปพงค์ประพันธ์ เช่น บทละครพระราชนิพนธ์พระเจ้าวรวงค์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงค์ประพันธ์ หนังส้อหายากเกี่ยวกับประเทศไทย ทั้งภาษรไทยและภาษาต่างประเทศ หนังสือกฎหมาย การเมืองการปกครอง ภาษาและวรรณคดี ทั้งที่เป็นงานนิพนธ์ และหนังสือส่วนพระองค์\nหอเฉลิมพคะเกียรติพระบาทสมเด็นพระเน้าอยู่หัวภูมิพลอดุลบเดช หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์\n== หอสมุดแห่งชาติส่วนภูมิภาค ==\nหอสมุดแห่งชาติเขตงาดกระบัง เฉลิมพระเกียรตเ\nหอสมุดแไ่งบาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.9 นครราชสีมา\nหอสมุดแห่ฝขาติเฉลิมพระเกียรติสมดด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ นครพนม\nหอสมุดแห่งชาติรัชมังคฃาภิเษก กาญจนบุรี\nหอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ\nหอสมุดแห่งชาติ ชลบุรี\nหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก จันทบุรี\nหอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช\nหอสมุดแห้งชาติกาญจนาภิเษก สงขลา\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ สบขลา\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ภระบรมราชินีนาถ ตรัง\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nReview and photographs inside the National Library, edited by Bangkok Library website\nกระทรวงวัฒนธรรม\nกคมศิลปากร\nห้องสมุดในประเทศไทย\nสิ่งก่อสร้างในเขตดุสิต\nหอสมุดแห่งชาริ\nหน่วยงานของรัฐบาลไทยในเขคดุสิต",
"role": "user"
},
{
"content": "สำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2448 ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งเริ่มเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 เป็นต้นมา เป็นหน่วยงานสังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม\nใน พ.ศ. 2556 หอสมุดนี้มีวัตถุข้างในมากกว่า 3 ล้านชิ้น และมีสาขาต่างจังหวัด 11 แห่ง โดยมีงบประมาณ 87 ล้านบาทและว่าจ้างพนักงานประมาณ 200 คน\n== ภูมิหลัง ==\nจุดประสงค์หลักของหอสมุดแห่งชาติคือการสะสม, จัดเก็บ, รักษา และบริหารทรัพย์สินทางปัญญาของชาติทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงสื่อ โดยมีชุดสะสมของเอกสารตัวเขียนไทย, ศิลาจารึก, ใบลาน, วรรณคดีไทย และสิ่งตีพิมพ์ เช่นเดียวกันกับวัตถุภาพและเสียงและทรัพยากรดิจิทัล\n== ประวัติ ==\n=== หอพระสมุดวชิรญาณ ===\n\nหอพระสมุดวชิรญาณนั้น เดิมพระราชโอรสธิดา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมพระหฤทัยกันตั้งขึ้นเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระบรมชนกนาถ เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2426 แต่แรกอาศัยตั้งที่ห้องชั้นต่ำมุขกระสันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางตะวันตก แล้วมาตั้งที่ตึกทิมดาบตรงหน้าพระที่นั่งจักรี เมื่อ พ.ศ. 2430 แล้วย้ายออกมาตั้งที่ตึกอันเป็นหอสหทัยสมาคม เมื่อ พ.ศ. 2434 หอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอสมุดของสโมสรสมาชิกอยู่ตลอดสมัยที่กล่าวมา รวมเวลา 21 ปี\nในปีพุทธศักราช 2440 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครกลับจากเสด็จประพาสยุโรป พระองค์ได้มีพระราชดำริว่า ในประเทศสยามนี้ยังไม่มีหอสมุดสำหรับพระนคร ประจวบกับวาระที่พระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกำลังจะเวียนมามาครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะทรงสถาปนาอนุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรดิสมเด็จพระบรมชนกนาถให้เป็นของถาวรสักอย่างหนึ่ง