|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0042,001,กัณฑ์ที่ ๑๓
|
|
13,0042,002,นิสัย
|
|
13,0042,003,ในครั้งแรกตรัสรู้ ที่เรียกว่า ปฐมโพธิกาล ภิกษุยังไม่มาก
|
|
13,0042,004,มาย ก็ยังปกครองง่าย เมื่อมีภิกษุมากขึ้น การปกครองก็ยากขึ้น
|
|
13,0042,005,ตามกัน พระศาสดาจึงได้ทรงบัญญัติสิขาบทวางเป็นพุทธอาณา
|
|
13,0042,006,และทรงตั้งขนบธรรมเนียมเป็นอภิสมาจาร มีมากขึ้นโดยลำดับเวลา
|
|
13,0042,007,คราวนี้ผู้มาใหม่ ไม่สามารถจะรู้ทั่วถึงและประพฤติให้ถูกระเบียบ
|
|
13,0042,008,ด้วยลำพังใช้ความสังเกตทำตามกัน จำจะศึกษาจึงจะรู้ได้ พระศาสดา
|
|
13,0042,009,จึงทรงพระอนุญาตให้มีอุปัชฌายะเป็นผู้สั่งสอน ภิกษุมีพรรษาหย่อน
|
|
13,0042,010,๕ จัดเป็นนวกะผู้ใหม่ ต้องถือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเป็นอุปัชฌายะ และ
|
|
13,0042,011,อาศัยภิกษุรูปนั้นอยู่ รับโอวาทอนุศาสนของภิกษุนั้น. ในครั้งแรก
|
|
13,0042,012,ที่ทรงอนุญาตอุปัชฌายะ ภิกษุผู้อุปสมบทอยู่แล้ว แต่หย่อน ๕
|
|
13,0042,013,"พรรษา ก็จำถืออุปัชฌายะ, ในบาลีท่านจึงวางแบบไว้ว่า ให้ทำ"
|
|
13,0042,014,ผ้าห่มเฉวียงบ่ากราบเท้าแล้ว [ กล่าวตามอาการนั่งตั่งห้อยเท้า ]. นั่ง
|
|
13,0042,015,"กระหย่ง ประณมมือกล่าวว่า "" อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ """
|
|
13,0042,016,"ซึ่งแปลว่า "" ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า "" ๓ หน เมื่อ"
|
|
13,0042,017,"ภิกษุผู้ที่นวกะนั้นขออาศัย รับว่า "" สาหุ "" ซึ่งแปลว่า "" ดีละ """
|
|
13,0042,018,""" ลหุ "" "" เบาใจดอก "" "" โอปายิกํ "" "" ชอบแก่อุบาย "" "" ปฏิรูปํ """
|
|
13,0042,019,""" สมควรอยู่ "" หรือว่า "" ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ "" ให้ถึงพร้อม"
|
|
|