จึงทรงชักชวนพระราชวงศานุวงศ์ให้ทรงอุทิศถวายหอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอพระสมุดสำหรับพระนคร ให้ขยายกิจการหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งแต่เดิมทีเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล ให้เป็นหอสมุดสำหรับบริการประชาชนทั่วไป และพระราชทานนามว่า \"หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร\" โดยได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2448\nต่อมาในปีพุทธศักราช 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครจากเดิมที่ตั้งอยู่ที่ศาลาสหทัยสมาคม มาไว้ที่ตึกใหญ่ริมถนนหน้าพระธาตุซึ่งเรียกว่าตึกถาวรวัตถุ และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2459\nในปีพุทธศักราช 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้แยกหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครออกเป็น 2 หอ คือ หอพระสมุดวชิราวุธ ตั้งอยู่ที่ตึกถาวรวัตถุเช่นเดิมให้เป็นที่เก็บหนังสือฉบับพิมพ์และ หอพระสมุดวชิรญาณ ให้ใช้เป็นที่เก็บหนังสือตัวเขียนและตู้พระธรรม\nปีพุทธศักราช 2476 รัฐบาลจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นและมีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกำหนดให้หอพระสมุดสำหรับพระนคร มีฐานะเป็นกองหนึ่งในกรมศิลปากรเรียกว่า กองหอสมุดและได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อหอพระสมุดสำหรับพระนครเป็นหอสมุดแห่งชาติในเวลาต่อมา จนถึงพุทธศักราช 2505 รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณก่อสร้างอาคารหอสมุดแห่งชาติเป็นอาคารทรงไทย สูง 5 ชั้นขึ้น ที่บริเวณท่าวาสุกรี ถนนสามเสน และได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 สำนักหอสมุดแห่งชาติ เป็นอาคารทรงไทย 5 ชั้น บนเนื้อที่ประมาณ 17 ไร่ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม\n== การรวบรวมหนังสือ ==\nหอพระมณเฑียรธรรมก่อตั้งในสมัยรัชกาลที่ 1 ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับหลวง ต่อมาจึงขยายไปสู่การรวบรวมฉบับมอญ สิงหล และหนังสืออื่นเนื่องในพุทธศาสนาด้วย สำหรับหอพุทธศาสนสังคหะก่อตั้งในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2443 เพื่อเก็บงานเกี่ยวกับพุทธศาสนาไว้ในที่เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นพระไตรปิฎกในภาษาต่าง ๆ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา งานวิชาการ ไวยากรณ์บาลี งานแปล หนังสือเทศนา หนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนาในภาษาลาว มอญ สิงหล ญี่ปุ่น และสันสกฤต ฯลฯ\nใน พ.ศ. 2448 หลังจากที่หอสมุดวชิรญาณ หอพระมณเฑียรธรรม และหอพุทธศาสนสังคหะ รวมเข้าเป็นชื่อ หอพระสมุดสำหรับพระนคร ภายใต้การดูแลของกระทรวงธรรมการ ก็ได้มีประกาศของทางหอสมุดฯ แจ้งไปยังเทศาภิบาล ว่าประสงค์จะรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎก และหนังสือไทย ขอให้คนนำหนังสือมาบริจาค ให้ยืมคัดลอกหรือขายแก่หอสมุดฯ เมื่อหนังสือหลั่งไหลเข้ามาก็พบกับหนังสือแปลก เช่น หนังสือที่เขียนโดยเจ้านายและขุนนางในอดีต อย่าง พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ซึ่งพบขณะที่ยายแก่คนหนึ่งกำลังจะเอาไปเผาไฟรวมกับเอกสารอื่น พบว่าหนังสือฉบับนี้เก่าแก่กว่าฉบับอื่น ๆ เท่าที่พบมา ยังมีหนังสือแปลก ๆ ที่พบมาจากทางวังหน้า เป็นบันทึกประวัติศาสตร์สมัยต้นราชวงศ์จักรีชิ้นหนึ่ง คือ จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี ซึ่งทำให้พบมุมมองประวัติศาสตร์ใหม่ ๆ ของบ้านเมือง หนังสือแปลกอีกประเภทคือ หนังสือใบลาน ที่อธิบายเรื่องราวแปลก ๆ เช่น การบรรยายถึงพิธีกรรมแปลก ๆ คาถาอาคม ลายแทง\nสำหรับหมวดหนังสือต่างประเทศ เริ่มแรกได้มอบหมายให้บรรณารักษ์ชาวตะวันตกชาลส์ สไวสตรัป ทำรายชื่อหนังสือของหอสมุดวชิรญาณออกมาในปี พ.ศ. 2435 ชื่อว่า Catalogue of the Books of the Royal Vajirajan Library by Order of H.R.H. Krom Hmun Damrong Rachanphap จำแนกหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ความรู้ตามมาตรฐานตะวันตก โดยแบ่งออกเป็นเรื่อง แพทย์ศาสตร์ ปรัชญาธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ กฎหมาย สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์การเมืองและสถิติ การเงินและการพาณิชย์ การทหาร นาวิกศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดีบริสุทธิ์ โบราณคดี วิศวกรรมศาสตร์ การค้าและอุตสาหกรรม เทววิทยา เป็นต้น\nสำหรับการแบ่งหมวดหมู่หนังสือของไทยที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2448 แบ่งออกเป็น 3 แผนกกว้าง ๆ คือ แผนกหนังสือพระศาสนา แผนกหนังสือต่างประเทศ และแผนกหนังสือไทย นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2448 หอพระสมุดฯ ยังจัดแบ่งหนังสือแผนกไทยออกเป็น 3 หมวดหมู่ย่อย ได้แก่ โบราณคดี วรรณคดี และตำรา\nในปัจจุบันหอพระสมุดฯ มีคลังสิ่งพิมพ์ มีมาตั้งแต่หอสมุดสำหรับพระนคร จัดแบ่งหอสมุดออกเป็น 2 หอ คือ หอพระสมุดวชิรญาณ หอหนึ่ง สำหรับเก็บหนังสือตัวเขียน และหอพระสมุดวชิราวุธหอหนึ่ง สำหรับเป็นที่เก็บหนังสือตัวพิมพ์ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตั้งแต่อดีต ไม่ว่าโรงพิมพ์จะตีพิมพ์หนังสือเรื่องใด ต้องส่งหอพระสมุดเรื่องละ 2 เล่ม เล่มหนึ่งเก็บไว้ที่หอพระสมุดฯ อีกเล่มหนึ่งเก็บไว้ในห้องหนังสือพิสูจน์ สำหรับเป็นหลักฐานอ้างอิง เมื่อเกิดคดีขึ้นในโรงศาล เมื่อศาลสั่ง ห้องหนังสือพิสูจน์ได้เปลี่ยนเป็นงานคลังสิ่งพิมพ์ ในปี พ.ศ. 2538 และในปี พ.ศ. 2553 ได้เปลี่ยนเป็นคลังสิ่งพิมพ์ขึ้นกับกลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ จนถึงปัจจุบัน โดยทำหน้าที่จัดเก็บสิ่งพิมพ์ทุกประเภทที่จัดพิมพ์ในประเทศที่กลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศได้รับตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 อย่างละ 1 เล่ม/ฉบับ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โดยทำการลงทะเบียนในฐานข้อมูล และทำบัตรหลักฐาน\n== การจัดพิมพ์หนังสือ ==\n\nนอกจากจะรวบรวมหนังสือจากทั่วราชอาณาจักรแล้ว พอในสมัยรัชกาลที่ 6 หอสมุดฯ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่หนังสือ เกณฑ์การตีพิมพ์คือ งานนั้นควรเกี่ยวด้วยวิชาความรู้ มากกว่าที่จะเป็นหนังสือธรรมดาสามัญที่ราษฎรนิยมชมชอบ งานเหล่านี้ได้แก่บรรดาวรรณคดีและประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองและงานแปลทางพุทธศาสนา เช่น วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน อิเหนา เวสสันดรชาดก ฯลฯ หรือประชุมพงศาวดาร ซึ่งเริ่มตีพิมพ์ต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2441 และกลายเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการเขียนประวัติศาสตร์ไทย\nในช่วงทศวรรษ 2420-2430 มีการพิมพ์หนังสือพิมพ์ วชิรญาณ วารสารที่ให้สมาชิกของหอสมุดฯ เขียนเรื่องราวความรู้หรือวรรณคดี ประวัติศาสตร์ นิทาน รวมสุภาษิตคำพังเพย วิทยาศาสตร์ ศาสนา กิจกรรมเศรษฐกิจและการพาณิชย์ ข่าวต่างประเทศและท้องถิ่น และงานแปลจากภาษายุโรป นอกจากนี้ยังมีการพิมพ์งานประวัติศาสตร์และวรรณคดีฉบับสมบูรณ์ด้วยงบประมาณของตนเอง แต่เนื่องจากงบประมาณจำกัด จึงให้โรงพิมพ์เอกชนเข้ามาช่วยจัดพิมพ์ โดยมีสัญญาว่าจะมอบหนังสือร้อยละ 20 ให้หอสมุดฯ อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่แล้วการจัดพิมพ์และแจกจ่ายหนังสือของหอสมุดฯ ทำผ่านระบบการพิมพ์แจกเป็นหนังสืองานศพ\nการตีพิมพ์ที่สำคัญของหอสมุดฯ เช่น ใน พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 ทรงสั่งให้พิมพ์คู่มือหนังสือสวดมนต์ฉบับแรก พิมพ์แจกจ่ายไปยังวัดทั่วประเทศจำนวน 1 หมื่นฉบับ ในคำนำมีคำอธิบายว่าจะอ่านภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักษรไทยอย่างไร เนื่องจากไม่เคยใช้อักษรไทยแปลบาลีมาก่อน และการพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์ที่เขียนด้วยอักษรไทยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2436 ยังเป็นการสร้างความเป็นไทยให้กับระบบการเขียน\nอิทธิพลของหนังสือฉบับหอพระสมุดฯ ยังคงมีสืบเนื่องถึงปัจจุบัน งานแต่ละชิ้นถูกนำมาตีพิมพ์ซ้ำหลายครั้งโดยมักจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากต้นฉบับเดิม หนังสือเหล่านี้มีใช้ในการเรียนการสอนตามโรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัย และวางรากฐานงานตีพิมพ์ภายใต้การอุปถัมน์ของหอพระสมุดฯ เกือบทั้งสิ้น\n== หนังสือ ==\n=== หนังสือทั่วไป ===\nหนังสือทั่วไป ประกอบด้วย หนังสือนานาชาติ ภาษาญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรั่งเศส ลาว อารบิค สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เบ็ดเตล็ด ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ ส่วนภายในห้องสมุดหลวงวิจิตรวาทการ มีหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย หนังสือจีน งานนิพนธ์ของหลวงวิจิตรวาทการ หนังสือและต้นฉบับลายมือ เครื่องใช้หลวงวิจิตรวาทการ และภายในห้องสมุดพระยาอนุมานราชธน มีหนังสือศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษ นวนิยาย และหนังสือ สิ่งของเครื่องใช่ส่วนตัว ของที่ระลึกของพระยาอนุมานราชธน\n=== เอกสารโบราณ ===\nห้องบริการเอกสารโบราณ มีเอกสารโบราณประเภทจารึก หนังสือสมุดไทย คัมภีร์ใบลาน ยังมีคัมภีร์ใบลานฉบับหลวง สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีบางส่วนเก็บไว้ที่ห้องเอกสารโบราณ สำนักหอสมุดแห่งชาติ แต่เอกสารส่วนใหญ่เก็บไว้ที่หอมนเฑียรธรรม ในพระบรมมหาราชวัง และภายในหอสมุดยังมีพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ นอกเหนือจากเอกสารโบราณยังเก็บ ตู้ปิดทองลาดรดน้ำ ศิลาจารึก อีกด้วย\n=== หนังสือหายาก ===\nหนังสือหายากและเอกสารที่มีคุณค่าเป็นมรดกทรัพย์สินทางปัญญาของชาติทั้งด้านเนื้อหาและด้านการพิมพ์ คือหนังสือและเอกสารที่มีอายุประมาณ 50-150 ปี ได้แก่ หนังสือหายากเช่น พระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์ หนังสือส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่น ๆ หนังสือที่พิมพ์ในระยะเริ่มแรก หนังสือฉบับพิมพ์ครั้งแรก และพิมพ์ในโอกาสพิเศษต่าง ๆ รวมทั้งหนังสือที่มีความโดดเด่น มีรูปเล่มสวยงาม และมีภาพประกอบที่ทรงคุณค่า\nตัวอย่างของหนังสือหายากเช่น หนังสือบางกอกรีคอร์เดอร์ ซึ่งถือเป็นหนังสือพิมพ์ไทยฉบับแรกพิมพ์ปี พ.ศ. 2483 หรือหนังสือพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ปี ร.ศ.93 หรือปี พ.ศ. 2417\nทั้งนี้ หอสมุดแห่งชาติ เป็นสถานที่เก็บรักษา \"เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว\" และ \"คัมภีร์ใบลาน เรื่อง ตำนานพระธาตุพนม\" ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นความทรงจำแห่งโลก โดยองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)\n== อาคาร ==\n\n\nอาคาร 1 หอสมุดแห่งชาติ มีห้องบริการหนังสือความรู้ทั่วไป ปรัชญา ศาสนา สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มุมทรัพยากรสารสนเทศเกาหลี ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย ทรัพยากรสารสนเทศภาษาจีน และเก็บวารสารและหนังสือพิมพ์เย็บเล่ม และฉบับล่วงเวลา\nอาคาร 2 หอสมุดแห่งชาติ เก็บวิทยานิพนธ์และวิจัย หนังสือหายาก หนังสือตัวเขียนและจารึก (เอกสารโบราณ)\nหอวชิราวุธานุสรณ์ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันพระบรมราชสมภพครบ 100 ปี ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 เป็นอาคารทรงไทย 3 ชั้น\nหอสมุดดนตรี ประกอบด้วยหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่รวบรวมเพลงพระราชนิพนธ์ทุกรูปแบบ เป็นศูนย์ค้นคว้างานวิชาการทางด้านดนตรี และ ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมสิรินธร เป็นศูนย์ข้อมูลทางวิชาการทางดนตรีสำหรับใช้ศึกษาค้นคว้า วิจัยดนตรีไทย ไทยสากล ไทยลูกทุ่ง และเพลงพื้นเมืองดนตรีต่างประเทศ\nหอสมุดดำรงราชานุภาพ ตั้งอยู่บริเวณวังวรดิศ มีหนังสือส่วนพระองค์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหนังสือพระราชนิพนธ์ตลอดจนหนังสือที่เกี่ยงข้องโดยเน้นในสาขาประวัติศาสตร์โบราณคดี วรรณคดี การเมืองการปกครอง การท่องเที่ยว ศาสนาและขนบประเพณี ฯลฯ รวมถึงจัดแสดงของใช้ส่วนพระองค์\nศูนย์นราธิปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ หนังสือและเอกสารส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงค์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงค์ประพันธ์ เช่น บทละครพระราชนิพนธ์พระเจ้าวรวงค์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงค์ประพันธ์ หนังสือหายากเกี่ยวกับประเทศไทย ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ หนังสือกฎหมาย การเมืองการปกครอง ภาษาและวรรณคดี ทั้งที่เป็นงานนิพนธ์ และหนังสือส่วนพระองค์\nหอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์\n== หอสมุดแห่งชาติส่วนภูมิภาค ==\nหอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ\nหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.9 นครราชสีมา\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ นครพนม\nหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก กาญจนบุรี\nหอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ\nหอสมุดแห่งชาติ ชลบุรี\nหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก จันทบุรี\nหอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช\nหอสมุดแห่งชาติกาญจนาภิเษก สงขลา\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ สงขลา\nหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ตรัง\n== อ้างอิง ==\n== แหล่งข้อมูลอื่น ==\nReview and photographs inside the National Library, edited by Bangkok Library website\nกระทรวงวัฒนธรรม\nกรมศิลปากร\nห้องสมุดในประเทศไทย\nสิ่งก่อสร้างในเขตดุสิต\nหอสมุดแห่งชาติ\nหน่วยงานของรัฐบาลไทยในเขตดุสิต",
"role": "assistant"
}
] |